คำยืมจำกภำษำบำลแี ละสันสกฤต ๑. คำไทยแท้ ๒. คำยืมบำลี - สันสกฤต ๓. คำสมำส
คำไทยแท้ ๑. คำไทยแท้มีพยำงค์เดียว คำไทยแท้มักคำพยำงค์มีพยำงค์เดียว และมีควำมหมำย สมบูรณ์ในตวั เอง เมื่อฟังแลว้ สำมำรถเขำ้ ใจไดท้ นั ที เช่น พ่อ , ววั , มำ้ , ไฟ , ไห , ครก ฯลฯ ****แต่หำกคำไทยแทม้ ี ๒ พยำงค์ อำจจะมีสำเหตุมำจำก
คำไทยแท้ ๑ ) กำรกร่อนเสียง คือ กำรท่ีคำเดิมเป็นคำ ๒ พยำงค์ เรียงกนั เมื่อพูดเร็ว ๆ ทำให้ พยำงคแ์ รกกร่อนเสียงลง เช่น หมำกม่วง เป็น มะ ม่วง ๒ ) กำรแทรกเสียง คือ กำรเติมพยำงคล์ งไประหวำ่ งคำ ๒ พยำงค์ ทำใหเ้ กิดเป็นคำ หลำยพยำงค์ เช่น ลูกตำ เป็น ลูกกะตำ นกจิบ เป็น นกกระจิบ ๓ ) กำรเติมพยำงคห์ นำ้ คือ กำรเติมพยำงคล์ งไปหนำ้ คำพยำงคเ์ ดียว หรือสองพยำงค์ แลว้ ทำใหเ้ กิดเป็นคำหลำยพยำงค์ เช่น ทว้ ง เป็น ประทว้ ง จุ๋มจ๋ิม เป็น กระจุ๋มกระจิ๋ม
คำไทยแท้ ๒. คำไทยแท้มกั มตี ัวสะกดตรงตำมมำตรำ อกั ษรท่ีนำมำเขียนเป็นตวั สะกดจะตรงตำมกบั มำตรำตวั สะกด เช่น แม่กม สะกด ม แม่เกอว สะกด ว แม่เกย สะกด ย
คำไทยแท้ ๓. คำไทยแท้จะไม่พบพยญั ชนะบำงตัว คำไทยแทม้ กั จะไม่ปรำกฏกำรใชพ้ ยญั ชนะต่อไปน้ี คือ ฆ , ฌ , ญ,ฎ,ฏ,ฐ,ฑ,ฒ,ณ,ธ,ศ,ษ,ฬ ****ยกเวน้ คำบำงคำ เช่น ฆ่ำ , เฆ่ียน , ระฆงั , ศอก , ศึก , ธ , เธอ , ณ , ฯพณฯ , ใหญ่ , หญำ้ ฯลฯ
คำไทยแท้ ๔. คำไทยแท้มกั จะมเี สียงวรรณยกุ ต์กำกบั เพ่ือใหเ้ กิดเสียงต่ำงกนั ทำใหค้ ำมีควำมหมำยมำกข้ึนดว้ ย ซ่ึงทำใหม้ ีคำใชม้ ำกข้ึน เช่น ขำว > ช่ือสีชนิดหน่ึง ข่ำว > คำบอกเล่ำ เรื่องรำว ขำ้ ว > อำหำรประเภทหน่ึง
คำไทยแท้ ๕. คำไทยแท้จะไม่นิยมใช้ตวั กำรันต์และไม่นยิ มคำควบกลำ้ ลกั ษณะของตวั กำรันตม์ กั เป็นคำที่ยมื มำจำภำษำต่ำงประเทศ เพรำะ ในภำษำไทยจะไม่นิยมใชต้ วั กำรันต์ เช่น โล่ , เสำ , อิน , จนั , วนั , กำ , ขำด ฯลฯ
คำไทยแท้ ๖. กำรใช้เสียง /ไอ/ คำท่ีออกเสียง /ไอ/ ใชร้ ูปไมม้ ว้ น ( ใ ) มีใชใ้ นคำไทยเพียง ๒๐ คำ เท่ำน้นั รูป “ อยั ” หรือ “ ไอย ” เลย เนื่องจำกท้งั สองรูปแบบ ไดร้ ับอิทธิพล จำกภำษำบำลี และ ภำษำสนั สกฤต
คำไทยแท้ ผู้ใหญ่หำผ้ำใหม่ ให้สะใภ้ใช้คล้องคอ ใฝ่ ใจเอำใส่ห่อ มหิ ลงใหลใครขอดู จะใคร่ลงเรือใบ ดูนำ้ ใสและปลำปู ส่ิงใดอยู่ในตู้ มใิ ช่อยู่ใต้ตง่ั เตยี ง บ้ำใบ้ถือใยบวั หูตำมวั มำใกล้เคยี ง เล่ำท่องอย่ำละเลย่ี ง ยส่ี ิบม้วนจำจงดี
คำยืมบำลี - สันสกฤต ภำษำบำลี ภำษำสนั สกฤต ๑. ใชส้ ระ อะ อำ อิ อี อุ อู เอ โอ ๑. ใชส้ ระ อะ อำ อิ อี อุ อู เอ โอ และ เช่น อริยะ สำระ อิสี อุตุ โมลี เพม่ิ ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ไอ เอำ เช่น ฤษี ฤๅษี ฤดู กฤษณ์ ไมตรี ไพศำล ๒. ใช้ ส เช่น สำสนำ สนั ติ ๒. ใช้ ศ ษ เช่น ศำสนำ ศำนติ วิสำสะ สำลำ สิริ สูญ พศิ วำส ศำลำ ศรี ๓. ใช้ ฬ เช่น จุฬำ กีฬำ ครุฬ ๓. ใช้ ฑ เช่น จุฑำ กรีฑำ ครุฑ
คำยืมบำลี - สันสกฤต ภำษำบำลี ภำษำสันสกฤต ๔. ใช้พยญั ชนะเรียงพยำงค์ เช่น ๔. ใช้อกั ษรควบกลำ้ พยญั ชนะประสม เช่น กิริยำ สำมี ฐำน ถำวร ปทุม เปม กริยำ สวำมี สถำน สถำวร ปัทมะ เปรม ปิ ยะ ปฐม ปชำ ปกติ ปี ติ จิต ปรียะ ประถม ประชำ ปรกติ ปรีติ จิตร ๕. ใช้พยญั ชนะสะกดและตัวตำมตัว ๕. ใช้ตัว รร แทน รฺ (ร เรผะ) เช่น ธรรม เดียวกนั เช่น ธมั ม กมั ม มคั ค กรรม มรรค สวรรค์ สรรพ วรรณ สัคค สพั พ วณั ณ ๖. ภำษำบำลีใช้ อะ อุ อิ เช่น อมตะ ๖. ภำษำสนั สกฤตใช้ ฤ เช่น อมฤต ปฤจฉำ ฤดู ปุจฉำ อตุ ุ
คำยืมบำลี - สันสกฤต พยัญชนะวรรค แถวที่ ๑ แถวที่ ๒ แถวที่ ๓ แถวที่ ๔ แถวท่ี ๕ วรรคกะ (ฐำนคอ) กข คฆง วรรคจะ (ฐำนเพดำน) จ ฉ ช ฌญ วรรคฏะ (ฐำนป่ ุมเหงือก) ฏ ฐ ฑ ฒ ณ วรรคตะ (ฐำนฟัน) ตถ ทธน วรรคปะ (ฐำนริมฝี ปำก) ป ผ พ ภ ม เศษวรรค ย ร ล ว ส ห ฬ อ (ศ ษ มใี นภำษำสันสกฤต)
คำยืมบำลี - สันสกฤต หลกั ในกำรสังโยค ถ้ำพยญั ชนะแถวที่ ๑ เป็ นตวั สะกด พยญั ชนะแถวท่ี ๑ และ ๒ สำมำรถตำมได้ เช่น สจั จะ (จ สะกด จ ตำม) ทุกขะ (ก สะกด ข ตำม) สกั กะ (ก สะกด ก ตำม) มจั ฉำ (จ สะกด ฉ ตำม)
คำยืมบำลี - สันสกฤต หลกั ในกำรสังโยค ถ้ำพยญั ชนะแถวท่ี ๓ เป็ นตวั สะกด พยญั ชนะแถวท่ี ๓ และ ๔ สำมำรถตำมได้ เช่น อคั คี (ค สะกด ค ตำม) พยคั ฆ์ (ค สะกด ฆ ตำม) วิชชำ (ช สะกด ช ตำม) สทั ธำ (ท สะกด ธ ตำม)
คำยืมบำลี - สันสกฤต หลกั ในกำรสังโยค ถ้ำพยญั ชนะแถวท่ี ๕ เป็ นตวั สะกด พยญั ชนะทุกแถวใน วรรคเดยี วกนั สำมำรถตำมได้หมด เช่น วรรค กะ สงั ข์ วรรค จะ กญุ ชร วรรค ฏะ มณฑล วรรค ตะ สนทนำ วรรค ปะ สมั ผสั
คำยืมบำลี - สันสกฤต หลกั ในกำรสังโยค ถ้ำเศษวรรคเป็ นตวั สะกด เศษวรรคจะเป็ นตวั ตำม และ เศษวรรคสำมำรถตำมตวั เองได้ เช่น อยั ยกิ ำ เวยยำกรณ์ (ไวยำกรณ์) บลั ลงั ก์ จุลละ ยกเวน้ เศษวรรคที่ไม่สำมำรถเป็นตวั สะกดได้ เช่น ห เป็นตวั ตำมไดอ้ ยำ่ งเดียว เช่น ชิวหำ
คำสมำส คือกำรนำเอำภำษำบำลี - สันสกฤตต้ังแต่ ๒ คำขึ้นไป มำเรียงต่อกัน ทำให้เกิดคำใหม่และมีควำมหมำยใหม่ แต่ยงั มีเคำ้ ควำมหมำยเดิมอยู่ มีหลกั สงั เกตดงั น้ี
คำสมำส ๑. ต้องเป็ นคำทม่ี ำจำกภำษำบำลี – สันสกฤต เท่ำน้ัน (บำลี-บำลี, สนั สกฤต – สนั สกฤต, บำลี – สนั สกฤต, สนั สกฤต - บำลี) วำตภัย + ภัย (บำลี + บำล)ี วำตภยั (ภยั อนั เกดิ จำกลม) ประถม + ศึกษำ (สันสกฤต + สันสกฤต) ประถมศึกษำ (กำรศึกษำช้ันต้น) อศั วะ + มุข (สันสกฤต + บำล)ี อศั วมุข (หน้ำม้ำ) ทันตะ + แพทย์ (บำลี + สันสกฤต) ทันตแพทย์ (หมอทำฟัน)
คำสมำส ๒. ต้องแปลควำมหมำยจำกคำหลงั ไปคำหน้ำ เช่น มหำรำช หมำยถึง รำชำผู้ยงิ่ ใหญ่ นำฏศิลป์ หมำยถงึ ศิลปะกำรร่ำยรำ ปัจฉิมวำจำ หมำยถึง คำพูดคร้ังสุดท้ำย *** แต่มขี ้อยกเว้นบำงคำทแ่ี ปลจำกคำหน้ำไปคำหลงั
คำสมำส ๓. ท้ำยศัพท์ตวั แรกห้ำมใส่รูปสระ อะ และไม้ทณั ฑฆำต เช่น ธุระ + กจิ ธุรกจิ วำทะ + ศิลป์ วำทศิลป์ ครุศำสตร์ + บณั ฑิต ครุศำสตรบณั ฑิต *** ยกเว้น : คำว่ำ “กจิ จะลกั ษณะ” ที่ประวิสรรชนีย์ได้
คำสมำส ๔. ต้องออกเสียงสระทท่ี ้ำยศัพท์ตวั แรก เช่น อุณหภูมิ อำ่ นวำ่ อุน – หะ – พมู ประวตั ิศำสตร์ อ่ำนวำ่ ประ – หวดั – ติ – สำด มำตุภูมิ อำ่ นวำ่ มำ – ตุ – พมู
คำสมำส ๕. คำว่ำ วร, พระ ตำมด้วยภำษำบำลี – สันสกฤตถือเป็ นคำสมำส เพรำะ “พระ” แผลงมำจำก “วร” วรกำย วรชำยำ พระโอษฐ์ พระนำสิก พระกรรณ พระบำท *** ยกเว้นคำท่ปี ระสมกบั คำทมี่ ำจำกภำษำอ่ืน ไม่ถือว่ำเป็ นคำสมำส
คำสมำส ๖. คำทล่ี งท้ำยด้วยคำว่ำ ศึกษำ ศำสตร์ กรรม ภำพ ภัย ศิลป์ วทิ ยำ กร ส่วนมำกมกั เป็ นคำสมำส จริยศึกษำ วทิ ยำศำสตร์ พนั ธุกรรม มโนภำพ วำตภยั วำทศิลป์ กฏี วทิ ยำ จิตรกร
เพลง คำยืมภำษำบำล-ี สันสกฤต บาลสี นั สกฤตนีน้ ะ จาใหด้ วี า่ มนั ไมม่ ี มนั ไมม่ ี ไมเ้ อก ไมโ้ ท ไม้ตรี ไม้จตั วา ไมเ่ คยมีไม้ม้วน(ใ)ใหเ้ หน็ บ และ ด สะกดไมม่ ี ไมเ่ คยมี ห นา และสระเออื อัว เออ ออื ว แหวน และ ล ลงิ ควบกลา้ ไมม่ ี (ใช่ ฉนั ใชแ้ ต่ ร เรอื นะจ๊ะ) อ๊งั องั องั จาทงั้ บาลี สนั สกฤต ใชส้ ร้าง “คาสมาส”
Search
Read the Text Version
- 1 - 24
Pages: