โครงสร้างของระบบเครือข่าย จัดทาโดย นาย.ธนาคาร พรหมรักษ์ ปวส.2 เลขท.่ี 9 เสนอ อาจารย์ ทวีศักดิ์ หนูทมิ แผนก เทคโนโลยสี ารสนเทศ วทิ ยาลัยอาชีวศกึ ษานครศรีธรรมราช
1. แบบบสั (bus topology) โครงสรา้ งเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอรแ์ บบบสั จะประกอบดว้ ย สายสง่ ขอ้ มลู หลกั ท่ีใชส้ ง่ ขอ้ มลู ภายในเครอื ข่าย เคร่อื งคอมพวิ เตอรแ์ ต่ละเคร่อื ง จะเช่ือมต่อเขา้ กบั สายขอ้ มลู ผา่ นจดุ เช่ือมตอ่ เม่ือมีการสง่ ขอ้ มลู ระหว่างเคร่อื งคอมพวิ เตอรห์ ลายเคร่อื งพรอ้ มกนั จะมีสญั ญาณขอ้ มลู ส่งไป บนสายเคเบลิ้ และมีการแบง่ เวลาการใชส้ ายเคเบลิ้ แตล่ ะเคร่อื ง ขอ้ ดี -ใชส้ ่ือนาขอ้ มลู นอ้ ย ชว่ ยใหป้ ระหยดั คา่ ใชจ้ า่ ย -ถา้ เครอ่ื งคอมพวิ เตอรเ์ ครอ่ื งใดเคร่อื งหน่งึ เสียก็จะไม่ส่งผลต่อการทางานของระบบโดยรวม ขอ้ เสีย -การตรวจจดุ ท่ีมีปัญหา กระทาไดค้ อ่ นขา้ งยาก และถา้ มีจานวนเครอ่ื งคอมพิวเตอรใ์ นเครอื ขา่ ย มากเกินไป จะมีการสง่ ขอ้ มลู ชนกนั มากจนเป็นปัญหา 2. แบบวงแหวน (ring topology) โครงสรา้ งเครอื ข่ายคอมพวิ เตอรแ์ บบวงแหวน มีการเช่ือมตอ่ ระหว่างเครอ่ื งคอมพวิ เตอรโ์ ดย ท่ีแตล่ ะการเช่ือมตอ่ จะมีลกั ษณะเป็นวงกลม การสง่ ขอ้ มลู ภายในเครอื ขา่ ยนีก้ ็จะเป็นวงกลม ดว้ ยเช่นกนั ทศิ ทางการส่งขอ้ มลู จะเป็นทิศทางเดียวกนั เสมอ จากเครอ่ื งหน่งึ จนถึงปลายทาง ในกรณีท่ีมีเคร่อื งคอมพวิ เตอรเ์ ครอ่ื งใดเครอ่ื งหนง่ึ ขดั ขอ้ ง การส่งขอ้ มลู ภายในเครอื ขา่ ยชนดิ นี้ จะไม่สามารถทางานต่อไปได้ 1
ข้อดี – ใชส้ ายเคเบิล้ นอ้ ย -ถา้ ตดั เครอ่ื งคอมพวิ เตอรท์ ่ีเสียออกจากระบบ ก็จะไม่สง่ ผลตอ่ การทางานของระบบเครอื ขา่ ยนี้ และจะไมม่ ีการชนกนั ของขอ้ มลู ท่ีแตล่ ะเคร่อื งสง่ 3. แบบดาว (star topology) โครงสรา้ งเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอรแ์ บบดาว ภายในเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอรจ์ ะตอ้ งมีจกุ ศนู ยก์ ลางในการควบคมุ การเช่ือมต่อคอมพวิ เตอร์ หรอื ฮบั (hub) การส่ือสารระหวา่ งเครอ่ื ง คอมพวิ เตอรต์ า่ งๆ จะส่ือสารผ่านฮบั ก่อนท่ีจะสง่ ขอ้ มลู ไปสเู่ ครอ่ื งคอมพวิ เตอรเ์ ครอ่ื งอ่ืนๆ โครงสรา้ งเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์ ขอ้ ดี -ถา้ ตอ้ งการเช่ือมตอ่ คอมพวิ เตอรเ์ ครอ่ื งใหม่ก็สามารถทาไดง้ ่ายและไม่กระทบต่อเครอ่ื ง คอมพวิ เตอรอ์ ่ืนๆ ในระบบ ขอ้ เสีย -ค่าใชจ้ า่ ยในการใชส้ ายเคเบิล้ จะคอ่ นขา้ งสงู และเม่ือฮบั ไมท่ างาน การส่ือสารของคอมพวิ เตอร์ ทง้ั ระบบก็จะหยดุ ตามไปดว้ ย 4.แบบตน้ ไม้ (Tree Topology) มีลกั ษณะเช่ือมโยงคลา้ ยกบั โครงสรา้ งแบบดาวแตจ่ ะมีโครงสรา้ งแบบตน้ ไม้ โดยมสี ายนาสญั ญาณแยกออกไปเป็นแบบกิ่ง ไมเ่ ป็นวงรอบ โครงสรา้ งแบบนจี้ ะเหมาะกบั การประมวลผลแบบกลมุ่ จะประกอบดว้ ยเครอื่ งคอมพวิ เตอรร์ ะดบั ตา่ งๆกนั อยู่ หลายเครอื่ งแลว้ ตอ่ กนั เป็นชนั้ ๆ ดรู าวกบั แผนภาพองคก์ ร แตล่ ะกลมุ่ จะมโี หนดแมล่ ะโหนดลกู ในกลมุ่ นนั้ ท่ีมกี ารสมั พนั ธ์ กนั การสอื่ สารขอ้ มลู จะผา่ นตวั กลางไปยงั สถานีอ่นื ๆไดท้ งั้ หมด เพราะทกุ สถานจี ะอยบู่ นทางเชื่อม และรบั สง่ ขอ้ มลู เดียวกนั ดงั นนั้ ในแตล่ ะกลมุ่ จะสง่ ขอ้ มลู ไดท้ ลี ะสถานโี ดยไมส่ ง่ พรอ้ มกนั 2
ขอ้ ดี – มีความเรว็ ในการส่ือสารขอ้ มลู สงู โปรแกรมท่ีใชใ้ นการควบคมุ การส่ือสารก็เป็นแบบพืน้ ฐาน ไม่ซบั ซอ้ นมากนกั – สามารถรบั สง่ ขอ้ มลู ไดป้ รมิ าณมากและไม่มีปัญหาเรอ่ื งการจดั การการจราจรในส่ือส่งขอ้ มลู ไม่เหมือนกบั แบบท่ีใชส้ ่ือสง่ ขอ้ มลู รว่ มกนั – มีความทนทานตอ่ ความเสียหายเม่ือส่ือสง่ ขอ้ มลู หรอื สายใดสายหน่งึ เสียหายใชก้ ารไม่ได้ ไม่ สง่ ผลต่อระบบเครอื ข่ายโดยรวม แตเ่ กิดเสียหายเฉพาะเครอ่ื งตน้ สายและปลายสายเท่านนั้ – ระบบเครอื ข่ายมีความปลอดภยั หรอื มีความเป็นสว่ นตวั เม่ือขา่ วสารถกู รบั สง่ โดยใชส้ าย เฉพาะระหว่าง 2 เครอ่ื งเทา่ นนั้ เครอ่ื งอ่ืนไมส่ ามารถเขา้ ไปใชส้ ายรว่ มดว้ ย – เน่ืองจากโทโพโลยีแบบสมบรู ณเ์ ป็นการเช่ือมตอ่ แบบจดุ ตอ่ จดุ ทาใหเ้ ราสามารถแยกหรอื ระบุ เคร่อื งหรอื สายท่ีเสียหายไดท้ นั ที ชว่ ยใหผ้ ดู้ แู ลระบบแกไ้ ขขอ้ ผิดพราดหรอื จดุ ท่ีเสียหายไดง้ า่ ย ขอ้ เสีย – จานวนสายท่ีใชต้ อ้ งมีจานวนมากและอินพดุ / เอาตพ์ ตุ พอรต์ (i / o port ) ตอ้ งใชจ้ านวนมาก เช่นกนั เพราะแต่ละเคร่อื งตอ้ งต่อเช่ือมไปยงั ทกุ ๆ เครอ่ื งทาใหก้ ารติดตง้ั หรอื แกไ้ ขระบบทาได้ ยาก – สายท่ีใชม้ ีจานวนมาก ทาใหส้ ิน้ เปลืองพนื้ ท่ีในการเดินสาย – เน่ืองจากอปุ กรณต์ อ้ งการใชอ้ นิ พดุ / เอาตพ์ ตุ พอรต์ จานวนมาก ดงั นน้ั ราคาของอปุ กรณ์ ตอ่ เช่ือมจงึ มีราคาแพงและจากขอ้ เสียขา้ งตน้ ทาใหโ้ ทโพโลยีแบบสมบรู ณจ์ งึ ถกู ทาไปใช้ คอ่ นขา้ งอยใู่ นวงแคบ 3
แบบผสม (Hybrid Network) คือ เป็นเครอื ข่ายท่ีผสมผสานกนั ทง้ั แบบดาว,วงแหวน และบสั เช่น วิทยาเขตขนาดเลก็ ท่ีมี หลายอาคาร เครอื ข่ายของแตล่ ะอาคารอาจใชแ้ บบบสั เช่ือมตอ่ กบั อาคารอ่ืนๆท่ีใชแ้ บบดาว และแบบวงแหวน 4
เครือข่ายคอมพวิ เตอร์แบ่งแยกออกตามสภาพการเชื่อมโยงไดเ้ ป็น 3 ชนิดคือ 1. เครอื ข่ายทอ้ งถ่ิน หรอื เครอื ขา่ ยแลน (Local Area Network : LAN) 2. เครอื ข่ายระดบั เมือง หรอื เครอื ขา่ ยแมน (Metropolitan Area Network : MAN) 3. เครอื ขา่ ยระดบั ประเทศ หรอื เครอื ข่ายแวน (Wide Area Network : WAN) เครือข่ายทอ้ งถิ่น (LAN) เครอื ขา่ ยแลน หรอื เครอื ขา่ ยทอ้ งถ่ิน เป็นเครอื ขา่ ยขนาดเลก็ ใชก้ นั อย่ใู นบรเิ วณไม่กวา้ ง ซง่ึ เช่ือมโยงคอมพวิ เตอรแ์ ละอปุ กรณส์ ่ือสาร ท่ีอยใู่ นทอ้ งท่ีบรเิ วณเดียวกนั เขา้ ดว้ ยกนั เช่น ภายในอาคาร หรอื ภายในองคก์ ารท่ีมีระยะทางไม่ไกลมากนกั เครอื ข่ายแลนจดั ไดว้ า่ เป็น เครอื ข่ายเฉพาะขององคก์ าร การสรา้ งเครอื ข่ายแลนนีอ้ งคก์ ารสามารถดาเนินการทาเองได้ โดย วางสายสญั ญาณส่ือสารภายในอาคาร หรอื ภายในพนื้ ท่ีของตนเอง เครอื ขา่ ยแลนมีตง้ั แต่ เครอื ขา่ ยขนาดเลก็ ท่ีเชือมโยงคอมพวิ เตอรต์ ง้ั แตส่ องเครอ่ื งขนึ้ ไป ภายในหอ้ งเดียวกนั จนถึง เช่ือมโยงระหว่างหอ้ ง หรอื องคก์ ารขนาดใหญ่ เช่น มหาวิทยาลยั มีการวางเครอื ขา่ ยท่ีเช่ือมโยง ระหวา่ งอาคารภายในมหาวทิ ยาลยั เครอื ขา่ ยแลนจงึ เป็นเครอื ขา่ ยท่ีรบั ผดิ ชอบโดยองคก์ ารท่ี เป็นเจา้ ของ รูปท่ี 1 ระบบเครอื ขา่ ยทอ้ งถ่ิน 5
เครือข่ายระดบั เมือง (MAN) เป็นเครอื ขา่ ยท่ีใชภ้ ายในเมือง หรอื ภายในจงั หวดั เป็นระบบท่ีมีขนาดกลางอย่รู ะหวา่ ง เครอื ข่ายแลน กบั เครอื ข่าย แวน รูปท่ี 2 ระบบเครอื ข่ายระดบั เมือง เครือข่ายระดบั ประเทศ (WAN) เป็นเครอื ข่ายคอมพวิ เตอรท์ ่ีเช่ือมโยงระบบคอมพวิ เตอรใ์ นระยะห่างไกล เป็นเครอื ข่ายขนาด ใหญ่ มีการตดิ ตอ่ ตอ่ ส่ือสารกนั ในบรเิ วณกวา้ ง เช่น เช่ือมโยงระหว่างจงั หวดั ระหวา่ งประเทศ การสรา้ งเครอื ข่ายระยะไกลจงึ ตอ้ งอาศยั ระบบบรกิ ารข่ายสายสาธารณะ เช่น ใชส้ ายวงจรเช่า จากองคก์ ารโทรศพั ทแ์ ห่งประเทศไทย หรอื การส่ือสารแห่งประเทศไทย ใชว้ งจรส่ือสารผา่ น ดาวเทียม ใชว้ งจรส่ือสารเฉพาะกิจท่ีมีใหบ้ รกิ ารแบบสาธารณะ เครอื ข่ายแวนจงึ เป็นเครอื ข่ายท่ี ใชก้ บั องคก์ ารท่ีมีสาขาหา่ งไกล และตอ้ งการเช่ือมสาขา เหล่านนั้ เขา้ ดว้ ยกนั เช่น ธนาคาร มี สาขาท่วั ประเทศ มีบรกิ ารรบั ฝากและถอนเงนิ ผ่านตเู้ อทีเอม็ รูปท่ี 3 ระบบเครอื ข่ายระดบั ประเทศ เทคโนโลยีท่ีใชก้ บั เครอื ข่ายแวนมีความหลากหลาย มีการเช่ือมโยงระหวา่ งประเทศดว้ ย ช่องสญั ญาณดาวเทียม เสน้ ใยแกว้ นาแสง คล่ืนไมโครเวฟ คล่ืนวิทยุ สายเคเบิลทงั้ ท่ีวางไปตาม ถนนและวางใตน้ า้ เทคโนโลยีของการเช่ือมโยงไดร้ บั การพฒั นาไปมาก แต่ก็ยงั ไม่พอเพียงกบั ความตอ้ งการท่ีเพ่มิ มากขึน้ อยา่ งรวดเรว็ 6
4
Search
Read the Text Version
- 1 - 8
Pages: