Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

c

Published by คุณภัทร์ สังกลม, 2018-09-13 22:24:28

Description: c

Search

Read the Text Version

การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพวิ เตอร์ By M.Khunnapat Sungklom

ภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาท่ีมนุษย์เราใช้ติดต่อส่ือสารกับคอมพิวเตอร์เพ่ือให้คอมพิวเตอร์เข้าใจและสามารถปฏิบัติตามคาส่ังได้ โดยอาศัยหลักเกณฑ์การเขียนโปรแกรมคอมพวิ เตอรแ์ ตล่ ะภาษา

ระดับภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาระดับต่า คือ ภาษาท่ีใกล้เคียงกับภาษาคอมพิวเตอร์มาก การใช้ ง า น น้ั น ค่ อ น ข้ า ง ย า ก แ ล ะ ผู้ ใ ช้ ต้ อ ง จ า รู ป แ บ บ ค า สั่ ง ต่ า ง ๆ ม า ก เ กิ น ไ ป ตัวอย่างภาษาระดับตา่ ไดแ้ ก่ ภาษาเคร่ือง และภาษาแอสแซมบลี ภาษาระดับสูง คือ ภาษาท่ีใกล้เคียงกับภาษาของมนุษย์ ใช้งานและ เรียนรู้คาสั่งได้ง่าย สะดวกต่อการเขียนโปรแกรมภาษา เช่น ภาษาเบสิก ภาษาซี ภาษาซีพลัสพลสั ภาษาจาวา

ยุคของภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาคอมพิวเตอร์ยุคที 1 มีการใช้งานโดยภาษาเคร่ือง ประกอบด้วยตัวเลข เฉพาะ 0 และ 1เท่านั้น ภาษาคอมพิวเตอร์ยุคที 2 ภาษาสัญลักษณ์ (Symbol Language) มีการใช้ สัญลักษณ์แทนตัวเลขฐานสอง โดยสัญลักษณ์น้ัน ก็คือภาษาอังกฤษ ซึ่งอาจจะ เป็น 1 ตัวอักษร หรือกลุ่มตัวอักษรก็ได้ เพ่ือใช้แทนคาสั่ง 1 คาสั่ง เช่น ภาษาแอสเซมบลี Assembly

ยคุ ของภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาคอมพิวเตอร์ยุคที 3 ภาษาระดับสูง (High-level Language) เนื่องจากมี การใช้ภาษาอังกฤษเขียนเป็นคาส่ังเป็นประโยคและกลุ่มคาท่ีมีความหมาย ซึ่ง ใกล้เคียงกับการใช้ภาษาของมนุษย์ จึงทาให้โปรแกรมเมอร์เข้าใจกฎในการเขียน คาสงั่ ได้ง่ายข้นึ เช่น Basic, Pascal, Fortran, Cobol,C เป็นตน้ ภาษาคอมพิวเตอร์ยุคที 4 ภาษาระดับสูงมาก (Very high - Level Language) มีการพัฒนาจากภาษาในยุคท่ี 3 ให้มีประสิทธิ ภาพเพ่มิ มากข้ึน มีคาส่ังท่ีสามารถ เขยี นเปน็ ภาษาอังกฤษได้มากข้ึน และสามารถนามาใชเ้ ขียนคาสั่งเพอ่ื เชื่อมต่อกับ ฐานขอ้ มลู ไดด้ ว้ ย เชน่ Java, Visual Basic

ยุคของภาษาคอมพวิ เตอร์ ภาษาคอมพวิ เตอร์ยุคที 5 ภาษาธรรมชาติ (Natural Language)มีการ ใช้ไวยากรณ์ที่มีโครงสร้างใกล้เคียงกับภาษาของมนุษย์มากท่ีสุด จึงเป็น ภาษาทใี่ ชส้ าหรับพัฒนาซอฟตแ์ วรเ์ พ่อื ระบบผูเ้ ชยี่ วชาญ (Expert System:ES)และปัญญาประดษิ ฐ์ (Artificial Intelligence: AI)

ตัวแปรภาษาคอมพวิ เตอร์ เป็นตัวกลางในการแปลความหมายหรือภาษาของชุดคาส่ังที่มนุษย์เขียนข้ึนให้อยู่ใน รปู แบบของภาษาทีค่ อมพวิ เตอรเ์ ขา้ ใจได้ แอสแซมเบอร์ ตัวแปลภาษาแอสแซมบลีซึ่งเปน็ ภาษาระดับตา่ ใหเ้ ปน็ ภาษาเคร่ือง อินเตอร์พรีเตอร์ ตวั แปลภาษาระดับสูงไปเป็นภาษาเคร่ือง โดยการทางานจะแปลที ละบรรทดั คาสั่ง คอมไพเลอร์ ตัวแปลภาษาระดับสูงไปเป็นภาษาเคร่ือง โดยการทางานจะแปล ชุดคาส่งั ทีเ่ ขียนทั้งหมดในคราวเดียว

ข้ันตอนการพัฒนาโปรแกรม ข้นั ตอนการพฒั นาโปรแกรม 5 ขัน้ ตอน 1) การวิเคราะห์ปญั หา 2) การออกแบบโปรแกรม 3) การเขียนโปรแกรม 4) การทดสอบโปรแกรม 5) การจดั ทาเอกสารประกอบ

“บัก (Bug)” หมายถงึ ข้อผดิ พลาดของโปรแกรมการแกข้ ้อผิดพลาดของโปรแกรมใหถ้ ูกต้อง เรยี กวา่ debugขอ้ ผดิ พลาดจากการเขียนโปรแกรมมี 2 ประเภท คือSyntax error คือข้อผิดพลาดที่เกิดจากการเขียนคาสั่งโปรแกรมผิดรปู แบบ ไวยากรณ์ของภาษา (Syntax) อาจเกิดจากการสะกดคาผิด โดยจะเกิดข้ึนตอน Compile โปรแกรม และโปรแกรมน้ีก็จะไม่สามารถนามารนั ไดเ้ พราะยงั compile ไมผ่ ่านlogical error คือข้อผิดพลาดที่เกิดจากการลาดบั การทางานผดิ หรือปอ้ นสตู รคานวณผิด

ภาษา C เป็นภาษาคอมพวิ เตอร์ที่ได้พัฒนาขน้ึ ในปี ค.ศ. 1972 โดยDennis Ritchie แห่ง Bell Telephone Laboratoriesซ่ึงภาษา C มีการพัฒนามาจากภาษา B ได้ถูกนามาใช้เพื่อสร้างระบบปฏิบตั ิการ Unix

จุดเด่นของภาษา C มีแนวคดิ ในการพฒั นาแบบ “โปรแกรมเชิงโครงสรา้ ง” การทางานของภาษาไม่ขน้ึ กับฮารด์ แวร์ นาไปใช้กบั CPU ร่นุ ต่างๆได้ เป็นภาษาระดับสงู ท่ีทางานเหมือนภาษาระดับต่า คอมไพเลอร์มปี ระสิทธภิ าพสูง ทางานได้รวดเร็ว

โครงสร้างภาษา C

กฎการเขยี นโปรแกรมดว้ ยภาษา C  ท่ีส่วนหัวโปรแกรม จะตอ้ งกาหนดตวั ประมวลผลกอ่ นเสมอ  คาสง่ั ตอ้ งเขยี นภายในเคร่ืองหมาย { } อย่ภู ายใตค้ าสงั่ หลกั ชอ่ื main  คาส่ังควบคมุ การทางานจะใช้ตัวอักษรพิมพ์เลก็ ท้ังหมด  ตวั แปรที่ใช้งาน จะต้องถกู ประกาศชนดิ ข้อมูลไวเ้ สมอ  เม่ือส้ินสุดคาส่ังตอ้ งจบดว้ ยเคร่ืองหมายเซมิโคลอน ( ; )  สามารถอธบิ ายโปรแกรมตามความจาเป็นด้วยการใชเ้ ครือ่ งหมาย /*......*/ หรอื //...

ตัวแปร (Variable)“ตัวแปร (Variable)”ในภาษา C คือ สัญลักษณ์ท่ีใช้แทนค่าข้อมูลในการเขียนโปรแกรม ซ่ึงข้อมูลนั้นจะเป็นตวั หนังสอื หรือตัวเลขก็ไดโ้ ดยการทางานของตวั แปรจะเปน็ การจองพ้นื ท่ใี นหน่วยความจาสาหรับเก็บข้อมูลตามรปู ชนิดของขอ้ มลู

หลักการตัง้ ช่ือตัวแปรในภาษา C  ขึ้นต้นด้วยอักษร A-Z,a-z หรือเครื่องหมาย _ (underscore) เท่านั้นคาสั่ง  ภายในช่อื ตัวแปรหา้ มมชี อ่ งว่าง  ภายในตวั แปรประกอบไปด้วยอกั ขระ A-Z , a-z ตัวเลข 0-9 หรือ เคร่ืองหมาย _ (underscore) เท่าน้ัน  การใช้อกั ษรพิมพใ์ หญ่และอักษรตวั พมิ พเ์ ลก็ มคี วามแตกต่างกนั  ควรต้ังชื่อตวั แปรให้สมั พนั ธ์กบั ค่าท่ีเกบ็

การประกาศตัวแปรคอื การสรา้ งตัวแปร โดยกาหนดชื่อและชนดิ ขอ้ มลู ให้กับตวั แปร ชนิดขอ้ มลู การประกาศตัวแปร int num;ชนิดข้อมลู แบบจา่ นวนเต็ม (Integer Type) int num = 100;ชนดิ ขอ้ มูลแบบตวั อักษร (Character Type) char chr1;ชนิดขอ้ มลู แบบกลมุ่ ตวั อักษร (String Type) char chr1 = ‘A’;ชนิดข้อมูลแบบจ่านวนเลขทศนยิ ม (Floating Type) char str1; char str1[20] = “computer”; float flo1; float flo1 = 3.79;


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook