Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore E-book

E-book

Published by Nu Nun, 2023-02-17 07:50:19

Description: E-book

Search

Read the Text Version

หนวยการเรียนรูท ี่2 พัฒนางานอาชพี ของชุมชน อยา งสรา งสรรค ปญหาความตองการของสงั คม ชมุ ชน หรือทองถ่นิ ปจจยั พนื้ ฐาน ของชีวิตเปนหลัก เชน ความ ตองการดา นปจจัย4 ความตองการใชช วี ิตความเปน อยูใหดีข้ึนตลอดจนสภาพ แวดลอม รอบตวั ที่ดี ความตอ งงการเหลา น้ี มึวี ามเกย่ี วขอ งกบั เศรษฐกจิ และ สังคมโดยสง ผลตอ ความเปน อยู โดยรวมของประเทศเชอ่ื มโยงกับ การปกครอง การใชงบประมาณ การมอบอาํ นาจในการบริหาร งาน ทองถ่ินแกผ นู ําระดับตางๆ ลวน แลวมีบทบาทในการแกปญหา เพอ่ื ตอบสนองความตอ งการของ ชุมชนและสังคมท่ีเปนอยู

การวิเคราะหสถานการณโ ดยใช กระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม เนนการนาํ ความรูม าออกแบบวิธีการ หรือหากระบวนการเพ่ือสนองความ ตอ งการและแกปญหาทเี่ กดิ ขึ้น เพื่อให ไดเ ทคโนโลยีท่ีเปนผลผลติ ของ กระบวนการ โดยกระบวนการออกแบบ เชงิ วิศวกรรม ประกอบดวย 6 ขัน้ ตอน คือ

1.ระบปุ ญ หา (Problem Identification) เกิดจากการสงั เกตสง่ิ รอบตัว และสงสัยเกย่ี ว กบั เหตกุ ารณน น้ั ๆ 2.รวบรวมขอ มลู และแนวคดิ ท่ีเก่ยี วขอ งกบั ปญ หา(Related Information search) วเิ คราะหสถานการณปญหาจนเขา ใจเง่ือนไข ฟและกรอบของปญ หา กาํ หนดประเด็นใน การสบื คน ขอมลู 3.ออกแบบวธิ ีการแกปญหา(Solution Design) 4.วางแผนและดําเนินการแกป ญ หา (Planning and Development)

5.ทดสอบ ประเมนิ ผล และปรับปรงุ แกไข วธิ กี ารแกป ญหาหรืองาน(Testing Evaluation and Design Improvement) 6.นําเสนอวธิ กี ารแกป ญ หาผลการแก ปญ หาหรอื ชิ้นงาน(Presentation)

การสืบคน รวบรวมและ หาความสัมพันธของขอมลู สถานทีใ่ ชใ นการสบื คน ขอมลู 1.สถานที่จรงิ เพ่อื การสาํ รวจขอมูล และเกบ็ ตวั อยา ง 2.บุคคลเพ่ือใชในการสอบถามหรือ สัมภาษณ 3.สิ่งตา งๆรอบตัว เชน พชื สตั ว ส่งิ ของ โดยใชการสงั เกตการณแ ละบนั ทกึ 4.ระบบอินเทอรเ น็ตใชวิจารณญาณใน การสืบคน ขอ มูล ห์ าแหลงอางองิ จากหลาย แหง และประเมนิ ความ นา เชอื่ ถือของเวบ็ ไซตน้ันดวย 5.หองสมุดเปนแหลงอา งอิงทเี่ ช่อื ถือได มากทส่ี ดุ เพราะมรี ะบบการจัดเกบ็ ท่มี ี มาตรฐานสากล

6.พิพิธภณั ฑ แหลงขอมลู อางอิง ทางประวัตศิ าสตรจนถงึ ปจจุบันเก็บ รวบรวมช้นิ งานตา งๆ เช่ือมโยง ความสมั พันธค วามเปนมาของ เหตกุ ารณไ ดด ี 7.รา นหนังสอื ทวั่ ไปมหี นงั สือหลาย ประเภทใหเลือก 8.หอ งปฏิบตั กิ ารแบงเปน หลายแขนง เชน ฟส ิกส เคมี ชวี ะ ไฟฟา เครอื่ งกล เครือ่ งยนต

เทคนคิ การสืบคน ขอ มลู ดว ย Search English หรือ Google Search 1.การใชเ ครือขา ยอิมเทอรเนต็ ในการ สืบคนขอมูลอา งองิ การใชเ วบ็ เบราเซอรข อง Google Chrome การสืบ คน ขอมลู ดวยGoogle Search มวี ธิ ีที่ทาํ ให นกั เรยี นไดขอมูลตรงตาม ความตองการและมีประสิทธภิ าพมากกวา การพิมพขอ มความสบื คน เพยี ง ประโยคเดียว การรวบรวมแหลง ขอมูลทีส่ ืบคน ได จากเครอื ขายอนิ เทอรเน็ตการบนั ทกึ ขอ มลู ท่ไี ดจ ากการสาํ รวจ การทดลอง เราควรมีการจดั เก็บขอ มลู อยา งเปน ระบบ

การรวบรวมแหลงขอ มูลที่สืบคนได จากเครือขายอนิ เทอรเ นต็ การบันทกึ ขอ มูลที่ไดจากการสาํ รวจ การทดลอง เราควรมกี ารจดั เก็บขอ มูลอยาง เปนระบบ และสามารถเขา ถึงรว มกันระหวา ง เพ่อื นรว มงาน

แหลงขอมูลความนาเช่ือถอื ของขอมลู 1.การสบื คน ขอมลู จากแหลง ขอ มูล เชน หนังสอื วทิ ยานิพนธ วารสาร ขอ มลู ท่ีไดสามารถแบงระดบั ของ เน้อื หาซ่งึ เรยี กวาสารสนเทศตา ง จากขอมลู ทเี่ รยี กวา Data ทไี่ มมีการ เชอื่ มโยงความสมั พนั ธ เปน ขอ มูลทก่ี ระจายกันอยูโดยไมม ี การนาํ มาสรางความเชอื่ มโยง

ขอมลู สารสนเทศ แบง เปน 3 ระดับ ไดแก 1.สารสนเทศปฐมภูมิ เชน เอกสารตนฉบบั รายงานวิจยั จดหมายสวนตวั วทิ ยานิพนธ สารสนเทศน้ถี อื วามีความนา เชอ่ื ถือมากท่สี ุด ซึง่ ควรนํามา อา งอิงมากที่สดุ เพราะเปน ขอมลู จริงทไ่ี ดจาก ผเู ขยี น และยงั ไมไ ดผานการ เรียบเรยี ง หรือปรับแตงใหมจ ากบคุ คลอ่นื

2.สารสนเทศทตุ ิยภูมิ เปนการนาํ สารสนเทศปฐมภมู ิ มาเขยี นอธบิ าย เรยี บเรยี ง วิจารณใ หมใหเขาใจงา ย เพอ่ื ใหเหมาะสมกบั กับผใู ช สารสนเทศ เปนเครอื่ งมอื ชวยใน การสืบคน หรือติดตาม สารสนเทศมีหลาย รูปแบบ เชน หนงั สอื บทความวารสาร บทคดั ยอ งานวจิ ยั บทวจิ ารณ หนังสือ

3.สารสนเทศตตยิ ภูมิ เปนการแนะนาํ แหลง สารสนเทศ 2ระดบั แรก เชน บรรณานกุ รม ดรรชนีวารสาร และ วารสารสาระสังเขป

การตรวจสอบแหลง ท่มี า ของขอ มลู 1.มกี ารระบชุ ื่อผูเ ขยี นบทความ หรือผใู หขอ มลู บนเว็บไซต 2.มีการระบวุ ตั ถุประสงคในการ สรางหรอื เผยแพรข อ มลู บน เว็บไซต 3.มกี ารระบุท่ีอยู(E-mail address) หรอื ชองทางตดิ ตอ ท่ีผอู า นสามารถตดิ ตอ ผเู ขียน หรือผดู ูแลเวบ็ ไซตได 4.มกี ารอางอิงหรือระบุแหลงที่มา ของ เนอ้ื หาที่แสดงไว

5.มีการระบุวนั เวลาทเ่ี ผยแพร 6.มีเน้ือหาของเวบ็ ไซตไ มขดั ตอ กฎหมาย ศีลธรรมและจรยิ ธรรม 7.มสี วนของการแสดงความคดิ เห็น มขี อ ความเตือนในการใช วจิ ารณญาณและการนําขอ มูล ไปใช 8.ที่นาเชื่อถอื ไดจ ะโพรโทคอลนาหนาดวย https://w ยอมาจากคาํ วา จดั หามre HTTP คอื มีการเขา รหัสไวเ พ่อื ความปลอดภัย ซ่งึ จะ เปน มาตรฐ ทําใหก ารส่ือสารระหวางผูสืบคน กับตน ทางมกี ารเขารหสั เพอื่ ปอ งกนั ไมใ หเ กดิ การโจรกรร ขอมลู ระหวา งสองทางไดโ ดย สามารถยนื ยัน ไดว าขอ มูลทไี่ ดม ามคี วามปลอดภัยและนา เช่อื ในระดบั หนึง่ เพราะเวบ็ ไซตท ตี่ อ งการมี hitips จะตองขอใบรับรองความปลอดภัยกับหนวยง Cortidimate Authority (CA) ซ่ึงในปจจุบนั เปนทนี่ ิยมกันมากในการใช https://

9.การเสนอเน้อื หาบนเวบ็ ไซ ตค วรมเี น้ือหาตรงตามวัตถุ ประสงคของการเผยแพรขอมูล ขอ เวบ็ ไซตนนั้ เชน เวบ็ ไซตท ่ี เปน แหลง ขอ มูลทางศาสตรดา น เคมี ไมควรมเี นอ้ื หาทีเ่ ปนก เสนอการจําหนายของเลน หรือ จาํ หนา ยเครื่องประดับท่ีไม เก่ียวขอ งกบั จุดประสงค

การเสนอเนื้อหาบนเวบ็ ไซตควร มเี นอ้ื หาตรงตามวตั ถุประสงคข อง การเผยแพรข อ มลู ขอ เว็บไซ ตน ั้น เชน เว็บไซตท่เี ปนแหลง ขอมลู ทาง ศาสตรด านเคมี ไมค วรมีเนื้อหาที่ เปนก เสนอการจาํ หนายของเลน หรอื จําหนายเครอ่ื งประดบั ที่ไม เก่ยี วขอ งกบั จุดประสงค

แหลง ขอมูลท่เี ช่ือถอื ไดอ าจแสดงถึง ลักษณะของขอ มูล เนอื้ หา และการ อา งอิงไดจากแนวทางสังเขป ดัง 1. เจาของขอมูล ควรเปน ผูม ีประสบการณ หรอื มคี วามเช่ยี วชาญเกี่ยวกับขอ มูลน้ัน สามารถใหขอ มู ไดถ กู ตองตรงตามความเปนจรงิ มากกวา การรบั ฟง ขอมูลจากบคุ คลอน่ื แลวมา เขยี นหรอื บอกเลาต เชน เจา ของขอ มลู เปนคนท่บี อกเลา เรอื่ งราวของชุมชนตนเองทสี่ บื ทอดกัน มาหลายสิบป

2. หนวยงานหรอื เจา ของเว็บ ไซตท่ีเเผยแพรข อมูล ควรมีค วามรูความเชย่ี วชาญเฉพาะ ดา นและ มปี ระสบการณใ นเรอ่ื ง น้นั อยา งจริงจงั ลึกซง้ึ ใหข อ มลู ทีถ่ กู ตองตรงตามความเปนจรงิ เชน หนว ยงานการศึกษาหรือ หนวยงานวิจัยเฉพาะทาง (วัสดุ ศาสตรห รือหนว ยงานวิจัย ดา นชวี โมเลกุล)

3. หนว ยงานของรัฐ เปน หนว ย งานท่ีมขี อ มูลซ่ึงสง ผลตอ ความ เปน อยขู องประชาชนและการ พัฒนา ประเทศ ขอมูลจาก หนว ยงานของรฐั จะถกู นําไป ใชใ นการกําหนดนโยบายการ วางแผนการปฏิบัติ และการใช อา งอิง จงึ เปนขอมลู สาํ คัญที่ ตองมกี ารรวบรวม บนั ทกึ จดั เกบ็ และสรา งขอ มลู ขน้ึ อยา ง รอบคอบและระมัดระวงั เพอ่ื ให ไดขอมูลท่ถี กู ตอ งตรงตาม ความเปน จรงิ เสมอ

เวบ็ ไซตอ าจไมน า เชือ่ ถือถามลี กั ษณะ ดังน้ี 1. เว็บไซตท ส่ี ง ขอ ความผานอเี มลจากบคุ คลท่ี ไมร ูจ ัก 2. เวบ็ ไซตที่นาํ เสนอเนอื้ หาไมเหมาะสม เชน ภาพอนาจาร หรือเนอื้ หาที่ผดิ กฎหมาย 3. เว็บไซตที่ใหข อเสนอเกนิ จริงหรอื มเี นื้อหาใน เชิงลอลวง บงชีไ้ ดวา อาจเปนกลอุบาย การขาย สินคา หรอื บรกิ ารที่อาจละเมดิ ลิขสทิ ธิ์ ผิดกฎ หมาย 4. เว็บไซตท มี่ ีขน้ั ตอนซับซอนในการเขาถึง ขอ มลู ทต่ี องการ และอาจมขี น้ั ตอนใหส มคั ร และ ขอขอ มูลบตั รเครดติ โดยไมม หี ลกั ฐานทีแ่ สดงได วาการทาํ ธุรกรรมน้นั ปลอดภัย

Search Engine ทมี่ ีความนาเช่ือถอื เพียงพอในการสืบคนขอ มูลทาง 1 Google Scholar (tuttp://rcholar.google.com/) เปน Search Engine ที่ โดยไมเสยี คาใช จา ย และมแี หลง ขอมูลทางวิชาการ จาํ นวนมาก โดยแหลง เปน ไซต เว็บ ไซตแ นะนาํ ที่มีขอ มลู สว นใหญจ ะถูก ตรวจทานจากผเู ช่ียวชาญท่ไี มใช เจา ของบทความ (Peer Reviwed) ดงั นนั้ ขอมูลที่ไดจะมคี วามนาเชอ่ื ถอื มาก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook