หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 3 เรอื่ ง สรา้ งสรรค์ผลงานดนตรี รหสั วชิ า ศ 31101 รายวิชา ศิลปะพ้ืนฐาน 1 ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2563 เวลา 3 ชัว่ โมง __________________________________________________________________________ 1. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ชี้วดั มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระที่ 2: ดนตรี มาตรฐาน ศ 2.1 เขา้ ใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วพิ ากษว์ ิจารณค์ ณุ คา่ ดนตรี ถ่ายทอดความรสู้ ึก ความคดิ ต่อดนตรีอยา่ งอิสระ ชนื่ ชม และประยุกตใ์ ช้ในชีวิตประจำวนั ตัวชว้ี ัด ศ 2.1 ม.4-6/3 อธิบายเหตุผลทค่ี นต่างวฒั นธรรมสรา้ งสรรค์งานดนตรีแตกตา่ งกัน 2. จุดประสงค์การเรยี นร้สู ตู่ วั ช้ีวัด 1. อธิบายเหตผุ ลทคี่ นต่างวฒั นธรรมสร้างสรรคง์ านดนตรแี ตกตา่ งกนั ได้อยา่ งถกู ต้อง (K) 2. สร้างสรรค์งานดนตรีดว้ ยรปู แบบท่ีถูกตอ้ งเหมาะสม (P) 3. เหน็ คณุ คา่ ของการสรา้ งสรรค์งานดนตรี(A) 3. สาระสำคัญ การสร้างสรรคผ์ ลงานทางด้านดนตรี เกดิ ขน้ึ จากปจั จัยหลายดา้ นทีท่ ำให้ดนตรีมีรูปแบบลักษณะที่ แตกตา่ งกันออกไปในแต่ละวัฒนธรรม และปจั จยั ต่าง ๆ เป็นส่ิงท่ีทำให้ดนตรีเกิดการพัฒนารปู แบบ ทำให้ มนษุ ย์เกดิ ความผ่อนคลายเมื่อได้ชมหรือฟังดนตรี 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 ความรู้ (K) - ปจั จัยในการสรา้ งสรรคผ์ ลงานดนตรีในแต่ละวฒั นธรรม (ความเชื่อ ศาสนา วถิ ชี วี ิตและเทคโนโลยี) - หลักการสร้างสรรค์ผลงานดนตรี - การสรา้ งสรรคง์ านดนตรีดว้ ยการเล่นคัพซอง 4.2 ทกั ษะ/กระบวนการ: สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น (P) - ทักษะการนำเสนอผลงานการสร้างสรรค์ดนตรดี ว้ ยการเล่นคัพซอง
สอดคลอ้ งกบั สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน 5. อยู่อย่างพอเพียง 1. ความสามารถในการสื่อสาร 6. มุ่งม่ันในการทำงาน 2. ความสามารถในการคิด 7. รักความเป็นไทย 3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา 8. มีจิตสาธารณะ 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 4.3 คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ (A) 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. ซ่ือสัตยส์ ุจรติ 3. มวี ินัย 4. ใฝเ่ รียนรู้ 5. ทักษะผ้เู รยี นในศตวรรษท่ี 21 (3Rs 8Cs 2Ls) 1. ทักษะในสาระวิชาหลัก (3Rs) 1.1 Reading (อ่าน) 1.2 (W) Riting (เขยี น) 1.3 (A) Rithemetics(คณิตฯ) 2. ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม (8Cs) 2.1 C1: Critical Thinking and Problem Solving (การคิดวิจารณญาณ และแกป้ ัญหา) 2.2 C2: Creativity and Innovation (การสร้างสรรค์ และนวตั กรรม) 2.3 C3: Cross-cultural Understanding (ความเข้าใจความต่างวฒั นธรรม) 2.4 C4: Collaboration, Teamwork and Leadership (การทำงานเปน็ ทีม ภาวะผู้นำ) 2.5 C5: Communications, Information, and Media Literacy (การสือ่ สารสารสนเทศ) 2.6 C6: Computing and ICT Literacy (ทกั ษะดา้ นคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยี) 2.7 C7: Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพ และการเรียนรู้) 2.8 C8: Compassion (คณุ ธรรม เมตตา กรุณา ระเบยี บวินยั ) 6. กจิ กรรมการเรียนรู้ ช่วั โมงท่ี 1 1. ครูเปดิ ภาพเปน็ ชดุ โดยเรียงลำดับ ดงั นี้ ชุดท่ี 1 เกราะ โกร่ง กรบั ระนาดเอก และระนาดแยกสว่ น ชุดท่ี 2 วงดนตรีไทย วงดนตรีรว่ มสมยั ชดุ ท่ี 3 เทป แผน่ ซดี ี MP3 ดาวน์โหลดเพลง 2. ครูต้งั คำถามจากสิ่งทน่ี ักเรียนเหน็ ภาพเปน็ ชุด ดังนี้ - นกั เรยี นเหน็ สง่ิ ใดในภาพ - เพราะเหตุใดจึงเป็นเชน่ น้ัน
3. ครูใหน้ ักเรยี นชว่ ยกันคิดและระดมสมอง จากนัน้ ให้ออกมาเขียนกจิ กรรมทางดนตรหี รอื ชน้ิ งาน ดนตรีทค่ี ดิ ว่าเกิดจากการสรา้ งสรรคผ์ ลงานของศิลปิน นักดนตรีตง้ั แต่อดตี จนถงึ ปจั จบุ นั 4. ครปู ระเมนิ ผลงานของนักเรียนและสรุปข้อมลู จากท่นี ักเรยี นคิด โดยอธิบายให้เข้ากบั ความเชือ่ ศาสนา วิถีชวี ติ และเทคโนโลยี 5. ครอู ธิบายพร้อมฉาย PowerPoint เรอื่ ง ปจั จัยในการสร้างสรรคผ์ ลงานดนตรี โดยเนน้ สาระสำคญั ของผลงานดนตรีในแตล่ ะวฒั นธรรมมีความเกีย่ วข้องกบั ความเชื่อ ศาสนา วถิ ีชีวติ และ เทคโนโลยี ซ่งึ เกิดการ เปล่ยี นแปลงไปตามยุคสมยั ทางสังคม 6. ครอู ธิบายใหน้ ักเรียนเห็นคุณคา่ และภมู ิใจในศลิ ปวฒั นธรรมไทย ซึง่ เปน็ มรดกทางภมู ิปัญญา เกิด จากการสรา้ งสรรค์ พฒั นา ปรับปรงุ มาอย่างยาวนาน จนเปน็ เอกลกั ษณ์ของไทย 7. นกั เรยี นและครูสรปุ บทเรียนรว่ มกนั 8. ครูแนะนำใหน้ ักเรยี นทุกคน ศึกษาความร้เู พ่ิมเติมจาก คือ เพจ Play & Learn by Kruya ชัน้ เรียน Google Classroom และ ติดตอ่ สอบถาม ผา่ นชอ่ งทาง Line กลมุ่ วชิ าดนตรี ช่ัวโมงที่ 2 1. นกั เรยี นและครูทบทวนปัจจัยในการสรา้ งสรรคผ์ ลงานดนตรีที่ได้เรียนในคาบท่ีแลว้ 2. ครใู ชค้ ำถามและใหน้ ักเรียนแสดงความคิดเห็นเกยี่ วกับรูปแบบวธิ กี ารสรา้ งสรรคผ์ ลงานดนตรี - การสร้างสรรค์ดนตรที ำไดด้ ้วยวิธกี ารใด - การสร้างสรรคด์ นตรตี อ้ งมคี วามรู้พืน้ ฐานดา้ นใด 3. ครูอธบิ ายหลกั การและวธิ ีการสร้างสรรคด์ นตรีด้วยส่ือ POWERPOINT เร่ือง การสร้างสรรคด์ นตรี ใหน้ ักเรียนฟงั 4. ครเู ปิดคลิปวีดีโอการเลน่ คัพซอง ในรปู แบบตา่ ง ๆ พร้อมใหน้ ักเรยี นแสดงความคิดเห็นและต้ังคำถาม ดงั น้ี - นักเรียนคดิ วา่ การเลน่ คัพซอง นับว่าเป็นการสรา้ งสรรค์ทางดนตรหี รอื ไม่ เพราะเหตุใด 5. ครใู หน้ กั เรยี นนำแกว้ ทรงสูงท่ีเตรยี มมา นำมาฝกึ ฝน โดยครสู าธติ การเล่นใหน้ กั เรียนดูและเขยี นบน กระดานใหน้ ักเรียนท่องตาม (C2) ดงั น้ี 1. - - - ตบ - ตบ - ตี ตี ตี – ตบ - ยก - วาง 2. - - - ตบ - พลกิ - มือ - เคาะ-เปลยี่ น - แปะ- วาง 6. จากน้ัน ครูสาธิตและอธิบายคำทีละคำ พร้อมใหน้ ักเรียนทำตามทีละ 2 หอ้ งเพลง โดยใหน้ กั เรยี น ฝกึ ฝน หลายรอบ เพือ่ ความคลอ่ งแคลว่ 7. ครใู ห้คำแนะนำ และนบั จังหวะในการซ้อมใหน้ ักเรยี น จนนักเรียนทำได้คล่องและดีข้ึน 8. ครูเนน้ ยำ้ ให้นกั เรียนทุกคนฝึกฝนเพิ่มเติมที่บ้าน เพ่อื เตรียมตวั ที่จะเล่นรวมกันท้ังหอ้ ง และฝกึ ซ้อม ร้องเพลงมาร์ชโรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎ์ิ 9. ครูแนะนำให้นักเรยี นทุกคน ศึกษาความรู้เพ่ิมเติมจาก คือ เพจ Play & Learn by Kruya ช้ันเรียน Google Classroom และ ติดต่อสอบถาม ผา่ นชอ่ งทาง Line กลุม่ วชิ าดนตรี
ชั่วโมงท่ี 3 1. นกั เรียนและครูทบทวนการเล่นคัพซองในครั้งทีแ่ ลว้ โดยให้นกั เรยี นเลน่ ใหฟ้ ัง 2 รอบ 2. ครูสุ่มให้นกั เรยี นแตล่ ะคนบอกถงึ ปัญหาและอปุ สรรคในการเลน่ และให้นักเรยี นแสดงความคดิ เหน็ รว่ มกนั 3. ครใู ห้นักเรียนทั้งห้องนง่ั เป็นวงกลม และให้เลน่ คัพซองร่วมกัน โดยครูเป็นผู้ต้ังจงั หวะให้ และให้ นักเรียนแตล่ ะคนเล่น พร้อมร้องโนต้ คัพซอง เม่อื บรรเลงจบใหน้ ักเรียนแสดงความคิดเห็นต่อผลงานห้อง โดย ตงั้ คำถามว่า ภาพรวมของหอ้ ง เปน็ อย่างไร และเพราะเหตุใด 4. ครูอธิบายวธิ ีการเลน่ แบบส่งแก้วไปให้เพอื่ นดา้ นขา้ ง โดยเขียนโนต้ บนกระดาน ดงั น้ี - - - ตบ - ตบ - ตี ตี ตี – ตบ - ยก - วาง - - - ตบ - พลกิ - มอื - เคาะ-เปลีย่ น - แปะ- วาง หยบิ ส่ง 5. ครูอธบิ ายพร้อมสาธติ และเนน้ ยำ้ ตรงคำวา่ พลกิ ใหท้ ุกคนหยบิ แก้วท่ีเพอ่ื นส่งมาเลน่ ตอ่ และคำ วา่ วาง ใหท้ กุ คนวางแก้วไปใหเ้ พอ่ื น 6. ครใู ห้นักเรยี น 3 คน ออกมาหน้าช้ันเรียน เพือ่ สาธติ ใหเ้ พื่อนๆดูอย่างช้าๆ โดยมคี รเู ปน็ ผอู้ ธบิ าย เพมิ่ เติม 7. ครใู หเ้ วลานกั เรียนซอ้ มกบั เพ่อื นด้านข้าง 5 นาที เพื่อฝึกฝน 8. นักเรียนทัง้ ห้องเลน่ คพั ซองร่วมกัน โดยหาตวั แทนห้องในการนบั จังหวะเร่มิ และใหน้ ักเรียนฝึกฝน ดว้ ยตนเอง ครูประเมินความสนใจในการร่วมกจิ กรรม 9. ครเู ปิดเพลง มารช์ โรงเรยี น และใหน้ กั เรียนฝึกซ้อมคัพซองใหเ้ ขา้ จงั หวะ 10. ครูมอบหมายใหน้ กั เรียนอัดคลปิ วีดโี อห้อง ในการนำเสนอคัพซองประกอบเพลงมาร์ชโรงเรียน โดยเนน้ การมีสว่ นร่วมและสร้างสรรค์ โดยใหค้ ำนงึ ถึง เกณฑ์ดงั น้ี 1) ความถูกต้องของการบรรเลง 2) การ นำเสนออย่างสรา้ งสรรค์ 3) ความร่วมมือของห้อง ทงั้ หมด 20 คะแนน 11. ครใู ห้นักเรียนหาผ้นู ำของหอ้ ง แล้วประชมุ ออกแบบวางแผนงานร่วมกนั โดยใชก้ ระบวนการ ทำงานกลมุ่ แบง่ หน้าทีต่ า่ งๆ ในการทำงาน ซึง่ ครูเปน็ ผูแ้ นะนำ โดยสังเกตกระบวนการทำงานเปน็ ทมี ของห้อง 12. ครใู หน้ กั เรยี นนำเสนอแผนการทำงาน และแสดงความคิดเหน็ พร้อมแจง้ ผลการประเมินให้กบั นกั เรยี นทราบ เพ่ือใหน้ ักเรยี นนำไปปรับปรุงแก้ไขในการทำงานร่วมกนั ต่อไป 13. ครแู นะนำใหน้ กั เรียนทุกคน ศึกษาความรูเ้ พ่มิ เติมจาก คอื เพจ Play & Learn by Kruya ช้ัน เรยี น Google Classroom และ ตดิ ตอ่ สอบถาม ผา่ นช่องทาง Line กลุ่มวิชาดนตรี
7. ช้นิ งานหรือภาระงาน - ชอ่ื ชนิ้ งาน “คพั ซอง สรา้ งสรรค์” ลกั ษณะงาน ให้นักเรียนทั้งห้อง ร่วมกนั อัดคลิปวดี โี อนำเสนอคัพซองประกอบเพลงมารช์ โรงเรียนเบญจมราชรงั สฤษฎ์ิ มกี ารตดั ต่อที่สรา้ งสรรค์ โดยเน้นการมีส่วนรว่ มและสรา้ งสรรคภ์ ายในหอ้ ง ใช้สถานทภ่ี ายในโรงเรยี น ความยาว ของเพลงไมน่ ้อยกวา่ 2 รอบ ระยะเวลาในการทำช้นิ งาน : 1 เดือน คะแนนเต็ม 20 คะแนน เกณฑ์การประเมินช้นิ งาน รายการประเมิน ดี (3) พอใช้ (2) ปรบั ปรงุ (1) น้ำหนกั 1. ความถูกต้องของจังหวะ สามารถเล่นคัพซอง สามารถเลน่ คัพซอง ไม่สามารถเลน่ ตาม 8 ได้ถูกตอ้ งตาม ได้ถูกต้อง แตม่ ผี ิด รูปแบบของคัพซองที่ รูปแบบของคัพซอง บ้างเลก็ น้อย ใน กำหนดได้ บางรอบ 2. ความกลมกลนื ของเพลง สามารถเลน่ คัพซอง สามารถเลน่ คัพซอง ยงั ไมส่ ามารถเล่นคัพ 6 ไดก้ ลมกลนื กับ ไดก้ ลมกลนื กบั ซองไดอ้ ย่างกลมกลืน จงั หวะเพลงมารช์ จงั หวะเพลงมารช์ กับจงั หวะเพลงมาร์ โรงเรียน ในระดบั ดี โรงเรียนในระดับ ชโรงเรียน ปานกลาง 3. ความสรา้ งสรรค์ มีการออกแบบ มีการออกแบบ ยังไม่มีการออกแบบ 4 รปู แบบคลิปที่มี รูปแบบคลปิ ทม่ี ี ที่ดี เข้าใจยากและยัง เรอ่ื งราว ง่ายตอ่ เรือ่ งราว งา่ ยตอ่ ไมเ่ หน็ ถึงความ ความเขา้ ใจและ ความเข้าใจและ สร้างสรรค์ สรา้ งสรรค์ในระดับดี สร้างสรรค์ในระดับ ปานกลาง 4. ความสมบูรณ์ของผลงาน มีภาพและเสียงที่ มีภาพและเสียงที่ ภาพและเสยี งไม่ 2 ชัดเจน วาง ชดั เจน วาง ชัดเจน การวาง องคป์ ระกอบไดอ้ ย่าง องคป์ ระกอบได้ องค์ประกอบยังไม่ ลงตวั ในระดบั ดี อย่างลงตัวในระดับ ชัดเจน ปานกลาง นำ้ หนัก 20 คะแนนรวม 60 คะแนนเก็บ (60/3) 20 คะแนน
8. สอ่ื การเรียนรู้ 1.ไฟลน์ ำเสนอ เร่ือง ปัจจัยในการสรา้ งสรรค์ผลงานดนตรี 2. ไฟล์นำเสนอ (PowerPoint) เรอ่ื ง การสร้างสรรคด์ นตรี 3. คลปิ ตัวอยา่ ง การเล่น CUP SONG 9. แหล่งการเรยี นรู้ 1. เพจ Play & Learn by Kruya 2. ชัน้ เรียน Google Classroom 3. ห้องดนตรีไทย 10. การวัดผลและประเมินผล 1. วธิ กี ารวดั ประเมินผล 1.1 สังเกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมของนักเรยี นในช้ันเรยี น 1.2 สงั เกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในการเข้ารว่ มกิจกรรมกลุ่ม 1.3 ตรวจชน้ิ งาน ภาระงานทีม่ อบหมาย 2. เครื่องมือ 2.1 แบบสังเกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมของนกั เรยี นในช้ันเรียน 2.2 แบบสงั เกตพฤติกรรมของนักเรยี นในการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลุ่ม 2.3 แบบประเมนิ ช้ินงาน 3. เกณฑ์การประเมนิ 3.1 การประเมนิ ผลตามแบบสงั เกตพฤติกรรมการเข้ารว่ มกิจกรรมของนักเรียนในชัน้ เรยี น 3.2 การประเมนิ พฤติกรรมของนักเรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม 3.3 การประเมนิ ชนิ้ งาน
บนั ทึกผลการจดั การเรยี นรู้ รายหนว่ ย 1. ผลการจัดการเรียนรู้ 1.1 ผลการจัดการเรียนรูด้ า้ นความรู้ (K) พบว่า นกั เรยี นทงั้ หมด จำนวน ................... คน ผา่ นเกณฑ์ จำนวน ................. คน คดิ เป็น รอ้ ยละ................ ไมผ่ ่านเกณฑ์ จำนวน.................. คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ................ เนอ่ื งจาก.................................................................................................................... ............................. 1.2 ผลการจัดกจิ กรรมดา้ นทกั ษะกระบวนการ (P) พบวา่ นักเรยี นทงั้ หมด จำนวน ................... คน ผ่านเกณฑ์ จำนวน ................. คน คดิ เป็น รอ้ ยละ................ ไม่ผ่านเกณฑ์ จำนวน.................. คน คิดเปน็ รอ้ ยละ................ เน่อื งจาก................................................................................................................................................... 1.3 ผลการจัดกิจกรรมด้านคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ (A) พบว่า นักเรียนท้งั หมด จำนวน ................... คน ผา่ นเกณฑ์ จำนวน ................. คน คดิ เป็น ร้อยละ................ ไมผ่ า่ นเกณฑ์ จำนวน.................. คน คิดเปน็ รอ้ ยละ................ เนือ่ งจาก .................................................................................................................................................. 1.4 บนั ทึกเพ่ิมเตมิ (ถา้ มี) .......................................................................................................................... .......................................... ............................................................................................................................. ....................................... .................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ....................................... 2. ปญั หา/อปุ สรรค ............................................................................................................................. ....................................... .......................................................................................... .......................................................................... ............................................................................................................................. ....................................... ........................................................................................................................................... ......................... 3. แนวทางการแก้ไข ...................................................................................... .............................................................................. ............................................................................................................................. ....................................... ....................................................................................................................................... ............................. ............................................................................................................................. ....................................... ลงช่ือ........................................ ผู้สอน (นางปพชิ ญา อ่อนสำลี) ตำแหนง่ ครูชำนาญการ
Search
Read the Text Version
- 1 - 7
Pages: