รหสั วชิ า 30000-1610 สันติ ล้อสังวาลย์ 95.-
คานา หนังสือเรียนวิชา นันทนาการเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต รหัสวิชา 30000-1610 เล่มนี้ เรียบเรียงขึ้นเพื่อใช้ ประกอบการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ตามหลักประกาศนียบัตรวิชาชพี ช้ันสงู (ปวส.) พุทธศักราช 2563 ของสานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร ผู้เรียบเรียงและฝ่ายวิชาการ ศูนย์หนังสือ เมืองไทย หวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนังสือเรียนวิชานันทนาการเพื่อ พัฒนาคุณภาพชีวติ เลม่ น้ี จะสามารถให้ความรู้และเกิดประโยชนแ์ กผ่ ู้สอน ผู้เรยี นตลอดจนผู้สนใจศึกษาท่ัวไป เป็นอย่างดี หากมขี อ้ ผิดพลาดประการใด ผูเ้ รยี บเรียงและฝา่ ยวชิ าการศนู ย์หนังสอื เมืองไทย ขอน้อมรับคาติชม เพอ่ื ประโยชน์ในการปรบั ปรงุ แก้ไขในโอกาสตอ่ ไป สนั ติ ล้อสงั วาลย์ และ ฝา่ ยวชิ าการ ศูนยห์ นังสือ เมืองไทย
สารบัญ หน้า หนว่ ยท่ี 1 ความรู้เรอ่ื งนันทนาการ 1 1.1 ความหมายของนันทนาการ 2 1.2 ความสาคญั ของนนั ทนาการ 3 1.3 ขอบข่ายลกั ษณะของนนั ทนาการ 4 1.4 ประโยชน์และคณุ คา่ ของนนั ทนาการ 5 1.5 ปรัชญาและหลักการของนนั ทนาการ 5-9 1.6 การเขา้ รว่ มกิจกรรมการออกกาลังกายและกจิ กรรมนันทนาการ 9-10 1.7 วัตถปุ ระสงค์ของกิจกรรมนันทนาการ 10-12 1.8 กิจกรรมนันทนาการ
หนงั สือ -รหัสหนงั สอื +ชอ่ื หนงั สอื +อา่ น +พิมพ์ ปกหนังสอื คานา สารบญั บทของเนอื้ หา บรรณานุกรม ประเภทของปก -เน้อื ความ -เนือ้ ความ -เนอื ้ หาแตล่ ะบท -เนอ้ื ความ -ชอื่ ผแู้ ต่ง +ประเภทของ +พลกิ สารบญั +อา่ น +พลกิ +อา่ น +พลกิ +อา่ น +อ่าน +พลิก หนา้ หนังสือ +อา่ น เนอ้ื หาแต่ละ หน้า ตวั หนังสือ อกั ขระ +พลกิ สะกด +อา่ น รปู ภาพ ภาพ ดู
1 หนว่ ยที่ 1 ความรเู้ ร่ืองนันทนาการ 1.1 ความหมายของนันทนาการ กิจกรรมที่คนเราใชเ้ วลาว่างจากภารกิจงานประจาโดยเข้าร่วมด้วยความสมัครใจ และกิจกรรมท่ีทาต้องไม่ ขัดต่อขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม และกฎหมายบ้านเมือง เพ่ือก่อให้เกิดการพัฒนาหรือความเจริญ งอกงามทางกาย อารมณ์ สงั คม และสติปัญญา นันทนาการ หมายถงึ การทาใหช้ วี ติ สดช่นื โดยการเสรมิ สร้างพลังงานขน้ึ ใหม่ หลงั จากที่ร่างกายใช้พลังงาน แล้วเกิดเป็นความเหน่ือยเมื่อยล้าทางร่างกาย จิตใจและทางสมอง เม่ือบุคคลเข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการจะ ช่วยขจัด หรือผ่อนคลายความเหน่ือยเมื่อยล้าทางด้านร่างกายและจิตใจ ในความหมายน้ี นันทนาการจึงเป็น การตอบสนองความตอ้ งการทางกายและจติ ใจของบุคคลได้อยา่ งแทจ้ รงิ นันทนาการ หมายถึง กิจกรรม (Activities) ต่างๆ ท่ีบุคคลเข้าร่วมในช่วงเวลาว่าง โดยไม่มีการบังคับหรือ เขา้ รว่ มดว้ ยความสมัครใจ มผี ลกอ่ ให้เกิดการพัฒนาอารมณ์สุข สนุกสนานหรอื ความสุขสงบ และกจิ กรรมนั้นๆ จะต้องเป็นกิจกรรมท่ีสังคมยอมรับ ซ่ึงเป็นกิจกรรมท่ีมีความหลากหลาย เช่น กิจกรรมศิลปะหัตกรรม การ อ่าน-เขียน กิจกรรมอาสาสมัคร ศิลปวัฒนธรรม งานอดิเรก เกม กีฬา การละคร ดนตรี กิจกรรมเข้าจังหวะ และนนั ทนาการกลางแจง้ นอกเมอื ง นันทนาการ หมายถึง เป็นสถาบันทางสังคมหรือแหล่งศูนย์กลางของสังคม เพ่ือให้บุคคล หรือสมาชิกเข้า ร่วมกิจกรรมนันทนาการแล้วก่อให้เกิดความเจริญงอกงามทางร่างกายและพัฒนาทางด้านอารมณ์ จิตใจ และ สังคม ซงึ่ โดยปกตริ ฐั มหี นา้ ทีจ่ ัดแหล่งนันทนาการในรูปแบบต่างๆ เช่น สวนสาธารณะในเมือง สวนหย่อม ศนู ย์ เยาวชน หอ้ งสมุดสาหรับประชาชน ดนตรสี าหรบั ประชาชน วนอทุ ยาน และอทุ ยานแห่งชาติ รูปท่ี 1.1 นนั ทนาการ
2 1.2 ความสาคัญของนันทนาการ ความสาคัญสาหรบั บุคคลในประเทศเสรีประชาธิปไตยบุคคลย่อมพอใจ ในความรบั ผิดชอบและสิทธิของเรา ตามความจริงแล้วความรับผิดชอบคือสิทธิของเสรี ได้มีการอภิปรายกันถึงความจาเป็นของนันทนาการท่ีมีต่อ บคุ คลแตล่ ะคนนั้นในทสี่ ดุ ก็พอสรุปได้ 4 ประเภทดว้ ยกัน คือ 1.บุคคลแต่ละคนมีสิทธิ์ท่ีจะใช้เวลาว่างของตนเข้าร่วมในกิจกรรมนันทนาการเพื่อประโยชน์แก่ตนเองใน ฐานะท่เี ขาเปน็ สมาชกิ คนหนง่ึ ของชมุ ชนท้องถิน่ จงั หวัดและประเทศชาตปิ ระโยชนจ์ ากกิจกรรมนันทนาการที่ได้ เลือกสรรเข้าร่วมน้ันต้องให้ได้ผลทางด้านจิตใจอารมณ์สังคมและทางร่างกายเป็นอย่างดีด้วยนันท นาการท่ีเขา เลอื กจะต้องรักษาไว้ซึ่งขนบธรรมเนยี มประเพณีของชุมชนและท้องถน่ิ น้นั ๆ รูปที่ 1.2 นนั ทนาการในชุมชน 2.บุคคลแต่ละคนมีความรับผิดชอบตามกฎหมายในอันท่ีจะสนับสนุนนันทนาการโดยการเ สียภาษีให้แก่ รัฐบาลหน่วยงานต่างๆ ของรัฐบาลกล่าวคือกระทรวงทบวงกรมกองเทศบาลและท้องถิ่นซึ่งเป็นฝ่ายจัดให้มี สถานทเี่ ครื่องอานวยความสะดวกและการบริการนันทนาการให้แกป่ ระชาชน 3.บุคคลแต่ละคนย่อมมีความรับผิดชอบในทางจิตใจหรือทางศีลธรรมในอันที่จะให้การสนบั สนุนและความ ชว่ ยเหลือตา่ งๆ โดยผ่านทางองค์การอาสาสมัครท้ังหลายอันเป็นมลู ฐานของการนันทนาการในประเทศของเรา ความรับผดิ ชอบดังกล่าวน้ยี ่อมมีความสาคัญไม่นอ้ ยไปกว่าความรับผดิ ชอบตามกฎหมายในอันทจ่ี ะชว่ ยจรรโลง นันทนาการของรฐั เพอื่ ประชาชน 4.บุคคลแต่ละคนย่อมมีความรับผิดชอบท่ีจะอุทิศเวลาว่างของตนเองเพ่ือใช้บริการ ต่อชุมชนและการเข้า ร่วมลักษณะนี้เขาย่อมได้ความพึงพอใจหรือความสุขใจซ่ึงเป็นรากฐานของนันทนาการอยู่ในตัวเป็นเคร่ืองตอบ แทนเพราะบุคคลท่ีรักและชอบอุทิศเวลาว่างของตนเพ่ือชว่ ยเหลือบริการแก่ชุมชนที่จะทาเมื่อเขาไดก้ ระทาแล้ว จะทาให้มีความสุขมีความพอใจก็นับว่าเป็นกิจกรรมนันทนาการของเขาท่ีมีความรับผิดชอบท่ีต้องทาในฐานะ เป็นบคุ คลในสงั คมเสรปี ระชาธปิ ไตยทง้ั นร้ี วมถึงผู้บริการอาสาสมคั รทุกชนดิ
3 1.3 ขอบขา่ ยลกั ษณะของนนั ทนาการ 1.นันทนาการเป็นกิจกรรมท่ีสมัครใจ (Volunteer) คือการเข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการของแต่ละบุคคล จะตอ้ งมีความสมัครใจเตม็ ใจยนิ ดโี ดยไมม่ กี ารบังคับเป็นกจิ กรรมท่เี กิดจากความสนใจของตวั บคุ คลนั้น ๆ 2.นันทนาการเกิดข้ึนใน เวลาว่าง (Leisure Time) คือการใช้เวลาว่างหลังจากประกอบกิจวัตรประจาวัน เช่นว่างจากการทางานการเรียนหนา้ ท่ีประจาหรือการทากิจสว่ นตัวเชน่ การเดินทางการรับประทานอาหารการ เข้านอนและการเข้าหอ้ งน้า 3.นนั ทนาการกอ่ ใหเ้ กิดความ สนกุ สนาน (Enjoyment) ผเู้ ข้าร่วมกิจกรรมจะได้รบั ความสนุกสนานมีความ พงึ พอใจในการเข้าร่วมและไดร้ บั ผลโดยตรงความสนุกสนานทาให้เกิดความสุขและยงั เป็นการคลายเครียดไดด้ ี 4.นันทนาการเป็นกิจกรรมท่ีมีการกระทา (Activities ) คือมีการกระทาโดยใช้ร่างกายกล้ามเนื้อหรือ อวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่งประกอบกิจกรรมกิจกรรมต่าง ๆ มีรูปแบบลักษณะท่ีแตกต่างกันออกไปเช่นการเล่น กีฬางานศิลปหัตถกรรมงานอดิเรกต้องมีการกระทาตลอดจะไม่อยู่น่ิงเฉยการ นอนหลับไม่ถือว่าเป็นกิจกรรม นันทนาการ 5.นันทนาการก่อให้เกิดวิสัยทัศน์กว้างไกล (Broad in Concept) นันทนาการมีกิจกรรมหลายอย่างมี ขอบเขตกว้างขวางรปู แบบของนันทนาการมีใหเ้ ลือกตามความต้องการในทุกเพศทุกวยั นับตั้งแต่เดก็ วยั รุ่นและ วยั ผใู้ หญท่ กุ คนสามารถเลอื กได้ตามความพอใจในแตล่ ะกิจกรรม 6.นันทนาการชว่ ยสง่ เสรมิ ความสขุ สดชนื่ มีการเปลย่ี นแปลงในทางท่ีดแี ละก้าวหนา้ (Refreshing Change of Page) กิจกรรมส่วนใหญ่จะทาให้ผรู้ ่วม มีความกระปร้ีกระเปร่าสดช่ืนและพัฒนาไปในสง่ิ ที่ดีงามไม่หมกมุ่น อยู่กบั อบายมขุ สามารถยืดหย่นุ ตามความต้องการ 7.นันทนาการเป็นส่ิงที่มีคุณค่าและสร้าง สรรค์ (Should be Wholesane and Constructive) นันทนาการเป็นส่ิงท่ีมีคุณค่าและมีความสาคัญต่อ ตนเองและสังคมกิจกรรมนันทนาการนอกจากจะทาให้มี ความสุขสบายใจแลว้ ยังมีส่วนในการสร้างสรรค์สง่ิ ท่ดี งี ามด้วย 8.นันทนาการเป็นสิ่งท่ีสังคมยอมรับและต้องการ (Should be Socially Acceptable) กิจกรรมหลาย อย่างท่ีเข้าร่วมชอบและสนใจกระทา แต่ถ้าสังคมไม่ยอมรับหรือปฏเิ สธก็ไม่ถือว่าเป็นนันทนาการเชน่ การแสดง ของเดก็ วยั รุ่นในเชิงกา้ วร้าวมว่ั สมุ ในการบันเทิงเปน็ ตน้ ควรพจิ ารณาถงึ การยอมรบั ของสงั คมด้วย 9.นันทนาการเป็นกิจกรรมท่ีให้ประโยชน์ทั้งทางด้านร่างกายจิตใจและสร้างเสริม คุณธรรมจริยธรรม (Contribute to the Physical Mental and Moral Welfare of the Participant)
4 1.4 ประโยชนแ์ ละคณุ คา่ ของนนั ทนาการ 1.ชว่ ยให้บุคคลครอบครวั ชมุ ชนไดร้ ับความสนุกสนานมคี วามสุขในชีวติ และใช้เวลาว่างใหเ้ กิดประโยชน์ 2.ชว่ ยให้บุคคลพฒั นาสขุ ภาพจิตและสมรรถภาพทางกายท่ดี ีเกิดความสมดุลของชีวติ 3.ชว่ ยป้องกันปัญหาอาชยากรรมและพฤติกรรมเบี่ยงเบนท่ีไม่พงึ ประสงค์ของเยาวชนและเดก็ 4.สง่ เสริมความเป็นพลเมืองดีการทชี่ ุมชนได้มโี อกาสใช้เวลาว่างให้เกดิ ประโยชน์ในกจิ กรรมนันทนาการจะ ได้เรียนรู้ในเรื่องของหน้าที่ความรับผิดชอบคุณค่าทางสังคมเสรีประชาธิปไตยลดความเห็น แก่ตัวสร้างคุณค่า จริยธรรมความมีน้าใจการให้บริการรู้จักการเสียสละเพ่ือช่วยเหลือสังคมซึ่งถือว่า เป็นกิจกรรมของความเป็น พลเมืองดีของประเทศชาติ 5.ส่งเสริมการพัฒนาอารมณ์สุขกิจกรรมนันทนาการช่วยพัฒนาอารมณ์สุขรวมท้ังความสนุกสนานและ ความสขุ สงบลดความเครยี ด ความวิตกกงั วลทาให้มบี ุคลกิ ภาพและอารมณ์ท่ีดี 6.ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมของชาติกิจกรรมนันทนาการเช่นการละเล่นพ้ืนเมืองวิถีชีวิตประเพณีพื้นบ้าน ตลอดจนแหล่งนันทนาการประเภทอุทยานประวัติศาสตร์โบราณสถานและโบราณวัตถุช่วยส่งเสริมศิลปะและ วัฒนธรรมของชาตสิ ่งเสรมิ การเรยี นรู้ทัศนคติและความ ซาบซ้ึงอันจะก่อให้เกิดการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมและ เอกลกั ษณข์ องชาติต่อไป 7.สง่ เสรมิ การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติกิจกรรมนันทนาการกลางแจง้ และนอกเมือง ไดแ้ ก่ กจิ กรรมการ อยู่ค่ายพักแรมเดินป่าศึกษาธรรมชาติไต่เขาเป็นต้นกิจกรรมเหล่าน้ีช่วยสอนให้ผู้เข้าร่วมรู้จักคุณค่าของ ธรรมชาติซง่ึ เป็นประโยชนต์ ่อชุมชนและประชาชาติ รปู ที่ 1.3 กิจกรรมนนั ทนาการ
5 1.5 ปรชั ญาและหลักการของนนั ทนาการ ปรัชญาและหลักของนันทนาการคือเพ่ือสร้างภาวะสมดุลแห่งการดาเนินชีวิตระหว่างการปฏิบัติงานกับ เวลาว่างจากการปฏิบัติงานมนุษย์ย่อมมีหน้าที่ต้องกระทาตามความจาเป็นในการดารงชีวิตการละเลยหน้าที่ แสดงถึงความเกียจคร้านและขาด คุณภาพชีวิตการปฏิบัติงานอาจนามาซ่ึงความเคร่งเครียดวิตกกังวลอันเป็น สิ่งบั่นทอนจิตใจและร่างกายส่ิงที่ตรงกันข้ามกับงานคือการกระทาสิ่งท่ีผ่อนคลายหรือการพักผ่อนการกระทา กิจกรรมเพ่ือลดหรือระบายความเคร่งเครียดน้ันต้องอานวยประโยชน์อย่างแท้จริง ท่ีจะทาให้ร่างกายสดชื่น อารมณ์แจ่มใสเบิกบานเพลิดเพลินสนุกสนานร่าเริงมีชีวิตชีวา แต่ถ้าการกระทากิจกรรมนั้นไม่เป็นประโยชน์ก็ จะกลายเป็นดาบสองคมสร้างปัญหาให้แก่ตนเองครอบครัวสังคมและประเทศชาติได้นันทนาการจึงเป็น พฤติกรรมของมนุษย์ที่แสดงออกด้วยการทากิจกรรมต่าง ๆ ทั้งแบบหลากหลายกิจกรรมและให้ความสน ใจ กิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่ง เป็นพิเศษในยามว่างคุณค่าของนันทนาการก่อให้เกิดประโยชน์หลายประการท้ังต่อ ตนเองครอบครวั และสังคมเป็นพลเมอื งที่มีประสิทธิภาพต่อประเทศชาติกจิ กรรมนันทนาการอาจเป็นได้ทั้งด้าน กีฬาดนตรที าสวนเขียนหนงั สอื วาดภาพระบายสีจักสานงานปนั้ เปน็ ตน้ ๆ จาก หลักการทางนันทนาการดังกล่าวบุคคลสาคัญที่เป็นแบบอย่างท่ีดีงามควรแก่การยกย่องเทิดทูนคือ รัชกาลท่ี 9 พระองค์มีพระราชดารัสพระราชทานแก่คณะกรรมการของสมาคมดนตรีแห่งประเทศไทยในพระ บรมราชูปถัมภ์ ความวา่ “... ดนตรีน้ีเป็นศิลปะและนับวา่ เป็นกิจกรรมท่ีกวา้ งขวางมากดนตรีน้ีพาดพิงถึงชีวติ ประชาชนท่ัวไปอย่าง กวา้ งขวาง ... การเลน่ ดนตรแี ละการฟังดนตรีประชาชนท่ีได้รบั ความบนั เทิงและได้ผ่อนอารมณ์ให้มจี ิตใจร่าเริง สามารถที่ จะมกี าลงั ใจอย่างสงู ...” การพลศึกษาสุขศึกษาและนันทนาการเป็นศาสตร์ท่ีช่วยดูแลป้องกันเสริมสร้างรักษาและพัฒนาสุขภาพ ของมนุษย์โดยองค์รวม (Holistic) เพ่ือให้มีคุณภาพชีวิตดีขึ้นจะได้อยู่อย่างเป็นสุขอยู่ดีกินดี (Well being) ไป จนตลอดชีวิตการประพฤติปฏิบัติตนในสิง่ ท่ีดีงามสมถะไม่ฟุ่มเฟือยอย่างรจู้ ักคาว่า“ พอ” ทั้งพออยู่พอกินพอดี และพอเพียงด้วยชีวิตท่ีเรียบง่ายและลงมือปฏิบัติอย่างผู้รู้จริงจึงเป็นพฤติกรรมท่ีสนองพระราชดาริ โดยแท้ซึ่ง ไม่เพียงพอ แต่ก่อสุขให้เกิดแก่ตนเองเท่าน้ันยังส่งผลไปถึงสังคมและประเทศชาติอย่างย่ังยืน (Sustainable) อีกด้วยและยังเป็นส่งิ ท่ีแสดงถงึ ความสานึกในพระมหากรุณาธิคณุ เพื่อเจริญรอยตามพระยคุ ลบาท “พอ่ ของแผ่นดนิ ” 1.6 การเขา้ รว่ มกจิ กรรมการออกกรรมกายและกิจกรรมนนั ทนาการ 1.6.1 ความหมายของคาที่เก่ยี วขอ้ ง เพ่ือให้นักเรียนเข้าใจคาต่าง ๆ ท่ีปรากฏในเนื้อหาเกี่ยวกับบทบาทและมารยาทในการเข้าร่วม กจิ กรรมการออกกาลังกายและกิจกรรมนนั ทนาการดีข้นึ ควรทาความเข้าใจความหมายของคาต่าง ๆ ดังนี้ กิจกรรมการ ออกกาลังกายหมายถึงรูปแบบของกิจกรรมต่าง ๆ ท่ีส่งผลให้ร่างกายมีการเคลื่อนไหว เพือ่ กระตุน้ ใหส้ ว่ นตา่ ง ๆ ของรา่ งกายทางานมากกว่าภาวะปกติ
6 กิจกรรมการออกกาลังกายมีหลายรูปแบบทั้งที่เป็นกิจกรรมกีฬากิจกรรมกายบริหารหรือกิจกรรม นันทนาการ รปู ท่ี 1.6 กิจกรรมการออกกาลังกาย กิจกรรมนันทนาการหมายถึงกิจกรรมต่าง ๆ ท่ีนามาใช้ปฏิบัติในเวลาโดยความสมัครใจและอยู่ นอกเหนือจากกิจกรรมที่จัดเป็นประจาเมื่อปฏิบัติแล้วมีประโยชน์ต่อร่างกายและจิตใจไม่ส่งผลกระทบหรือ สร้างความเสียหายตอ่ บคุ คลอ่ืนหรือสภาพแวดลอ้ ม กิจกรรมนันทนาการหากวิเคราะห์จากลักษณะของการปฏิบัติจะมี 2 ลักษณะสาคัญคือลักษณะที่ผู้ ปฏิบัตเิ ข้ารว่ มปฏิบัตกิ ิจกรรมและลักษณะทีเ่ ป็นผชู้ ม แตไ่ มว่ ่าจะเป็นลักษณะใดก็ตามหากแบ่งตามรปู แบบของ กิจกรรมแล้วจะแบ่งออกได้หลายรูปแบบเป็นต้นว่ารูปแบบของกิจกรรมกีฬาหรือเกมการละ เล่นรูปแบบของ กิจกรรมศิลปะและหัตถกรรมต่าง ๆ รูปแบบของดนตรีนาฏศิลปแ์ ละการแสดงบันเทิงรูปแบบของกิจกรรมงาน อดิเรกต่าง ๆ รูปแบบของกิจกรรม ทางภาษารูปแบบของกิจกรรมนอกสถานที่ทัศนศึกษาและการท่องเท่ียว รูปแบบของกิจกรรมทางสังคมวัฒนธรรมและประเพณีหรือรูปแบบของกิจกรรมอาสาส มัครและบาเพ็ญ ประโยชน์ บทบาท หมายถึง ลักษณะเฉพาะของการทาหน้าท่ีของบุคคลท่ีกาหนดไว้ในกิจกรรมการ ออกกาลัง กายหรอื นันทนาการ มารยาท หมายถึง ลักษณะการแสดงออกท่ีเหมาะสมของบุคคลที่ควรปฏิบัติในกิจกรรมการออก กาลงั กายหรอื นนั ทนาการ ผู้นากิจกรรม หมายถึง ผู้ดูแลหรือควบคุมการปฏิบัติกิจกรรมตลอดจนสาธิตรูปแบบขั้นตอนในการ ปฏิบตั ิเพ่อื นาผ้เู ข้าร่วมกจิ กรรมได้ปฏิบตั ิตามกาหนด
7 ผู้ร่วมกิจกรรม หมายถึง ผู้เข้าร่วมกิจกรรมในบทบาทของผู้ปฏิบัติตามรูปแบบท่ีผู้นากิจกรรมและ รวมไปถึงผู้เข้ารว่ มที่จดั อยู่ในบทบาทของผชู้ มดว้ ย จากความหมายของคาตา่ ง ๆ ทีก่ ล่าวมาเมอื่ นามาประมวลเป็นความหมายของบทบาทและมารยาท ในการเข้าร่วมกจิ กรรมการออกกาลงั กายและนนั ทนาการแล้วจะได้ความหมายโดยภาพรวม ดงั น้ี “ บทบาทและมารยาทในการเข้าร่วมกิจกรร มการออกกาลังกายและกิจกรรมนันทนาการหมายถึง การแสดงออกของบุคคลในบทบาทที่ถูกต้องเหมาะสมในการเข้าร่วมกจิ กรรมการออกกาลังกาย (ซงึ่ ในเรอ่ื งของ การแสดงออกและบทบาทที่ถกู ต้องเหมาะสมจะได้นาเสนอในรายละเอียดและนนั ทนาการ” 1.6.2 ความสาคัญของกจิ กรรมการออกกาลงั กายและกจิ กรรมนันทนาการ กิจกรรมการออกกาลังกายและกิจกรรมนันทนาการมีรูปแบบของกิจกรรมแตกต่างกันบ้างในบาง กิจกรรมดังท่ีไดก้ ล่าวมาแลว้ แต่หากวิเคราะหค์ วามสาคญั ของกิจกรรมดงั กล่าวจะสรุปไดด้ งั น้ี 1.ช่วยส่งเสริมประสิทธิภาพทางกายและทางจิตปัจจุบันสภาพความเป็นอยู่และวิถีชีวิตของมนุษย์ไม่ ว่าจะเป็นชุมชนเมืองหรือชุมชนชนบทต่างมีสภาพท่ีเปล่ียนแปลงไปจากเดิม ต้องใช้แรงกายและแรงสมองเป็น องค์ประกอบสาคัญในการทางานปัจจุบันความเจริญก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีเพิ่มข้ึนส่งผลให้บุคคล ปรับเปล่ียนวิธีการทางานจากการใช้แรงงานเครื่องจักรมาแทนแรงงานคนแรงสมองถูกปรับเปลี่ยน และลด บทบาทมาสู่การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการประมวลผลซ่ึงหากพิจารณาโดยรวมอาจพบว่าการปฏิบัติดังกล่าว เป็นสิ่งท่ีและมีความถูกต้อง แต่หากพิจารณาโดยละเอียดถึงความต่อเน่ืองของภาวะสุขภาพที่เกิดข้ึนแล้วกลับ พบว่าการลดใช้แรงงานทั้งสองส่วนจะส่งผลต่อประสิทธิภาพของทางกายและทางจิตสมอง) ให้ลดตามไปด้วย ซึ่งหากร่างกายลดประสทิ ธภิ าพลง ย่อมส่งผลให้สภาวะทางด้านร่างกายเกิดปัญหาหรือเส่ือมประสทิ ธิภาพและ ยิ่งหากสภาวะทางด้านสมองลดประสิทธิภาพลงด้วยแล้วย่อมจะส่งผลให้บุคคลดังกล่าวเกิดภาวะปัญหา ทางด้านความคิดความจาและนามาสู่ปัญหาใน การทางานของสมองได้ดังน้ันกิจกรรมการออกกาลังกายและ กิจกรรมนันทนาการซ่ึงรูปแบบของกิจกรรมสว่ นใหญ่เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้มีการเคล่ือนไหวรวมทั้งมีการใช้ ทักษะทางสมองนันทนาการเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตท่ีต้องใช้กระบวนการในการคิดและการสร้างสรรค์ จนิ ตนาการในขณะปฏบิ ัตกิ ิจกรรมจึงเป็นกิจกรรมที่มีความสาคัญและมีความจาเป็นท่ีจะนามาใช้ในการสง่ เสริม และปรับปรุงประสิทธภิ าพ 2.ช่วยส่งเสริมความสัมพันธ์ ของบุคคลในสังคมและชุมชนภาวะทางด้านเศรษฐกิจในปัจจุบันเป็น ปัจจัยสาคัญท่ีส่งผลให้แต่ละบุคคลมีความกระตือรือร้นและมุ่งสนใจในการประกอบอาชีพของตน เองบางครั้ง อาจส่งผลให้ขาดความสนใจต่อสมาชิกในสังคมชุมชนท่ีตนอาศัย ซึ่งลักษณะดังกล่าวถือว่ามีความแตกต่างไป จากสภาพทางวัฒนธรรมของไทยที่ผ่านมาและมักพบว่าหากชุมชนใดก็ตามมีสภาพของความสัมพันธ์ที่เกิด ข้ึนอยู่ในลักษณะดังกล่าวความสัมพันธ์ของผู้คนที่อาศยั อยู่ใน ชุมชนนั้นจะขาดความสัมพันธ์ที่ดตี ่อกันและอาจ นามาสู่ปัญหาทางสังคมในชุมชนได้ปัจจุบันหน่วยงานหลายหน่วยงานท้ังในภาครัฐและเอกชนมีการนารูปแบบ
8 ของกิจกรรมการออกกาลงั กายและกิจกรรมนันทนาการมาใช้สง่ เสริมและ สร้างความสัมพันธร์ ะหวา่ งบุคคลใน สงั คมและชุมชนกับหน่วยงานซง่ึ ถือวา่ การนาเอากิจกรรมดงั กล่าวมาใช้เป็นแนวทางสาคญั ในการส่งเสริมสภาพ ทางสงั คมใหด้ ีข้ึนอย่างเหน็ ได้ชัด รปู ที่ 1.7 สง่ เสรมิ ความสมั พนั ธ์ของบคุ คลในสงั คมและชุมชน 3.ช่วยป้องกันและลดปัญหาอาชญากรรมตลอดจนพฤติกรรมเสี่ยงท่ีไม่พึงประสงค์ของบุคคลปัจจุบัน ปัญหาทางสงั คมมหี ลายรูปแบบสว่ นหนงึ่ พบว่าเกิดจากการทบ่ี ุคคลไมร่ ูจ้ กั ใชเ้ วลาว่างหรือเวลาที่เหลืออยู่ให้เกิด ประโยชนต์ ่อตนเองและผู้อน่ื ด้วยความถูกต้องเหมาะสมโดยเฉพาะอย่างยิ่งในวัยรุ่นซ่ึงเป็นวัยท่ีมีพลังและความ ต้องการท่ีจะใช้พลังอยู่ในตัวเองหากขาดการดูแลหรือคาแนะนาท่ีดีการใช้พลังงานหรือแสดงพฤติกรรม อาจมี ลักษณะของพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ข้ึนในสังคมดังน้ันการใช้กิจกรรมการออกกาลังกายและกิจกรรม นนั ทนาการทมี่ ีผดู้ แู ลหรือใหค้ าแนะนาทด่ี จี ึงเป็นกจิ กรรมสาคญั ในการนามาใช้กับวัยร่นุ หรือใชเ้ ป็นกจิ กรรมทาง สงั คมท่ี ช่วยป้องกนั และลดปัญหาอาชญากรรมตลอดจนพฤตกิ รรมเสี่ยงที่ไม่พงึ ประสงค์ของบุคคลในสังคม 4.ช่วยส่งเสริมและสืบทอดค่านิยมในด้านวัฒนธรรมและประเพณีที่ดีงามของสังคมกิจกรรมการออก กาลังกายและกิจกรรมนันทนาการโดยเฉพาะเกมและการละเล่นพ้ืนเมืองนอกจาก จะเป็นกิจกรรมที่ช่วย ส่งเสริมความสัมพันธ์ท่ีดีของสมาชิกในชุมชนได้อย่างดีแล้วยังพบว่ารูปแบบกิจกรรมที่ถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่นถือ วา่ เป็นการสง่ เสริมหรอื สบื ทอดดา้ นวัฒนธรรมประเพณที ดี่ งี ามของสังคมให้คงไว้ได้ชัดเจนอย่างหน่ึง 5.ช่วยป้องกนั ปญั หาการเกดิ โรคและการฟื้นฟสู ภาพของผ้ปู ว่ ยปัจจุบนั ในทางการแพทย์ยอมรบั ว่าโรค ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นกับมนุษย์มีหลายโรคเป็นปัญหาท่ีสามารถป้องกันหรือชะลอโอกาสที่จะเกิดขึ้นกับบุคคลได้เมือ่ เกดิ ขน้ึ แล้วสามารถรักษาหรือฟื้นฟูสภาพของผู้ป่วยให้ดขี ึ้นไดโ้ ดยใช้วธิ ีการออกกาลังกายหรือให้ผู้ปว่ ยเข้าร่วม ปฏิบตั ิกจิ กรรมนันทนาการท่ีมคี วามเหมาะสมต่อการป้องกันโรคต่าง ๆ รปู ท่ี 1.8 ฟนื้ ฟูสภาพจติ ใจและรา่ งกายของผปู้ ว่ ย
9 1.6.3 มารยาททีด่ ีในการเข้าร่วมกิจกรรมการออกกาลังกายและกิจกรรมนนั ทนาการ มารยาทท่ีดีเป็นพฤติกรรมสาคัญท่ีผู้ร่วมกิจกรรมควรปฏิบัติไม่ว่าจะอยู่ในบทบาทของการเป็นผู้นา กจิ กรรมหรอื ผู้เข้าร่วมในกิจกรรมตอ้ งคานึงถึงและให้ความสาคัญโดยมีแนวทางในการปฏิบตั ิดงั นี้ 1.ต้องแสดงออกกับสมาชิก ท่ีเข้าร่วมกิจกรรมด้วยความสุภาพเรียบร้อยและเหมาะสมกับวัฒนธรรม ไทยเช่นการให้เกียรติผู้ที่มีอาวุโสกว่าหรือผู้ท่ีให้คาแนะนาและดูแลในการปฏิบัติที่ถูกต้องรวมถึงการใช้ถ้อยคา และวาจาท่ีสภุ าพตอ่ สมาชกิ ผ้รู ว่ ม กิจกรรม 2.ต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบตลอดจนข้อตกลงที่ได้กาหนดไว้อย่างเคร่งครัดเช่นกฎระเบียบท่ี เกี่ยวข้องกับเร่ืองการแต่งกายกฎระเบียบการใช้อุปกรณ์หรือเคร่ืองอานวยความสะดวกในการประกอบ กจิ กรรมกฎระเบยี บเรอื่ งช่วงเวลาในการ เขา้ ร่วมกจิ กรรม 3.ต้องช่วยกันดูแลบารุงรักษาเกี่ยวกับอุปกรณ์สถานท่ีและส่ิงของเคร่ืองใช้ท่ีนามาประกอบกิจกรรม การออกกาลังกายและกิจกรรมนันทนาการให้อยู่ในสภาพที่พร้อมจะนามาใช้ประกอบ 4.ต้องปฏิบตั ิหรือแสดงออกให้ถูก ต้องตามบทบาทของตนเองเหมาะสมกับแต่ละสถานการณไ์ ม่ว่าจะ อยู่ในบทบาทของผู้นากิจกรรมหรือบทบาทผู้ร่วมกิจกรรม 1.7 วตั ถุประสงค์ของกจิ กรรมนนั ทนาการ มีรายละเอียดดงั น้ี 1.เพ่ือพัฒนาอารมณ์กิจกรรมนันทนาการเป็นกระบวนการเสริมสร้างและพัฒนาอารมณ์ของบุคคลและ ชุมชนโดยอาศัยกิจกรรมต่าง ๆ เปน็ สื่อกลางในช่วงเวลาว่างหรือเวลาอสิ ระการเข้าร่วมกิจกรรมต้องเป็นไปด้วย ความสมัครใจและกิจกรรมนั้นจะต้องเป็นกิจกรรมท่ีสังคมยอมรับสามารถก่อให้เกิดความสุ ขสนุกสนาน เพลิดเพลิน 2.เพ่ือเสริมสร้างประสบการณ์ใหม่กิจกรรมนันทนาการช่วยสร้างประสบการณ์ใหม่ให้แก่ผู้ร่วมกิจกรรม ทั้งนี้เพราะความหลากหลายของกิจกรรมเช่นการท่องเท่ียวทัศนศึกษาการเสริมสร้างประสบการณ์ใหม่ใน สถานที่และทรัพยากรการท่องเท่ยี วขน้ึ อยู่กับประสบการณ์และพ้ืนฐานเดมิ ของบุคคลหรือชมุ ชน 3.เพื่อเพิ่มพูนประสบการณ์กิจกรรมสร้างเสริมประสบการณ์หรือกิจกรรมบางอย่างที่เคยเข้าร่วมมาแล้ว แตเ่ ข้าร่วมตอ้ งการสรา้ งความประทบั ใจหรือความทรงจาเดิมอีกครั้งกจ็ ะเปน็ การเพม่ิ พูนประสบการณ์ทงั้ ส้ิน 4.เพื่อส่งเสริมการมีส่วนรว่ มกจิ กรรมนันทนาการส่งเสริมการมีส่วนรว่ มของบุคคลและชุมชนฝึกให้มโี อกาส เขา้ ร่วมกจิ กรรมของชุมชนด้วยความสนใจและสมัครใจส่งเสริมการทางานรว่ มกันเป็นทีมเปน็ สว่ นหนึ่งของกลุ่ม รจู้ กั สทิ ธแิ ละหนา้ ทต่ี ลอดจนความรบั ผดิ ชอบต่อตนเองและผอู้ ่นื ในฐานะองค์กรของสงั คม 5.เพื่อส่งเสริมการแสดงออกกิจกรรมนันทนาการหลายประเภทเป็นการส่งเสริมให้บุคคลได้แสดงออก ทางดา้ นความรูส้ กึ ความคิดสร้างสรรคก์ ารระบายอารมณก์ ารเลียนแบบสถานการณ์หรอื พฤตกิ รรมตา่ ง ๆ ทาให้ สามารถเรียน รแู้ ละร้จู ักตนเองมากขน้ึ สร้างความมนั่ ใจความเข้าใจและการควบคมุ ตนเอง
10 6.เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตกิจกรรมนันทนาการเป็นกิจกรรมท่ีช่วยพัฒนาอารมณ์ความสุขความสามารถ ของบุคคลสุขภาพและสมรรถภาพทางกายและจิตใจความสมดุลทางกายและจิตสิ่งเหล่า น้ีจะช่วยพัฒนา คุณภาพชีวิตของบุคคลในสังคมทุกเพศและวัยนอกจากนี้ยังช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตของกลุ่มประชากรทุกกลมุ่ ดว้ ย 7.เพ่ือส่งเสริมความเป็นมนุษยชาติกิจกรรมนันทนาการช่วยส่งเสริมพฤติกรรมและพัฒนาความเจริญงอก งามของบุคคลท้ัง ทางกายอารมณ์สังคมสติปัญญาและจิตใจของทุกคนทุกเพศทุกวัยตามความสนใจและความ ต้องการของบุคคลเช่นการจัดกิจกรรมนันทนาการนานาชาติคือมหกรรมกีฬาโอลิมปิกซ่ึงช่วยส่งเสริมความ เข้าใจอันดีและมติ รภาพของมวลมนุษยชาติ 8.เพื่อส่งเสริมความเป็นพลเมืองดีกิจกรรมนันทนาการเป็นการให้การศึกษาแก่เยาวชนในด้านการ ช่วยเหลือตนเองรู้จักสิทธ์ิหน้าท่ีความรับผิดชอบระเบียบวินัยและการปรับตัวให้เข้ากับกลุ่มและสังคมได้เป็น อย่างดีเป็นการพัฒนาบทบาทของการเป็นพลเมืองดีไม่เห็นแก่ตัวช่วยเหลือสังคมส่วนรวมเป็นสาคัญส่งผลให้ สังคมอบอ่นุ และเพม่ิ พนู คณุ ภาพชวี ิต 1.8 กจิ กรรมนันทนาการ 1.นันทนาการประเภทการฝีมือและศิลปหัตถกรรม (Arts and Crafts in Recreation) การประดิษฐ์ส่ิง ต่าง ๆ ด้วยมอื และกิจกรรมประเภทศลิ ปะท่ที าขึน้ ด้วยมือในเวลาวา่ งและไม่เป็นกิจกรรมประเภทอาชีพถอื ได้ว่า เป็นกจิ กรรมนนั ทนาการประเภทฝีมอื และ ศิลปหัตถกรรมทง้ั สิ้นเชน่ การป้นั การสลกั การเขียนจักสานเยบ็ ปักถัก ร้อยการประดิษฐ์เครือ่ งใช้หรอื วสั ดเุ หลือใช้เปน็ ตน้ 2.นันทนาการประเภทเกมกีฬา-กรีฑา (Athletics in Recreation) กิจกรรมประที่นิยมอย่างแพร่หลาย และเปน็ กจิ กรรมนันทนาการที่ให้ประโยชน์มากทสี่ ุดแกผ่ เู้ ข้าร่วมกจิ กรรม นันทนาการประเภทเกมกีฬา-กรีฑาแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ (1) กีฬากลางแจ้ง ( Outdoor Games) กิจกรรมประเภทนี้ ได้แก่ เกม-กอล์ฟเทนนิสและกิจกรรมที่เล่นกลางแจ้งท้ังหลาย (2) กีฬาในร่ม (Indoor Games) ไดแ้ ก่ กจิ กรรมท่ีเล่นในห้องนนั ทนาการโรงยมิ เนเซียมเขา้ วอลเลย์บอลบาสเกตบอลในร่มโบว์ล่งิ จนถึง กจิ กรรมเบา ๆ เช่นหมากรุกหมากฮอสเทเบิล เทนนสิ 3. นันทนาการประเภทดนตรีและร้องเพลง (Music in Recreation) ดนตรี (Music) ได้ชื่อว่าเป็น ภาษาสากลเป็นสื่อกลางให้ทกุ คนได้เขา้ ใจกันและกนั เป็นเคร่ืองปลอบประโลมใจให้เพลดิ เพลินสนุกสนานไปกับ เสียงดนตรีน้ันท้ังน้ีรวมถึงการร้องเพลงไม่ ว่าจะเป็นนักร้องเด่ียวหรือร้องหมู่ก็ตามรวมถึงการร้องเพลงแบบคา ราโอเกะ Karaoke) ดนตรเี ป็นสง่ิ จาเป็นสาหรบั กิจกรรมนนั ทนาการงานทม่ี ีกิจกรรมบนั เทงิ ต้องมดี นตรี 4. นันทนาการประเภทละครภาพยนตร์ (Drama in Recreation) การแสดงต่าง ๆ ท่ี เป็นไปในแบบของ การละครจะบนเวทีหรือไม่ก็ตามหากผู้เล่นผู้ชมได้รับความสนุกเพลิดเพลินถือว่าเ ป็นกิจกรรมนันทนาการเชน่ ละครภาพยนตร์การแสดงทางโทรทศั นว์ ิทยุโขนลเิ กหนังตะลงุ หมอลาเปน็ ต้น
11 5. นันทนาการในงานอดิเรก (Hobbies in Recreation) งานอดิเรกเป็นกิจกรรมนันทนาการท่ีสาคัญอีก แขนงหนึ่งซึ่งท่ีช่วยให้การดาเนินชวี ิตประจาวันของผู้ทากิจกรรมมีความสุขเพลิดเพลินเด็กต้องได้รับการฝึกหดั ใหป้ ระกอบกจิ กรรมตงั้ แตใ่ นโรง เรยี นและให้ทางบา้ นช่วยสง่ เสริมสนับสนุน งานอดิเรกแบง่ เป็น 3 ประเภทคอื (1) ประเภทเก็บสะสม (Collecting Hobbies) การใช้เวลาว่างเพ่ือสะสมสิ่งของต่าง ๆ เช่นแสตมป์ต๋ัว รถเมล์บตั รโทรศัพท์เหรยี ญธนบตั รพระเครอื่ งรปู ถ่ายสติกเกอร์ เปน็ ต้น (2) ประเภทประดษิ ฐ์คิดสร้างสรรค์ (Creative Hobbies or Making Things) นอกจากการเกบ็ สะสมแล้ว ยังใช้เวลาในการประกอบงานอดิเรกโดยการทาการบ้านรดน้าต้นไม้ปลูกต้นไม้การวาดเขียนวาดรูปวิวและรูป ประเภทตา่ ง ๆ ทใี่ ช้ท้ัง สีนา้ และสีนา้ มันงานประดิษฐจ์ ากไม้ดนิ เหนียวผ้าพลาสตกิ แก้วสบ่โู ลหะเปน็ ตน้ (3) ประเภทศึกษา (Learning about Things) ตามความสนใจเช่นการศึกษาเร่ืองพืชสัตว์ดวงดาว คอมพวิ เตอร์เปน็ ตน้ 6.นันทนาการประเภทกิจกรรมทางสังคม (Social Recreation) กิจกรรมนันทนาการทางสังคมน้ี ได้แก่ กิจกรรมนนั ทนาการหลายประเภทท่ีกลุ่มคนได้รว่ มกนั ประกอบขึน้ โดยมีจุดมุ่งหมายอยา่ งเดียวคอื ร่วมประกอบ กิจกรรมนันทนาการชนิดน้ันเพื่อการเข้าสังคมเช่นการรับประทานอาหารสังสรรค์เลี้ยงรุ่นชมรมสมาคมสโมสร ต่างๆ รูปที่ 1.10 งานเล้ยี งรุน่ 7.นนั ทนาการประเภทเตน้ รา (Dance Recreation) กิจกรรมทใ่ี ช้จังหวะต่าง ๆ ทางดนตรีเปน็ กิจกรรมที่ สร้างความสนกุ สนานทาใหเ้ พลดิ เพลนิ เพมิ่ คุณค่าแห่งชีวิตข้ึนกิจกรรมนนั ทนาการด้านน้ีมีหลายอยา่ ง แตท่ ั้งนี้ ต้องอาศยั ดนตรีและการรอบรู้เรื่องเพลงด้วยเชน่ การลีลาศการราไทยการเตน้ ราพื้นเมอื งเป็นต้น
12 8.นนั ทนาการนอกสถานท่หี รอื นอกเมือง (Outdoor Recreation) เนือ่ งจากในเมืองมีประชากรหนาแน่นที่ พักผ่อนหย่อนใจไม่เพียงพอฉะนั้นกิจกรรมกลางแจ้งนอกสถานท่ีชมภูมิประเทศศึกษาธรรมชาติทาให้มี ความรสู้ ึกดขี ึ้นนอกจากนีย้ ังเปน็ การเพิ่มความรู้อีกดว้ ยกิจกรรมประเภทนี้ ได้แก่ การปิกนิกเท่ยี วสวนสาธารณะ ชมสวนสัตวช์ มโบราณสถานเล่นนา้ ตกเดนิ ปา่ ขจ่ี กั รยานเสือภูเขาพายเรือลอ่ งเรอื เป็นตน้ 9.นนั ทนาการประเภทการพดู เขยี นและอา่ น (Speaking, Writing, and Reading in Recreation) การพดู อา่ นให้เกดิ ประโยชน์ในเวลาวา่ งเป็นกจิ กรรมนันทนาการอยา่ งหน่งึ ไดแ้ ก่ (1) กิจกรรมทางการพูดหรือสนทนาเช่นโต้วาทีปาฐกถาสนทนากับเพื่อนเพื่อนบ้านใกล้เคียงหรือบุคคลอื่น ในงานสงั สรรค์ (2) กิจกรรมทางการอ่านเช่นการอ่านหนังสือพิมพ์หนังสือต่าง ๆ และการใช้ห้องสมุดให้เกิดประโยชน์เป็น กิจกรรมนนั ทนาการฉะนัน้ กิจกรรมห้องสมุดและพิพธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาติจงึ มีความสาคัญสาหรบั ใชเ้ วลาว่างให้ เกดิ ประโยชนข์ องประชาชน (3) กิจกรรมการฟังเช่นการฟังแสดงพระธรรมเทศนาวทิ ยุกระจายเสยี งการอภิปรายโตว้ าทีปาฐกถาเป็นตน้ (4) กิจกรรมทางการเขียนการเขียนบทความเรื่องย่อนวนิยายด้วยความสนุกสนานไม่หวังรายได้ตอบแทน การอ่านพูดหรือเขียนท่ีกระทาเพ่ือความเพลิดเพลินเป็นกิจกรรมนันทนาการท้ังส้ินเช่นการเขียนบทความเพื่อ อา่ นทางวทิ ยกุ ระจายเสียงหรือลงหนงั สอื พมิ พ์เปน็ ต้น 10.นันทนาการประเภทกิจกรรมพิเศษ (Special Events) กิจกรรมนันทนาการประเภทกิจกรรมพิเศษ ได้แก่ กิจกรรมท่ีมีการเลน่ เป็นคร้ังคราวจดั ข้ึนในโอกาสพิเศษตามประเพณีของท้องถ่ินตามเทศกาลตา่ ง ๆ เช่น งานสงกรานต์งานลอยกระทงงานปีใหมข่ น้ึ บา้ นใหมซ่ ่ึงจะ มกี ารละเล่นตา่ ง ๆ หรือจัดการแสดงมหรสพ 11.นันทนาการประเภทอาสาสมัคร (Voluntary Recreation) กิจกรรมนันทนาการประเภทอาสาสมัคร ได้แก่ กิจกรรมที่บุคคลสมัครใจเข้าร่วมด้วยความสมคั รใจและเป็นกิจกรรมที่บริการอาสาสมัครแก่กลุ่มคนหรือ แก่ท้ังนี้เพ่ือประโยชน์ ต่อส่วนรวมเป็นหลักเช่นกิจกรรมค่ายอาสาสมัครค่ายอาสาพัฒนาท้องถิ่นชนบทการ อาสาพัฒนาโรงเรียนวัดหรือสถานท่ีสาธารณะบรรเทาสาธารณภัยช่วยงานมูลนิธิต่าง ๆ กิจกรรมนันทนาการ ประเภทต่าง ๆ ท่ีกล่าวมาข้างต้นมีมากมายหลายกิจกรรมด้วยกันซ่ึงสามารถท่ีจะเลือก เข้าร่วมได้ตามความ ถนัดและความสนใจหรือเพ่ือเป็นการศึกษาเรียนรู้เพราะการเข้าร่วมกิจกรรมบางอย่างนอกจากจะทาให้เกิด ความเพลิดเพลินสนุกสนานผ่อนคลายความเครียดแล้วยังได้สาระและความรู้เพ่ิมข้ึนเป็นการใช้เวลาวา่ งให้เกิด ประโยชน์ต่อชีวิตประจา วันเปน็ อย่างย่งิ
13 บรรณานกุ รม กิจกรรมเข้าจังหวะ (ม.ป.ป.). [ออนไลน]์ . แหล่งทีม่ า: https://sites.google.com/a/pypw.ac.th/ time- wellkickrrm-khea-canghwa. (วันทคี่ ้นข้อมูล: 10 มนี าคม 2553) ความรู้เกี่ยวกับการเต้น (ม.ป.ป.). [ออนไลน]์ . แหล่งทม่ี า: https://www.historicaldance.com (วันทีค้น ข้อมลู : 12 มนี าคม 2563) ความหมายของการวาดภาพ (ม.ป.ป.). [ออนไลน์]. แหล่งท่ีมา: https://sites.google.com/a/long wittaya.ac.th/kar-wad-lay-sen/khxmul-thawpi/kar- wad-phaph-hmay-thung. (วันท่ีค้นข้อมูล: 30 มีนาคม 2563) ความหมายของเกม (ม.ป.ป.). [ออนไลน์]. แหล่งท่ีมา: http://wichianthonthong.tripod.com/dataall /data3.htm. (วนั ที่คน้ ข้อมลู : 30 มีนาคม 2563) ความหมายประติมากรรม (ม.ป.ป. ). [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://sites.google.com/site/ 16ehesrikanlaya / khwam-hmay-pratimakrrm / kar-pan. (วันท่คี น้ ข้อมลู : 25 มนี าคม 2563 ) นันทนาการในชุมชนและสังคม (ม.ป.ป. ). [ออนไลน์]. แหล่งท่ีมา: https://sites.google.com/site/ karphathnathaksachiwit12 / nanthnakar-ni-chumchn-laea-sangkhm. (Suññušoya: มนี าคม 2563)
Search
Read the Text Version
- 1 - 17
Pages: