สรุป Cr.ภาพ และ ทฤษฎี ความหมาย ขอบเขต แนวคดิ Cr.ภาพ ความสาคัญทาง นวตั กรรม เทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อ การศึกษา นางสาวสายฝน สานประสิทธิ์ บริหารการศึกษา 61170386
How to get your research published? 11 Steps to organizing your manuscript 1. Prepare the figures and tables. 2. Write the Methods 3. Write up the Results. Write the Discussion. Finalize the Results and Discussion before writing the introduction. This is because if the discussion is insufficient, how can you objectively demonstrate the scientific significance of your work in the introduction? Write a dear Conclusion Unite a compelling introduction, 7. Write the Abstract. 8. Compose a concise and descriptive Title. 9. Select Keywords for indexing. 10. Write the Acknowledgements 11 Write up the References
Step 1: Prepare the figures and tables • Remember that \"a figure is worth a thousand words.\" Hence, illustrations, including figures and tables, are the most efficient way to present your results. Your data are the driving force of the paper, so your illustrations are critical! How do you decide between presenting your data as tables or figures? Step 2: Write the Methods • This section responds to the question of how the problem was studied. If your paper is proposing a new method, you need to include detailed information so a knowledgeable reader can reproduce the experiment. Step 3: Write up the Results . This section responds to the question What have you found?\" Hence, only representative results from your research should be presented. The results should be essential for discussion. . Do not attempt to \"hide\" data in the hope of saving it for a later paper. You may lose evidence to reinforce your conclusion. If data are too abundant, you can use those supplementary materials.
Step 4: Write the Discussion • Here you must respond to what the results mean. Probably it is the easiest section to write, but the https://sites.google.com hardest section to get right. This is because it is the most important section of your article. Here you Step 5: Write a clear get the chance to sell your data. Take into account Conclusion that a huge numbers of • This section shows how the manuscripts are rejected work advances the field from because the Discussion is the present state of weak. knowledge. In some journals, it's a separate section; in others, it's the last paragraph of the Discussion section. Whatever the case, without a clear conclusion section, reviewers and readers will find it difficult to judge your work and whether it merits publication in the journal.
Step 6: Write a compelling Introduction • This is your opportunity to convince readers that you clearly know why your work is useful. Step 7: Write the Step 8: Compose a concise Abstract and descriptive title The abstract tells • The title must explain prospective readers what the paper is broadly what you did and what about. It is your first (and the important findings probably only) opportunity in your research were. to attract the reader's Together with the title, attention. In this way, it's the advertisement remember that the first of your article. Make it readers are the Editor and interesting and easily the referees. Also, readers understood without are reading the whole the potential authors who article. Avoid using will cite your article, so the jargon, uncommon first impression is powerfull abbreviations and references.
Step 9: Select keywords for indexing Keywords are used for indexing your paper. They are the label of your manuscript. It is true that now they are less used by journals because you can search the whole text. However, when looking for keywords, avoid words with a broad meaning and words already included in the title. Step 10: Write the Acknowledgements Here, you can thank people who have contributed to the manuscript but not to the extent where that would justify authorship. For example, here you can include technical help and assistance with writing and proofreading. Probably, the most important thing is to thank your funding agency or the agency giving you a grant or fellowship. Step 11: Write up the References Typically, there are more mistakes in the references than in any other part of the manuscript. It is one of the most annoying problems, and causes great headaches among editors. Now, it is easier since to avoid these problem, because there are many available tools.
Cr.ภาพ นางสาวสายฝน สานประสิทธิ์ บริหารการศึกษา 61170386
ทฤษฎี ความหมาย ขอบเขต แนวคิด ความสาคัญทางนวัตกรรม เทคโนโลยี สารสนเทศเพือ่ การศึกษา ก า ร พั ฒ น า ท า ง ด้ า น เ ท ค โ น โ ล ยี สารสนเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน ดา้ นการศกึ ษา ทาให้เกดิ นวตั กรรม เพื่อการศึกษาขึ้นอย่างมากมาย ทั้งใน รูป แบบ ที่เ ป็น เ ครื่ องมื อ อุปกรณ์ สื่อการสอน รวมไปถึง แนวคิด และทฤษฎีต่างๆ ซึ่งจาก อดีตจนถึงปัจจุบันนะคะ มีการนา นวัตกรรมเข้ามาประยุกต์ใชก้ บั การ เรียนการสอนอย่างต่อเนื่อง ส่งผล ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมี ประสิทธิภาพ และยังทาให้การ เรียนรู้บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ต้ัง ไว้ด้วยอีกคะ โดยนวัตกรรมต่างๆ ทีถ่ กู นามาใช้เพื่อการเรยี นการสอน นั้น สามารถเป็นได้ ทั้งในรูปแบบที่ เป็น IT และไม่ใช่ IT หลายคนอาจ คิดว่า เมื่อพูดถึงคาว่านวัตกรรม แล้ว จะต้องเป็นอะไรที่เกี่ยวกับ เทคโนโลยี แต่จริงๆ แล้วนวัตกรรม ที่ ใ ช้ ใ น ก า ร ศึ ก ษ า อ า จ ไ ม่ ใ ช่ เทคโนโลยีเพียงอย่างเดียว การใช้ วิธีการสอน หรือทฤษฏีการสอน แบบใหม่ๆ เครื่องมือ อุปกรณ์ ที่ ไม่ใช่เทคโนโลยี เราก็เรียกส่ิงนี้ว่า เป็นนวตั กรรมไดเ้ ชน่ กัน
นวตั กรรม INNOVATION แนวความคิดใหม่ วิธีการปฏบิ ตั ิใหม่ สิ่งประดิษฐ์ใหม่ๆ ดดั แปลงจากของเดมิ เมือ่ นานวัตกรรมมาใช้จะชว่ ยให้การทางานน้ัน ได้ผลดี มีประสทิ ธิภาพและประสิทธิผลสูง กวา่ เดิม ท้ังยังช่วยประหยัดเวลาและแรงงานได้ ดว้ ย เกิดเป็นนวัตกรรม https://www.modify.in.th/16142 ท า ง เ ท ค โ น โ ล ยี ส า ร ส น เ ท ศ ขึ้ น มากมาย ไม่ว่าจะ เ ป็ น ด้ า น เ ค รื่ อ ง มื อ หรืออุปกรณ์ เช่น คอมพิวเตอร์ เครื่อง วิชวลไลเซอร์ เครื่อง แ อ ล ซี ดี เ ป็ น ต้ น รวมทั้งการใช้สื่อการ ส อ น ใ ห ม่ เ ช่ น บทเรียนคอร์สแวร์ การเรียนการสอน ผ่านเว็บ อีเลิร์นนิ่ง วิ ดี โ อ ส ต รี ม มิ่ ง ร ว ม ถึ ง Social media for Learning https://www.facebook.com/pg/เคร่ืองวชิ วลไลเซอร์
เราจะพบว่านวตั กรรมหรือเทคโนโลยี ท่ีสถานศกึ ษาแต่ละแห่งนามาใช้ในการ เรียนการสอน โดยมากจะคานงึ ถงึ ความเหมาะสม และความพร้อมของสถานศกึ ษาเป็นสาคญั สถานศกึ ษาที่มีความพร้อมทงั้ ทางด้านอปุ กรณ์ สถานท่ี งบประมาณ และบคุ ลากร อาจเร่ิมมี การใช้นวตั กรรมหรือเทคโนโลยีมาแล้วหลายยคุ จากอดีตจนถึงปัจจบุ นั เชน่ Blackboard Whiteboard https://pixabay.com/th/illustrat Projector Electronic Devices Smart board ดงั นัน้ การที่จะให้ทกุ คนเปลี่ยนตนเองมาใช้นวัตกรรม จงึ ควรจะพิจารณาและศึกษาให้เกิดความเข้าใจ ในเรื่องของการยอมรับ นวตั กรรม ที่คลอบคลมุ ประเภทของคน กล่มุ คน กบั การยอมรับนวตั กรรม เสียก่อนนะคะ นอกจากนีย้ ังต้องรู้ถึงธรรมชาติของคนในการยอมรั บ นวตั กรรม ซง่ึ ได้แก่ระยะพฒั นาการการยอมรับนวตั กรรม รวมไปถึงวิธีการ ในการที่จะทาให้นวตั กรรมนนั้ ๆ เกิดการยอมรับจากคนหม่มู ากอีกด้วย ..................................................................
จากการศึกษาของ Everett M. Rogers เรื่องการเผยแพรน่ วัตกรรม หรือ Diffusion of Innovation Model แสดงให้เหน็ สัดสว่ นของการ ยอมรบั นวตั กรรมทีแ่ ตกต่างกนั ซึง่ สามารถแบง่ ไดด้ ังนี้ กลุ่มแรกคนแบบ Innovator หรือที่เราเรียกกันว่ากลุ่มนวัตกร กลุ่ม คนเหล่านี้จะเป็นกลุ่มแรกๆ ที่ต้องการใช้หรืออยากลองนวัตกรรม แนวคิด คนกลมุ่ นจี้ ะยินดีใชน้ วตั กรรมหรือเทคโนโลยีใหม่ โดยยอมรบั กับ ปัญหาและความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นในระยะแรกๆ ในการใช้สิ่งใหม่ๆ เหล่าน้ัน ยกตวั อย่างเชน่ การนาสมารท์ บอรด์ หรือ การนา MOOC มาใช้ ในหอ้ งเรียน กลุ่ม นวัตกร จะเป็นคนกลุ่มแรกที่สนใจ เข้าไปศึกษาเรียนรู้ และนาไปใชใ้ นการเรยี นการสอนทนั ที กลุ่มที่ 2 เราเรยี กว่ากลุ่ม Early Adopters คือกลมุ่ คนทีพ่ รอ้ มจะ เปล่ยี นแปลงตนเองเมือ่ เห็นคนอืน่ เริ่มใช้ และมองเห็นประโยชน์จาก นวตั กรรมหรือเทรนดใ์ หม่ๆทีเ่ กิดขึน้ มีความตระหนกั ถึงความจาเปน็ ที่ จะต้องมีการเปลย่ี นแปลง ไมจ่ าเป็นต้องโน้มน้าวหรือชักจูงให้ เปลย่ี นแปลง คิดเปน็ 13.5% https://sites.google.com/site/dememu112233
กลุ่มคนกลุ่มที่ 3 เราจะเรียกว่า Early Majority คิดเป็นประมาณ 34% คนกลุ่มนี้มีความพร้อมที่จะเปล่ียนแปลงตนเอง มองเห็นประโยชน์จาก นวัตกรรมหรือเทรนด์ใหม่ๆ ที่เกิดขึ้น แต่จะระมัดระวังและใช้เหตุผลในการ ตัดสินใจ กลุ่มที่ 4 เราเรียกว่า Late Majority คือคนส่วนใหญ่ กลุ่มมาทีหลัง คิด เป็นอีก 34% คนกลุ่มนี้จะเป็นกลุ่มคนที่จะเปล่ียนแปลงตนเองช้าที่สุด ถ้า ไมโ่ ดนส่ังหรือบังคับ ก็จะไม่ยอมเปลี่ยนแปลง หรือคนอื่นเขาใช้จนจะตกยุค แล้ว ค่อยมาเริ่มใช้ คนกลุ่มนี้มีความต้องการที่จะไม่ตกกระแสหลักไป ซึ่ง มากกว่าการคิดถึงประโยชน์ของนวัตกรรมหรือบริการเสียอีก กลุ่มสุดท้าย เราเรียกกันว่า Laggards คือกลุ่มที่ล้าหลัง คิดเป็น 16% ซึ่งมักเป็นกลุ่มผู้มี อายุ ที่เคยใช้เทคโนโลยีเดิมๆ จนเคยชินไม่อยากเปล่ียนแปลง เนื่องจากไม่ ต้องการเรียนรู้ใหม่ คนกลุ่มนี้เป็นกลุ่มที่ไม่ยอมเปล่ียนแปลงตนเอง มัก พอใจกบั สง่ิ ที่ตวั เองมีอยแู่ ล้วและไมเ่ ชือ่ ในเรื่องเทคโนโลยีใหม่ๆ
สาหรับแนวคิดความสาคัญของนวัตกรรม และการ ยอมรับนวัตกรรมทางเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา นวัตกรรมไม่จาเป็นต้องเป็นอะไรที่เก่ียวกับเทคโนโลยีเพียง อย่างเดียว ผู้สอนที่อยู่ในที่ที่ไม่พร้อมด้านเทคโนโลยี ก็ สามารถที่จะใช้นวัตกรรมที่เป็นแนวคิด เทคนิค หรือ วิธีการ ใหม่ๆ ใดๆ กไ็ ด้เช่นกนั เมื่อทราบเช่นนี้กันแล้ว ก็คงเป็นหน้าที่ ของพวกเราผู้สอนนะคะ ที่จะพิจารณาเลือกใช้นวัตกรรมที่ เหมาะกับสภาพแวดล้อม และการจัดการเรียนการสอนของ ตัวเอง อา้ งอิงข้อมลู จาก .. โครงการอบรม “การเขียนบทความวิชาการ และบทความวิจัยเพ่อื ตีพิมพใ์ นวารสารระดบั ชาติและ ระดบั นานาชาต”ิ สาหรบั นสิ ิตระดับบณั ฑิตศกึ ษา ----------------------------------------------- โดย รองศาสตราจารย์ ดร.เสมอ ถาน้อย รองอธิการบดีฝ่ายวิจยั และนวัตกรรม 31 สิงหาคม 2562 ณ ห้อง ICT 1107 อาคารเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร -------------------------------------------- และ https://www.youtube.com/watch?v=Gy-CGDb0Tgc
Search
Read the Text Version
- 1 - 13
Pages: