แตง่ ฉนั ท์ชนดิ ต่างๆ วชิ าภาษาไทย ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๖
ตามความรู้สึกของคนทั่วไป ฉันท์เป็นคา ประพันธ์ที่แต่งยาก อ่านยาก และเข้าใจยาก คา ประพนั ธป์ ระเภทนี้จึงมีเผยแพร่นอ้ ยมากในปัจจบุ นั แท้ที่จรงิ แล้ว ฉนั ท์มหี ลายประเภท ฉนั ทท์ ่ีแต่ง ได้ง่ายก็มี และการใช้คาในฉันท์ก็ไม่จาเป็นต้องใช้คา ยากเสมอไป ดังตัวอย่าง วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ ของ ชิต บุรทัต ในวรรณคดเี ร่อื ง สามคั คีเภทคาฉันท์
แรมทางกลางเถือ่ น หา่ งเพอ่ื นหาผู้ หนง่ึ ใดนกึ ดู เห็นใครไปม่ ี หลายวนั ถั่นล่วง เมอื งหลวงธานี นามเวสาลี ดมุ่ เดาเข้าไป เชงิ ชิดชอบเช่ือง ผกู ไมตรีจติ ฉนั ทอ์ ัชฌาสัย กับหมู่ชาวเมือง ว้าวนุ่ วายใจ เล่าเรื่องเคอื งข่นุ ดา้ วตา่ งแดนตน จาเปน็ มาใน
ตวั อยา่ งอินทรวิเชียร ฉันท์ ๑๑ ในมงคลสตู รคาฉนั ท์ พระราชนิพนธ์ พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกล้าเจา้ อย่หู ัว หน่ึงคือบ่คบพาล เพราะจะพาประพฤตผิ ิด หน่งึ คบกะบณั ฑติ เพราะจะพาประสบผล อภปิ ชู นยี ์ชน หน่ึงกราบและบชู า อดเิ รกอุดมดี ขอ้ น้ีแหละมงคล
นอกจากน้ี ยังมีฉันท์อื่นๆ อีกท่ีไม่ยากนัก นักเรียนระดับชั้น มัธยมศึกษาตอนปลายสามารถอ่านเข้าใจได้ และอาจหัดแต่งตามได้ตาม ศักยภาพของบุคคล แต่อาจใช้เวลาบ้าง สาหรับนักเรียนระดับนี้ จึงได้ เลอื กนามาใหน้ ักเรียนฝกึ แตง่ เพยี ง ๒ ชนิด คือ วิชชุมมาลาฉันท์ ๘ อินทรวเิ ชยี รฉันท์ ๑๑ ตามท่ีไดย้ กตวั อยา่ งมาให้ดขู ้างตน้ แล้ว
วชิ ชุมมาลาฉนั ท์ ๘ หมายถงึ ฉนั ท์ทีเ่ ปล่งสาเนียงยาวดจุ สายฟ้าแลบทม่ี รี ัศมียาว อนิ ทรวิเชยี รฉันท์ ๑๑ หมายถึง ฉันท์ท่ีมีลีลาอันรุ่งเรืองงดงามประดุจสายฟ้าซ่ึงเป็น อาวุธของพระอนิ ทร์
โอกาสท่ใี ชแ้ ต่งฉนั ท์ นอกจากกวีจะใช้ฉันท์สาหรับแต่งเร่ืองราวท่ีต่อเนื่องกันยืดยาว มี เค้าโครงเรื่องมีบทพรรณนา บทสนทนา คติธรรม ฯลฯ ดังเช่นวรรณคดีเร่ือง สมุทรโฆษคาฉันท์ อนิรุทธคาฉันท์ กฤษณาสอนน้องคาฉันท์ มาจนถึงอิลราช คาฉันท์ สามัคคีเภทคาฉนั ท์ แล้วกวยี ังใชฉ้ ันท์ในการแต่งบทประพันธ์ขนาดสั้น เพื่อวัตถุประสงค์และโอกาสต่างๆ กัน เช่น แต่งเป็นบทสดุดี บทบูชาพระคุณ ครบู าอาจารย์ บิดามารดา และบทอวยพรเน่อื งในโอกาสพิเศษตา่ งๆ
การใช้คาในการแตง่ ฉันท์ ฉันท์เป็นคาประพันธ์ที่คนไทยรับมาจากวรรณคดีบาลี ภาษาบาลีเป็น ภาษาทมี่ ีการใช้เสียงหนักเบา หรือเสียงครุลหอุ ยู่เป็นปกติ ธนะ ชนะ สุริย์ (คา ลหุ สองคาเรียงกนั ) สวนะ สรุ ิยะ (คาลหุ สามคาเรียงกนั ) คาครุ หมายถึง คา (พยางค์) ต่างๆ ที่ไม่ใช่คาลหุ คาในแม่ ก กา ท่ีประสมด้วย สระเสียงยาว คาที่มีตัวสะกดทุกมาตรา เช่น นา รี เสา วัน มาตร (คาครุ คาเดียว) นารี โสภา ธาดา วนั ชยั (คาครุ สองคาเรียงกัน) นารีรัตน์ เมืองเชียงใหม่ สัญชาติไทย (คาครุ สามคาเรียงกนั )
การใชค้ าในการแตง่ ฉันท์ เนื่องจากฉันท์ต้องใช้คาครุลหุมาก คาไทยแท้จึงไม่เพียงพอ จาเป็นต้อง อ า ศั ย ค า ศั พ ท์ บ า ลี สั น ส ก ฤ ต ดั ด แ ป ล ง ใ ห้ เ ห ม า ะ ส ม ไ ม่ ขั ด กั บ ห ลั ก ภ า ษ า ตัวอย่างเช่น บางคร้ังกวีต้องการคาลหุ ๓ คาเรียงกัน ให้มีความหมายว่า ใจ คาว่า ใจ นั้นมีอยู่มากในภาษาบาลีสันสกฤต เช่น ฤดี หฤทัย มนัส มโน ก็ต้อง เลือกคาให้เหมาะ อาจเลือก คา หทัย โดย ใช้รูป หทย (ออกเสียง หะ-ทะ-ยะ) ซึ่งไมข่ ัดกบั หลักภาษาเดมิ เพราะคาน้ี ในภาษาบาลวี า่ หทย อยแู่ ล้ว
การใช้คาในการแต่งฉันท์ คา เช่น วร (ดี ประเสริฐ) อาจออกเสียงให้เป็น วอน วะ-ระ วอ-ระ หรือ แม้แต่เพิ่มเสียงสระอา ที่พยางค์หลังเป็น วรา ก็ได้ เพ่ือให้สอดคล้องระเบียบ บังคบั การแตง่ ฉนั ท์ ซ่งึ จะได้เสียง ครุ ลหุ-ลหุ ครุ-ลหุ ลหุ-ครุ ตามลาดับ จากคา เดิมเพียงหน่ึงคาโดยความหมายไม่เปลี่ยนแปลง ทั้งน้ี คาท่ีนามาใช้ต้องมี ความหมายตรงตามท่ีต้องการและดัดแปลงโดยไม่ให้ผิดการรับคาบาลีสันสกฤต มาใชใ้ นภาษาไทย
การใช้คาในการแตง่ ฉนั ท์ เช่น จะดัดแปลง หทัย เป็น หาทัยยะ เพื่อให้เป็นเสียง ครุ-ครุ-ลหุ ไม่ได้ เป็นอันขาด วร จะดัดแปลงเป็น วารา หรือ วโร ก็ไม่ได้ ท้ังนี้อย่านาไปปนกับ คา เช่น วโรรส วโรกาส เพราะเป็นคาสมาส ซ่ึงมีเสียงสนธิ คือ วร+โอรส วร+ โอกาส ตามลาดบั หลักการรับคาบาลีมาใช้ในภาษาไทย ยอมให้ยืดเสียงยาวขึ้น เฉพาะพยางค์สุดท้าย หรือจะแปลง รุกข ให้เป็น รุกขี รุกโข ไม่ได้ ได้เพียง รกุ ขา คาเดียวเท่าน้นั
การแต่งฉนั ท์ หลักพื้นฐานที่ใช้ได้ในทางปฏิบัติได้ดีที่สุด คือ ต้องจดจาหรือดูจากฉันท์ ตน้ แบบให้แม่นยา ฉันท์มีลักษณะบังคับง่ายๆ ๒ ประเภท ดังที่ยกมาให้ดูในตอนต้น อาจใช้ เป็นฉันท์ต้นแบบได้อย่างดี ควรระลึกไว้เสมอว่า ฉันท์ต้นแบบควรใช้สัก ๒ บท เป็นอย่างน้อย ถ้าใช้เพียงบทเดียวอาจขาดระเบียบบังคับ เร่ืองการสัมผัส ระหวา่ งบท
การแต่งฉนั ท์ วชิ ชมุ มาลาฉันท์ ๘ จ า ก แ ผ น ผั ง ข้ า ง ต้ น แ ส ด ง ว่ า วิชชุมมาลา ฉันท์ บท หนึ่งมี ๘ บท บทหนึ่ง มี ๔ บาท บาทหน่ึง มี ๒ วรรค ทุกวรรคมี ๔ คา เปน็ คาครทุ ง้ั หมด
การแต่งฉนั ท์ วิชชุมมาลาฉนั ท์ ๘ การรับ-สง่ สมั ผัส มรี ะเบยี บ ดังนี้ ในบาทท่ี ๑ คาท้ายสุดของวรรคที่ ๑ สัมผัสกับคาท่ี ๒ ของวรรคท่ี ๒ ในบาทเดียวกัน และคาสุดท้ายของวรรคท่ี ๒ ในบาทที่ ๑ สมั ผสั กับคาสุดท้าย ของวรรคท่ี ๑ ในบาทท่ี ๒
การแตง่ ฉันท์ วชิ ชุมมาลาฉันท์ ๘ ในบาทท่ี ๓ คาสุดท้ายของวรรคที่ ๑ สัมผัสกับคาท่ี ๒ ของวรรคที่ ๒ ในบาทเดียวกัน และในคาสุดท้ายของวรรคที่ ๒ ในบาที่ ๓ ต้องรับสัมผัสกับ คาสุดทา้ ยของวรรคท่ี ๒ ของบาทที่ ๒ และรับสัมผัสกับคาสุดท้ายของวรรคที่ ๑ ในบาท่ี ๔ ถ้าแต่งมากกว่า ๑ บท ให้คาสุดท้ายของวรรคที่ ๔ ของบาทที่ ๔ ส่ง สมั ผัสไปทค่ี าสุดท้ายของวรรคท่ี ๒ บาทที่ ๒ ในบทตอ่ ไป
การแตง่ ฉนั ท์ วชิ ชมุ มาลาฉันท์ ๘ ในเบอ้ื งต้น ผูแ้ ตง่ ต้องมีแนวความคดิ และวัตถุประสงค์ที่ชัดเจนว่า จะแต่งเก่ียวกับเรื่องอะไร เพื่อประโยชน์ใด และในโอกาสใด การแต่ง ฉันท์ก็เช่นเดียวกัน ผู้แต่งต้องวางแนวความคิดไว้ให้ชัดเจน อาจเขียน เป็นผังมโนภาพ หรอื เขียนเป็นหัวขอ้ แนวความคดิ อย่างสังเขปไว้กไ็ ด้
การแต่งฉนั ท์ วชิ ชุมมาลาฉนั ท์ ๘ เมอื่ ได้แนวคิดทช่ี ัดเจนแล้วก็ลงมือแต่งตามลักษณะบังคับ ซึ่งอาจ ปรับเปลี่ยนรายละเอียดเล็กน้อยให้ผิดไปจากแนวความคิดเดิมบ้างก็ได้ แต่สาระสาคัญตอ้ งคงไว้ ในการแต่งต้องใช้ความคิดเลือกคาโดยพถิ ีพิถัน อาจใช้พจนานุกรมชว่ ยเลือกเฟ้นคาและตรวจสอบความหมาย ตลอดจน วธิ ีสะกดคาใหถ้ กู ต้อง
