Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ebook

ebook

Published by farchada06, 2018-06-06 23:15:59

Description: ebook

Search

Read the Text Version

ระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์

Hub Hubห รื อ Ethernethub, active hub,network hub, repeater hub,multiport repeater ท้งั หมดน้ีเรียกง่ายๆวา่ Hub Hubคืออุปกรณ์ network อยา่ งหน่ึงท่ีทาหนา้ ที่ เชื่อมต่ออุปกรณ์อ่ืนใน network เขา้ ด้วยกนั และสร้างมนั จนเป็ นระบบ network ลกั ษณะhub คือมีช่อง input/output (I/O) port หลายช่อง ไว้สาหรับรับส่ งสัญญาณ การทางานของ HUB Hub เป็นอุปกรณ์ท่ีทาหนา้ ท่ีกระจายสัญญาณในระบบเครือข่ายประเภทเดียวกนั เท่าน้นัไม่สามารถเชื่อมต่อต่าง Protocol ได้ เป็ นอุปกรณ์ศูนยก์ ลางในการนาคอมพิวเตอร์มาเชื่อมต่อกนั ฮบั หรือ รีพีทเตอร์ (Hub, Repeater) เป็นอุปกรณ์ที่ทวน และขยายสัญญาณ เพ่ือส่งต่อไปยงัอุปกรณ์อ่ืน ใหไ้ ดร้ ะยะทางท่ียาวไกลข้ึน ไม่มีการเปลี่ยนแปลงขอ้ มูลก่อนและหลงั การรับ-ส่งและไม่มีการใชซ้ อฟตแ์ วร์ใดๆ มาเกี่ยวขอ้ งกบั อุปกรณ์ชนิดน้ี การติดต้งั จึงทาไดง้ ่าย ขอ้ เสียคือ ความเร็วในการส่งขอ้ มูล จะเฉลี่ยลดลงเท่ากนั ทุกเคร่ือง เม่ือมีคอมพิวเตอร์มาเชื่อมต่อมากข้ึนฮบั (HuB)เป็นอุปกรณ์รวมสายของ 10BASE T ซ่ึงมีรูปร่าง (Topology) แบบดาว (Star) โดยการทางานภายในเป็นแบบบสั นน่ั เองHUB ถูกใชใ้ นงาน LAN เกือบจะทุกท่ีมีการติดต้งั ระบบน้ี ราคามีต้งั แต่หลกั พนั บาทจนถึงเป็ นแสน ฉะน้นัการเลือกจึงข้ึนอยกู่ บั งบประมาณ และความคงทนของอุปกรณ์ HUB ที่ไม่ดีมกั จะทาใหก้ ารสื่อสารกบั เครื่องอ่ืนมีปัญหา หรือท่ีเรียกง่าย ๆ ว่าอาการ“ฮบั แฮง้ ”

PC1 ตอ้ งการส่งขอ้ มูลไปยงั ServerและPC2 ต้องการส่ง ข้อมูลไปพิมพ์ยงั Network Printer PC1 เริ่มส่งข้อมูลไปยงั Server ข้อมูลต่างๆท่ีส่งออกมาจาก PC1 ถูกลาเลียงผ่าน สายสัญญาณจนไปถึงฮบั เมื่อฮับรับข้อมูลเข้ามาแล้วก็จะส่ งข้อมูลเหล่าน้ัน แพร่กระจายออกไปยงั ทุกพอร์ตท่ีตนเองมีอยขู่ อ้ มูลถูกลาเลียง ผา่ น สายสญั ญาณไปยงั อุปกรณ์ทุกๆตวั Server ซ่ึงเป็นเจา้ ของขอ้ มูลกจ็ ะไดร้ ับขอ้ มูลท่ี PC1 ส่งมา ให้แลว้ ข้อมูลนาไปประมวลผล และในขณะเดียวกันน้ัน อุปกรณ์ อ่ืนๆกไ็ ดร้ ับขอ้ มูลน้นั ดว้ ยเช่นกนั แต่จะไม่นาขอ้ มูล ไปประมวลผลเน่ืองจากไม่ ใช่ขอ้ มูลของตนเอง(ตรวจสอบ จาก Mac Address ผรู้ ับใน Frame ขอ้ มูล) ขั้นตอนการส่งข้อมูลจาก PC2 ไปพิมพ์ยังNetwork Printer จะทาในลักษณะเดียวกัน PC1(แตต่ ้องรอให้ PC1 ส่งขอ้ มลู เสร็จสิ้นกอ่ น เ ม่ื อ ฮั บ รั บ ข้ อ มู ล เ ข้ า ม า แ ล้ ว ก็ จ ะ ส่ งข้อมูลเหล่านั้นแพร่กระจายออกไปยังทุกพอร์ตที่ตนเองมีอยู่ข้อมูลถูกลาเลียงผ่านสายสัญญาณไปยงั อปุ กรณ์ทกุ ๆตวั Network Printer ซึ่งเป็นเจ้าของข้อมูลก็จะได้รับข้อมูลที่ PC2 ส่งมาให้ จากน้ันก็จะนาขอ้ มลู ไปพิมพ์

สวิตซ์ (Switch) สวติ ซ์ (Switch) เป็นอุปกรณ์ที่พฒั นาการต่อจากฮบั อีกทีหน่ึงมีความสามารถมากกว่า Hub โดยการทางานของสวิตซ์จะส่งขอ้ มูลออกไปเฉพาะพอร์ตที่ใชใ้ นการติดต่อกบั เคร่ืองคอมพิวเตอร์พีซีปลายทางเท่าน้นั ไม่ส่งกระจายขอ้ มูลไปยงั ทุกพอร์ตเหมือนอย่างฮบั ทาให้ในสวิตซ์ไม่มีปัญหาการชนของขอ้ มูล สวิตซ์จะทางานอย่ใู นช้นั DataLink Layer คือจะรับผิดชอบในการเช่ือมโยงของขอ้ มูล ตรวจสอบความถูกตอ้ งของการติดต่อจากโหนดหน่ึงไปอีกโหนดหน่ึงและความสมบูรณ์ของการรับส่งขอ้ มูล สาหรับในช้นั เชื่อมโยงขอ้ มูลนนั่ จะทาการแบ่งขอ้ มูลระดบั บิตท่ีไดร้ ับจากช้นั Physical Layer เป็นขอ้ มูลชนิดที่เรียกวา่ เฟรม ก่อนจะส่งไปยงั ช้นั ถดั ไป กค็ ือ Network Layer switch ทางานในระดบั ของ layer 2 ซ่ึงเป็นการทางานในระดบั ของ data-link layer ในกรณีของ ethernet จะมีความเก่ียวพนั กบั เร่ืองของ frame และพวก MAC , LLC switch น้นั เป็นอุปกรณ์ท่ีมีหลกั การในการทางานในลกั ษณะเดียวกบั อุปกรณ์จาพวก bridge ซ่ึงจะมีหลกั การทางานกค็ ือจะส่งขอ้ มูลจาก port หน่ึงไปยงั ปลายทางที่เฉพาะเจาะจงเท่าน้นั ขอ้ มูลน้นั จะไม่ถูกส่งออกไปยงั port อื่นๆ ยกเวน้ มีความจาเป็นในบางกรณี เช่น ขอ้ มูลท่ีส่งกนั ไม่มีผูร้ ับที่เช่ือมต่ออย่ใู น switch ของตวั เองหรือขอ้ มูลท่ีตอ้ งส่งน้นั เป็นขอ้ มูลท่ีตอ้ งส่งออกไปในลกั ษณะของ broadcast หรือmulticast การที่ port ใดๆ จะส่งขอ้ มูลถึงกนั น้นั switch กจ็ ะทาการตรวจสอบ mac address ของอุปกรณ์ท่ีเช่ือมต่อกนัอยู่ และมีการทา table เอาไวเ้ พ่ือเก็บข้อมูลเหล่าน้ี และเมื่อเวลามีการส่งข้อมูลระหว่างกันก็จะเอา mac addresปลายทาง ที่อยใู่ นส่วน header ของ frame มาเทียบกบั ตารางท่ีตวั เองมีอยซู่ ่ึงถา้ หากวา่ มีขอ้ มูล mac address อนั น้นั อยู่ในตาราง และไดม้ ีการบนั ทึกเอาไวว้ ่าเป็ นของอุปกรณ์ที่เช่ือมต่ออยู่กบั port ไหน switch กจ็ ะทาการส่งขอ้ มูลไปยงัport น้นั ทนั ที

รีพตี เตอร์ (repeater) ในระบบ LAN โดยทว่ั ไปน้นั ยง่ิ คอมพิวเตอร์แต่ละเคร่ืองอยไู่ กลกนั มากเท่าไร สญั ญาณท่ีส่งถึงกนักจ็ ะเริ่มเพ้ียน และจางลงจนหายไปในท่ีสุด ซ่ึงเมื่อสายท่ีต่อกนั ระหวา่ งเคร่ืองคอมพิวเตอร์มีความยาวเกินกวา่ ที่มาตรฐานกาหนด ก็จะตอ้ งมีการเพิ่มอุปกรณ์พิเศษที่เรียกวา่ รีพีตเตอร์ ข้ึนมาเพื่อทาหนา้ ท่ีทวนสญั ญาณ คือช่วยขยายสญั ญาณไฟฟ้าท่ีส่งบนสาย LAN ใหแ้ รงข้ึนและจดั รูปสญั ญาณที่เพ้ียนไปใหก้ ลบั เหมือนเดิม จากน้นั จึงคอ่ ยส่งต่อไป แต่ขอ้ จากดั ของรีพีตเตอร์ คือ มนั จะทางานในระดบั ต่า โดยไม่สนใจสญั ญาณท่ีส่งว่าเป็ นขอ้ มูลอะไร จากไหนถึงไหน รู้แต่วา่ ถา้ มีสญั ญาณเขา้ มาทางฟากหน่ึงกจ็ ะขยายแลว้ ส่งต่อออกไปยงั อีกฝากหน่ึงให้เสมอ ไม่สามารถกลนั่ กรองสัญญาณท่ีไม่จาเป็ นออกไปได้ ดงั น้นั รีพีตเตอร์จึงไม่ไดม้ ีส่วนช่วยจดั การจราจรหรือลดปริมาณขอ้ มูลท่ีส่งออกมาบนเครือข่าย LAN ฮบั ท่ีใชใ้ นระบบ LAN ตามมาตรฐานอีเทอร์เน็ตแบบ 10Base-T และ 100Base-T กจ็ ดั เป็นอุปกรณ์ท่ีทางานใน ลกั ษณะเดียวกบั รีพตี เตอร์ดว้ ย

บริดจ์ (Bridge) บริดจ์ เป็ นอุปกรณ์เชื่อมโยงเครือข่ายของเครือข่ายท่ีแยกจากกนั แต่เดิมบริดจ์ไดร้ ับการออกแบบมาใหใ้ ชก้ บั เครือข่ายประเภทเดียวกนั เช่น ใชเ้ ช่ือมโยงระหวา่ งอีเทอร์เน็ตกบั อีเทอร์เน็ต(Ethernet) บริดจม์ ีใชม้ านานแลว้ ต้งั แต่ปี ค.ศ.1980บริดจจ์ ึงเป็นเสมือนสะพานเช่ือมระหวา่ งสองเครื อข่ายการติดต่อภายในเครื อข่ายเดี ยวกันมีลักษณะการส่ ง ข้อมูลแบบกระจาย(Broadcasting)ดงั น้นั จึงกระจายไดเ้ ฉพาะเครือข่ายเดียวกนั เท่าน้นั การรับส่งภายในเครือข่ายมีขอ้กาหนดให้แพก็ เก็ตท่ีส่งกระจายไปยงั ตวั รับไดท้ ุกตวั แต่ถา้ มีการส่งมาท่ีแอดเดรสต่างเครือข่ายบริดจจ์ ะนาขอ้ มูลเฉพาะแพก็ เกต็ น้นั ส่งใหบ้ ริดจจ์ ึงเป็นเสมือนตวั แบ่งแยกขอ้ มูลระหวา่ งเครือขา่ ยให้มีการสื่อสารภายในเครือข่าย ของตน ไม่ปะปนไปยงั อีกเครือข่ายหน่ึง เพ่ือลดปัญหาปริมาณขอ้ มูลกระจายในสายส่ือสารมากเกินไป ในระยะหลงั มีผูพ้ ฒั นาบริดจใ์ ห้เชื่อมโยงเครือข่ายต่างชนิดกนั ได้ เช่น อีเทอร์เน็ตกบั โทเกน็ ริง เป็นตน้ หากมีการเช่ือมต่อเครือขา่ ยมากกวา่ สองเครือขา่ ยเขา้ ดว้ ยกนั และเครือข่ายที่เชื่อมมีลกั ษณะหลากหลาย ซ่ึงเป็นท้งั เครือข่ายแบบ LAN และ WANอุปกรณ์ที่นิยมใชใ้ นการเชื่อมโยงคือ เราเตอร์ (Router) บริดจ์ เป็ นอุปกรณ์ท่ีมกั จะใช้ในการเช่ือมต่อวงแลน (LAN Segments)เข้าด้วยกันทาให้สามารถขยายขอบเขตของ LANออกไปไดเ้ ร่ือยๆโดยที่ประสิทธิภาพรวมของระบบไม่ลดลงมากนกั เน่ืองจากการติดต่อของเครื่องท่ีอยใู่ นเซกเมนตเ์ ดียวกนั จะไม่ถูกส่งผา่ นไปรบกวนการจราจรของเซกเมนตอ์ ื่น และเนื่องจากบริดจเ์ ป็นอุปกรณ์ท่ีทางานอยใู่ นระดบั Data Link Layerจึงทาให้สามารถใช้ในการเชื่อมต่อเครือข่ายที่แตกต่างกนั ในระดบั Physical และ Data Link ได้ เช่นระหวา่ ง Eternet กบั Token Ring เป็นตน้

Router Router คือ อุปกรณ์ที่ทาหนา้ ที่เชื่อมต่อระบบเครือข่ายอยา่ งหน่ึง ซ่ึงถา้ แปลความหมายคาว่า Route กค็ ือ ถนน นน่ั เอง ดงั น้นั การเช่ือมต่อคอมพิวเตอร์ดว้ ย Router ทาใหเ้ ราสามารถเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ไดม้ ากกวา่ หน่ึงเคร่ือง ในเวลาเดียวกัน ซ่ึง Router น้ันจะมีซอฟต์แวร์ท่ีใช้ในการควบคุมการทางานเรียกว่า Internetwork Operating System (IOS) และตวั Router จะมีช่องที่ใชเ้ สียบต่อสายสัญญาณเรียกวา่ Port LAN ซ่ึงโดยทวั่ ไปมกั มี 4 Ports หรือ มากกวา่ ใน Router 1 ตวั หนา้ ท่ีหลกั ของ Router คือการหาเส้นทางในการส่งผ่านขอ้ มูลที่ดีที่สุด และเป็ นตวั กลางในการส่งต่อขอ้ มูลไปยงั เครือข่ายอ่ืน ท้งั น้ี Router สามารถเชื่อมโยงเครือข่ายที่ใชส้ ่ือสัญญาณหลายแบบแตกต่างกนั ไดไ้ ม่ว่าจะเป็นEthernet, Token Rink หรือ FDDI ท้งั ๆที่ในแต่ละระบบจะมี packet เป็ นรูปแบบของตนเองซ่ึงแตกต่างกนั โดยโปรโตคอลท่ีทางานในระดบั บนหรือ Layer 3 ข้ึนไปเช่น IP, IPX หรือ AppleTalk เม่ือมีการส่งขอ้ มูลก็จะบรรจุขอ้ มูลน้นั เป็น packet ในรูปแบบของ Layer 2 คือ Data Link Layer เมื่อ Router ไดร้ ับขอ้ มูลมากจ็ ะตรวจดูใน packetเพ่ือจะทราบวา่ ใชโ้ ปรโตคอลแบบใด จากน้นั กจ็ ะตรวจดูเส้นทางส่งขอ้ มูลจากตาราง Routing Table ว่าจะตอ้ งส่งขอ้ มูลน้ีไปยงั เครือข่ายใดจึงจะต่อไปถึงปลายทางได้ แลว้ จึงบรรจุขอ้ มูลลงเป็ น Packet ของ Data Link Layer ที่ถูกตอ้ งอีกคร้ัง เพื่อส่งต่อไปยงั เครือข่ายปลายทาง

เกตเวย์ (Gateway) เป็ นอุปกรณ์ที่มีความสามารถสูงในการเช่ือมต่อเครือข่ายต่างๆ เขา้ ดว้ ยกนั โดยสามารถเช่ือมต่อ LAN หลายๆเครือข่ายที่ใช้โปรโตคอลต่างกนั และใช้ส่ือส่งขอ้ มูลต่างชนิดกนั ได้อย่างไม่มีขีดจากัด ตวั อย่างเช่น เช่ือมต่อEthernet LAN ท่ีใชส้ ายส่งแบบ UTP เขา้ กบั Token Ring LAN ได้ เกตเวยเ์ ป็ นเหมือนนักแปลภาษาท่ีทาให้เครือข่ายที่ใช้โปรโตคอลต่างชนิดกนั สามารถส่ือสารกนั ได้ หาก โปรโตคอลท่ีใชร้ ับส่งขอ้ มูลของเครือข่ายท้งั สองไม่เหมือนกนั เกตเวย์ กจ็ ะทาหนา้ ท่ีแปลงโปรโตคอลใหต้ รงกบั ปลายทางและเหมาะสมกบั อุปกรณ์ของฮาร์ดแวร์ที่แต่ละเครือข่ายใชง้ านอยนู่ ้นั ไดด้ ว้ ย ดงั น้นั อุปกรณ์เกตเวยจ์ ึงมี ราคาแพงและข้นั ตอนในการติดต้งั จะซบั ซอ้ นที่สุดในบรรดาอุปกรณ์เครือข่ายท้งั หมด ในการที่เกตเวยจ์ ะสามารถส่งขอ้ มูลจากเครือข่ายหน่ึงไปยงั อีกเครือข่ายหน่ึงไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งน้นั ตวั ของเกตเวย์ เองจะตอ้ งสร้างตารางการส่งข้อมูล หรือที่เรียกว่า routing table ข้ึนมาในตวั ของมัน ซ่ึงตารางน้ีจะบอกว่า เซิร์ฟเวอร์ไหนอยู่เครือข่ายใด และอยู่ภายใตเ้ กตเวยอ์ ะไร ตารางน้ีจะมีการปรับปรุงขอ้ มูลทุกระยะ สาหรับ เครือข่ายขนาดใหญ่ อุปกรณ์ท่ีทาหนา้ ท่ีเป็นเกตเวยอ์ าจจะรวมเอาฟังกช์ นั การทางานที่เรียกวา่ Firewall ไวใ้ นตวั ดว้ ย ซ่ึง Firewall เป็น เหมือนกาแพงท่ีทาหน้าท่ีป้องกนั ไม่ให้คอมพิวเตอร์ท่ีอยู่นอกเครือข่ายของบริษทั เขา้ มาเชื่อมต่อลกั ลอบนา ขอ้ มูลภายในออกไปได้