การแตง่ ฉันท์ วชิ ชมุ มาลาฉันท์ ๘ ตัวอย่าง การแต่งวชิ ชุมมาลา ฉันท์ ๘ วัตถุประสงค์และโอกาสในการแต่ง แสดงความระลึกถึง ผปู้ ระสบภัยอันตรายจากคลื่นสึนามิ แนวความคดิ ในการแต่ง - ความร้สู กึ เศร้าสลด - ผคู้ นลม้ ตายจานวนมากนับหม่ืนนบั แสน - ความรสู้ กึ ซาบซึง้ ใจทไ่ี ดร้ บั พระมหากรุณาธคิ ุณ
การแต่งฉันท์ วิชชมุ มาลาฉันท์ ๘ สึนามิ (๑) โอ้ว่าน่าเศร้า เมื่อเฝ้ามองดู เหน็ หนา้ กันอยู่ ผองผู้หญงิ ชาย หลายพวกเผ่าพงศ์ มาปลงปลิดหาย วิบเดียววอดวาย ดิ่งดบั ลับพลัน
การแต่งฉันท์ วิชชมุ มาลาฉนั ท์ ๘ (๒) คลน่ื ยกั ษ์ถาโถม จู่โจมเร็วร่ี นบั หมื่นชีวี ถึงฆาตพรอ้ มกนั ห่อนเว้นวา่ งใคร ไยดบั ดงั น้นั ย่งิ นกึ ยงิ่ หว่ัน อกสั่นขวญั บิน
การแตง่ ฉนั ท์ วิชชมุ มาลาฉนั ท์ ๘ (๓) หนาวจิตคิดดู เราอยู่ห่างไกล ยงั แทบขาดใจ หมดหวงั พังภนิ ท์ แตร่ ะลกึ นึกไป ชาวไทยใช่สิ้น จอมเจา้ ภมู นิ ทร์ ทรงซบั น้าตา
การแต่งฉันท์ วชิ ชมุ มาลาฉันท์ ๘ (๔) ชาวไทยคลายโศก วปิ โยคยากเขญ็ แปรเปลี่ยนให้เปน็ พลวตั พฒั นา สรา้ งสรรค์บ้านเมอื ง รงุ่ เรอื งทนั ตา มอี งค์ราชา เป็นขวัญชาตเิ ทอญ
การแต่งฉนั ท์
การแตง่ ฉันท์ จากแผนผังข้างตน้ แสดงว่า อินทรวเิ ชยี ร ฉนั ท์ ๑๑ บทหนง่ึ มี ๒ บาท บาทหนึง่ ๒ วรรค มีระเบียบบังคับเก่ียวกับคาครุ ลหุ ดงั นี้ วรรคท่ี ๑ ของบาทที่ ๑ และบาทท่ี ๒ มี ๕ คา สองคาแรกและสองคาหลงั เป็น คาครุ คากลางเป็นลหุ วรรคที่ ๒ ท้งั บาทท่ี ๑ และ บาทท่ี ๒ มี ๖ คา สองคาแรกเป็นลหุ คาทีส่ ามเปน็ ครุ คาท่ี ๔-๕-๖ เปน็ ลหุ-ครุ-ครุ
การแตง่ ฉันท์ การรบั -สง่ สมั ผัส มรี ะเบียบบังคบั ว่า คาสุดทา้ ยของวรรคท่ี ๑ บาทท่ี ๑ สัมผสั กบั คาท่ี ๓ ของวรรคท่ี ๒ ในบาทเดียวกนั คาสดุ ทา้ ย ของวรรคที่ ๒ บาทที่ ๑ สัมผัสกบั คาสุดท้ายของวรรคที่ ๑ ของบาทท่ี ๒ ถา้ แต่งมากกว่า ๑ บท ให้คาสุดทา้ ยของวรรคท่ี ๒ ของบาทท่ี ๒ส่ง สมั ผสั ไปทค่ี าสดุ ทา้ ยของวรรคที่ ๒ ของบาทที่ ๑ ในบทต่อไป
การแตง่ ฉนั ท์ หลกั การแตง่ เหมือนกบั วชิ ชุมมาลา ฉนั ท์ ๘ ทกี่ ลา่ วมาแลว้ เช่น เม่ือจะแสดงความระลกึ ถึงพระคณุ ของอาจารย์ ในโอกาสท่ีคณะศษิ ย์จดั งานเกษยี ณอายใุ ห้ท่าน แนวความคิดอาจได้แก่ ตอ้ งการให้บรรดาครู อาจารย์ ที่เกษียณอายรุ ับรถู้ ึงความรูส้ ึกอนั ดีงามของศิษยใ์ นโอกาสนั้น พร้อมท้งั อาราธนาคณุ พระศรรี ัตนตรัยใหด้ ลบนั ดาลความสุขสวัสดี
การแตง่ ฉันท์ แดค่ ณาจารย์ (๑) วันน้คี ณาศษิ ย์ สรุ จติ สมานฉนั ท์ พรอ้ มเพรยี งประชมุ กนั อภิวาทนาการ (๒) ดว้ ยจติ ระลกึ ถงึ คุณซง่ึ คณาจารย์ เตม็ ใจประสิทธส์ิ าร วิธเวทยว์ เิ ศษศรี
การแต่งฉนั ท์ (๓) ก่อเกดิ ประโยชน์สขุ ทุรทุกข์บ่ไดม้ ี ภัยพาล ฤ ราคี ละกล็ ้วนปลาสนา (๔) ศิษย์จงึ ลุสัมฤทธ์ิ ชยกจิ นานา นิจเนื่องนิรันดรม์ า ประลุถงึ อุดมพร (๕) ราลกึ พระคณุ นนั้ และก็พลันชลุ กี ร กราบก้มประณมวอน มนะม่นั นิรนั ดรไ์ ป
การแต่งฉนั ท์ (๖) ดว้ ยคณุ พระไตรรัตน์ สริ วิ ฒั น์วบิ ูลย์ชัย ป้องปัดวิบัตภิ ยั บ่มกิ ลา้ จะพอ้ งพาน (๗) ปรีดิ์เปรมเกษมสุข นริ ทกุ ขต์ ลอดกาล โรคภัยทุพลผลาญ ก็ละล้ีละหลีกเทอญ
ฉนั ทป์ ระเภทตา่ งๆ มาณวกฉันท์๘ มาณวกฉันท๘์ (มา-นะ-วก-กะ-ฉนั ) ฉนั ทท์ ีม่ ลี ีลาเสียงไพเราะ งดงามใหค้ วามสดชน่ื มีชีวิตชวี า ประดจุ มาณพหนมุ่ นอ้ ย ๏ ปางศิวะเจ้า เนา ณ พมิ าน บรรพตศานต์ โสภณไกร- ลาสรโห โอห่ ฤทัย ทราบมนใน กจิ พธิ ี
ฉนั ท์ประเภทต่างๆ มาณวกฉันท์๘ ทวย ธ กระทา กรรมพเิ ศษ อศั วเมธ ปชู ยพลี เคลอ่ื นวรองค์ ลงปฐพี สู่พระพิธี สาทรกรรม (อิลราชคาฉนั ท์)
ฉันทป์ ระเภทตา่ งๆ สาลินีฉันท์ ๑๑ สาลินฉี นั ท์ ๑๑ หมายถงึ ฉันท์ทีม่ ากไปด้วยครุ ซง่ึ เปรีบเหมือน แก่นหรอื หลัก ๏ เกียจคร้านการทางาน บมบี ้านจะอาศัย เกิดมาเปน็ คนไทย ฤควรทอ้ ระยอ่ งาน ๏ ทากินถ่ินของตวั ผิทาช่ัวก็เป็นพาล ชว่ั ผิดตดิ สันดาน วบิ ตั ิกรรมจะนาผล
ฉันท์ประเภทตา่ งๆ สาลนิ ีฉันท์ ๑๑ ๏ เหตนุ คี้ วรหม่นั เพยี ร รเิ รม่ิ เรยี นระวงั ตน อยา่ กล้ัวมว่ั กับคน ทศุ ลี สร้างทรุ าบาย ๏ ดจู นี ในถน่ิ ไทย เจรญิ วยั เพราะคา้ ขาย จนี นั้นหมั่นขวนขวาย ขยันงานและออมสนิ หลักภาษาไทย : กาชยั ทองหลอ่
ฉันท์ประเภทต่างๆ อุเปนทรวเิ ชยี รฉนั ท์ ๑๑ อุเปนทรวิเชียรฉนั ท์ ๑๑ แปลวา่ รองอนิ ทรวิเชยี ร คือมลี ักษณะ คลา้ ย ๆ อินทรวิเชียรฉนั ท์ ๏ พระนางพโิ รธกริ้ว นะก็ควรจะมากมาย และเหตกุ แ็ รงร้าย จะมิทรงพโิ รธฤๅ ๏ ก็แตจ่ ะพาที บมไิ ด้ถนดั ฮือ เพราะเกรงจะอึงออ้ื จะมพิ น้ ละโทษทณั ฑ์ มทั นะพาธา
ฉนั ทป์ ระเภทตา่ งๆ กมลฉนั ท์ ๑๒ กมลฉันท์ ๑๒ (กะ-มะ-ละ-ฉนั ) แปลว่าฉันท่มี ลี ลี าดุจกลอ่ มใจให้ เพลิดเพลนิ ๏ จรเวิ้งวนาวาส ก็ระดาษดาเนินราย ยรุ ะเยอื้ งชาเลืองชาย นยน์ชมผกามาลย์ ๏ อรอันสนดั ขบั สุรศัพทป์ ระเลงลาน วนเซผ่ สานขาน รขุ เทพบาเทิงถวิล อลิ ราชคาฉนั ท์
ฉนั ทป์ ระเภทต่างๆ ภุชงคประยาตฉนั ท์ ๑๒ ภุชงคประยาตฉันท์ ๑๒ (ภุชงค์ หมายถึง งู หรือนาค ประยาต หมายถึงอาการงูเลื้อย) ฉันทท์ ่ีมีลลี างดงามประดจุ การเลอื้ ยของงู ๏ มนัสไทยประณตไท้ นรนิ ทร์ไทยมิทอ้ ถอน มิผูกรักมภิ กั ดบ์ิ ร มพิ ่ึงบารมบี ญุ ๏ ถลนั จ้วงทะลวงจา้ บุรุษนาอนงคห์ นนุ บุรษุ รกุ อนงคร์ นุ ประจญรว่ มประจญั บาน ฉันท์ยอเกยี รตชิ าวนครราชสมี า
ฉนั ทป์ ระเภทตา่ งๆ วสนั ตดลิ กฉนั ท์ ๑๔ วสนั ตดิลกฉันท์ ๑๔ (วะ-สัน-ตะ-ดิ-หลก-กะ -ฉนั ) ฉนั ที่มลี ลี างาม วิจติ รประดจุ รอยแตม้ ท่ีกลบี เมฆซง่ึ ปรากฎในตอนต้นแห่งวสนั ตฤดู ๏ อ้าเพศกเ็ พศนชุ อนงค์ อรองค์กบ็ อบบาง ควรแตผ่ ดงุ ศิริสอาง ศุภลกั ษณ์ประโลมใจ ๏ ยามเขญ็ ก็เขน็ สรริ ะอวย พลชว่ ยผจญภัย โอค้ วรจะเอื้อนพจนไข คุณเลศิ มโหฬาร
ฉนั ท์ประเภทต่างๆ วสันตดิลกฉันท์ ๑๔ ๏ อ้าหัตถก์ ็หตั ถส์ ุขมุ ชวน มนะหวนฤดีดาล ควรแต่จะถอื สุรภมิ าล- ยประมูลมโนรมย์ ๏ ยามทุกข์กถ็ ือวิวธิ อา- วุธฝ่าระทมตรม โอค้ วรจะเอือ้ นพจนชม คุณชัว่ นริ นั ดร์กาล คาฉนั ทย์ อเกียรติชาวนครราชสีมา
ฉันทป์ ระเภทตา่ งๆ สัททุลวิกกฬี ิตฉนั ท์ ๑๙ สัททลุ วกิ กีฬิตฉันท์ ๑๙ (สดั - ทุน-ละ-วกิ -กี-ล-ิ ตะ-ฉนั ) ฉันทท์ ม่ี ี ลีลาประดุจสิงโตคะนอง ๏ ข้าขอเทิดทศนัขประนามคณุ พระศรี สรรเพชญพระภมู ี พระภาค ๏ อกี ธรรมาภสิ มัยพระไตรปฎิ กวากย์ ทรงคุณคะนงึ มาก ประมาณ
ฉันทป์ ระเภทตา่ งๆ สทั ทุลวกิ กฬี ิตฉนั ท์ ๑๙ ๏ นบสงฆ์สาวกพทุ ธพ์ สิ ุทธิ์อริยญาณ บ โรย นาบุญญบญุ บาน ประพันธ์ ๏ อกี องค์อาทิกวีพริ ียตุ มโดย คเณศ ดารงดารบั โปรย ๏ ผเู้ รมิ่ รงั พจมานตระการกมลกรรณ กม้ กราบพระคณุ ขนั ธ์
ฉันทป์ ระเภทต่างๆ สทั ทลุ วิกกฬี ิตฉนั ท์ ๑๙ ๏ สรวมชีพอญั ชลนี าถพระบาทนฤเบศ สยาม มงกุฏกษตั ริยเ์ กษตร รภาพ ๏ ทหี่ กรัชสมัยกไ็ กรกติ พิ ระนาม ทรงคณุ คามภี- อลิ ราชคาฉนั ท์
ฉนั ท์ประเภทตา่ งๆ อที ิสังฉนั ท์ ๒๐ อีทสิ งั ฉันท์ ๒๐ ฉนั ทม์ ลี ลี างดงามประดุจฉันท์ท่ีได้พรรณนา มาแลว้ ข้างตน บ้างก็เรียก \"อีทิสฉันท์\" ๏ อ้าอรณุ แอร่มระเร่ือรุจี ประดุจมะโนภิรมระตี ณ แรกรัก ๏ แสงอรุณวิโรจนน์ ะภาประจักษ์ แฉล้มเฉลาและโสภนิ ัก ณ ฉันใด
ฉันท์ประเภทต่างๆ อที สิ ังฉันท์ ๒๐ ๏ หญงิ และชาย ณ ยามระตอี ทุ ยั สว่าง ณ กลาง กะมลละไม ก็ฉันนน้ั ๏ แสงอษุ าสกาวพะพราวสวรรค์ ก็เหมอื นระตวี ิสทุ ธิอัน สวา่ งจติ มัทนะพาธา
การเลอื กใชฉ้ ันทป์ ระเภทตา่ งๆ การเลือกใชฉ้ ันท์ ตอ้ งเลอื กใหเ้ หมาะกับวตั ถปุ ระสงคห์ รือเนื้อเรอื่ ง ท่จี ะเขียน ๑. บทนมัสการสิ่งศักดิส์ ิทธ์ิ บทไหวค้ รู บทสรรเสริญพระเกียรติ ความขลงั ใช้ สทั ทุลวิกกฬี ติ ฉนั ทห์ รือสัทธราฉันท์ ๒. บทเล่าเร่อื ง บทชม ครา่ ครวญ นิยมใช้ อินทรวิเชยี รฉันท์ หรือว สันดิลกฉนั ท์
การเลือกใช้ฉนั ทป์ ระเภทตา่ งๆ ๓. บทแสดงอารมณ์รุนแรง เชน่ โกรธ ตื่นเตน้ วิตกกงั วล หรือ บรรยายความในใจเกีย่ วกบั ความรกั ท่ีต้องการใหเ้ หน็ อารมณส์ ะเทือนใจ อยา่ งมาก นยิ มใช้ อทิ สิ งั ฉันท์ ซ่ึงเปน็ ฉนั ท์ที่สลับเสียงหนกั เบา เน้นเสียง เป็นจงั หวะทกุ ระยะ ๔. บทพรรณนาโวหารหรือบรรยายข้อความทน่ี า่ ต่นื เตน้ หรือเป็น ทปี่ ระทับใจ นยิ มใช้ภชุ งคประยาตฉนั ท์
การเลอื กใช้ฉันทป์ ระเภทต่างๆ ๕. บทสนุกสนานขบขัน หรือคกึ คักสับสน ให้เหตการณ์บรรยายไป อยา่ งรวดเรซ็ จะนิยมใช้โตฏกฉันท์ มาณวกฉนั ท์ หรอื จติ รปทาฉนั ท์ ๖. บทบรรยายความ นิยมใช้ อเุ ปนทรวเิ ชียรฉนั ท์ อินทวงสฉันท์ วชิ ชุมมาลาฉนั ท์ หรือสาลนิ ีฉนั ท์
Search
Read the Text Version
- 1 - 46
Pages: