Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 2

หน่วยที่ 2

Published by BOOk RUAMSUK, 2022-01-20 04:29:57

Description: หน่วยที่ 2

Search

Read the Text Version

ภาวะผูน้ าทางวิชาการ ภาวะผู้นาของผู้บริหารเป็นสิ่งสาคัญที่สุดในการบริหารงานให้ประสบผลสาเร็จ ทาให้งานมี คุณภาพ ซึ่งในปัจจุบับการพัฒนาคุณภาพของผู้บริหารในยุคปฏิรูปการศึกษาต้องมีคุณลักษณะและ พฤติกรรมของผู้บริหารที่ให้ความสาคัญ ในด้านภาวะผู้นาทางวิชาการ คือ ความสามารถในการ ปฏิบัติงานของผู้บริหารเพราะผู้บริหารสถานศึกษาคนเดียว ไม่สามารถดาเนินการทุกอย่างให้สาเร็จได้ จะต้องอาศัยผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย การที่ผู้บริหารจะ ได้รับความร่วมมือด้วยดีนั้นจะต้องดาเนินบทบาท และพฤติกรรมที่เหมาะสม ในการรวมพลังครูทาให้กิจกรรมด้านการเรียนการสอนเกิดประสิทธิภาพ ผู้บริหารสถานศึกษาที่มีประสิทธิภาพบริหารงานวิชาการ ของสถานศึกษาประสบผลสาเร็จ เป็นที่พึง พอใจน้ันจะมีคุณลักษณะ โดดเด่นเฉพาะอยู่หลายประการ โดยดาเนินงานในการกาหนดภาวะผู้นาทาง วิชาการให้เป็นไปตามบทบาทหน้าที่ของผู้บริหารในการปฏิบัติไว้ 5ด้าน คือ มุมมองต่อแนวโน้มการ เปลีย่ นแปลงหลักสตู ร การประเมนิ ผลนกั เรียน การจดั โครงการดา้ นรับเด็กทีม่ ีความตอ้ งการพิเศษ การ ประเมินผล การสอนของครู และการวางแผนเพื่อพัฒนาความก้าวหน้าในวิชาชีพของครู โดยผู้บริหาร ต้องทางานร่วมกับครู กระตุ้นครูให้คาเนะนาครู และประสานงานให้ครูทุกคนทางานร่ามมือกันด้วย เทคนิควิธีที่มีคุณภาพ ซึ่งจะส่งผลให้การบริหารงานวิชาการของสถานสึกษาเกิดประสิทธิผลสูงสุดการ บริหารงานวิชาการเป็นงานสาคัญของสถานศึกษา เน่ืองจากงานวิชาการจะเกี่ยวข้องกับการผู้บริหาร สถานศกึ ษาเปน็ ตวั แปรที่สาคญั ในการบริหารจดั การสถานศกึ ษาให้เกิดประโยชน์สูงสุดกบั ผเู้ รียน ดังนน้ั ผู้บริหารจึงควรมีความสามารถที่รอบรู้ โดยเฉพาะหัวใจหลักของการบริหารงาน คือ งานด้านวิชาการ เน่ืองจากความสามารถของผู้บริหารสถานศึกษาจะเป็นการส่งเสริมและสนับสนุนนาไปสู่ความสาเร็จ ตามเป้าหมาย โดยการนาความรู้ ทกั ษะต่างๆ มาใช้ในการปฏิบัติภาระหน้าที่เพือ่ นาผรู้ ่วมงานใหร้ ่วมมือ ปฏิบตั ิงานไปสู่ความมีประสิทธิภาพทางการเรยี นการสอน ความหมายของภาวะผ้นู า ภาวะผู้นา (Leadership) ได้มีนักวิชาการ และนักการศึกษา ให้ความหมายไว้อย่างหลากหลาย ดังน้ี Jacobs (1970), Stogdill (1974) และ Boles and Davanport (1975) (อ้างถึงใน นิกัญชลา ล้น เหลือ 2554: 3) ได้ให้ความหมายของภาวะผู้นา (leadership) ในลักษณะของปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล โดยที่ฝ่ายหนึ่งเป็นผู้ให้สารสนเทศเพื่อให้อีกฝ่ายหนึ่งเชื่อมั่นว่าหากทาตามแล้วจะบรรลุผลตามที่ ต้องการ ต่อมาในยุคระหว่างปี 1980-1989 นักวิชาการได้ให้ความหมายของภาวะผู้นาในลักษณะที่

ซับซ้อนยิ่งขึ้น โดยให้ความหมายในลักษณะกระบวนการของความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และการใช้ อิทธิพลต่อพฤติกรรมของผู้อน่ื Daft (1994, p. 478 อ้างถึงใน กฤษพล อัมระนนั ท์, 2559 หนา้ 24) กล่าวว่า ภาวะผู้นาหมายถึง ความสามารถของคนที่เป็นผู้นา ในการใช้อิทธิพลหรือโน้มน้าวบุคคลอื่นเพื่อนาไปสู่การบรรลุถึง เป้าหมายขององค์กร ดงั นน้ั เมือ่ กล่าวถึงภาวะผนู้ า ก็แสดงว่าต้องประกอบด้วยองค์ประกอบ 3 ประการ คือ ต้องมีท้ังคน ึซ่งได้แก่ ผนู้ า กับผตู้ าม การโน้มนา้ วหรอื อิทธิพล และเป้าหมายขององค์กร ธนาภรณ์ นีลพันธนันท์ (2562, หน้า 18) ได้ให้ความหมายไว้ว่า ภาวะผู้นา หมายถึง ความสามารถในการโน้มน้าวชักนาจูงใจ และมีอิทธิพลมีการปฏิสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในกลุ่มเพื่อ ดาเนินกิจการไปสู่ความสาเร็จตามเป้าหมายที่วางไว้ร่วมกัน และสามารถวัดได้จากการแสดงออกใน การกระทาของผู้นา และความสามารถดาเนินงานให้บรรลุเป้าหมายตามทีว่ างไว้ จากข้างต้นสามารถสรปุ ความหมายของภาวะผู้นาได้ว่า ภาวะผู้นา หมายถึง ความสามารถของ บุคคลในสร้างความยอมรับ เชื่อถือ และมีอิทธิพลในการการหลอมความแตกต่างทางด้านความคิด ความสนใจ ความต้องการหรือพฤติกรรมของบุคคล หรือกลุ่มบุคคลในองค์กรให้หันไปในทิศทาง เดียวกันอย่างมีศิลปะ ไม่มีความขัดแย้งในองค์กรในขณะใดขณะหนึ่งหรือในสถานการณ์ต่าง ๆ เพื่อให้ บรรลุวตั ถปุ ระสงค์และเป้าหมายทีก่ าหนดไว้ ภาวะผู้นาทางวชิ าการ สถาบันพัฒนาความก้าวหน้า (สถาบันพัฒนาความก้าวหน้า, 2553 อ้างถึง ใน อัศนีย์สุกิจใจ, 2560 น. 41) ได้กล่าวว่า ภาวะผู้นาทางวิชาการของผู้บริหาร สถานศึกษา หมายถึง พฤติกรรมการ กระทาหน้าที่ตามบทบาทของผู้บริหาร สถานศึกษาอย่างสร้างสรรค์ในการชี้นา หรือโน้มน้าวจูงใจ ข้าราชการครู และบุคลากร ทางการศึกษาตลอดจนผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายให้เข้าใจและเกิดความตระหนัก ในการรวม พลังและประสานสัมพันธ์เพื่อพัฒนางานวิชาการและวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง โดยตรงกับ การ ส่งเสริมและพัฒนาการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนได้บรรลุผลสาเร็จตามเป้าหมายที่ได้ กาหนดไว้อย่างมี คณุ ภาพ บุญพา พรหมณะ (2559, น. 30) ได้กล่าวว่า ภาวะผู้นาทางวิชาการ หมายถึง การบริหาร จัดการของผู้บริหารในสถานศึกษาในการชี้นา ส่งเสริม สนับสนุน และโน้มน้าว จูงใจในการพัฒนางาน วิชาการที่เกี่ยวข้องกับการกาหนดภารกิจของ โรงเรียน การพัฒนาการเรียนการสอน การส่งเสริม พัฒนาบุคลากร และการสร้างบรรยากาศในโรงเรียนให้เอื้อต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน เพื่อให้การจัด กิจกรรมการเรียน การสอนเป็นไปอย่างมปี ระสิทธิภาพบรรลตุ ามวตั ถปุ ระสงค์ตามที่กาหนดไว้ ฮอย และฮอย (Hoy and Hoy, 2003 อ้างถึงใน พระมหาพิทยา จันทร์วงศ์, 2557 น. 42) ได้ กล่าวไว้ ภาวะผู้นาทางวิชาการ หมายถึง ผู้บริหารโรงเรียนที่เป็นผู้นา ทางการศึกษาที่ส่งเสริม

ความสาเร็จของนักเรียนทุกคนโดยการสนับสนุน บารุง และ รักษา วัฒนธรรมของโรงเรียนและ โปรแกรมการเรียนการสอนที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของ นกั เรียนและบุคลากรทางการศกึ ษาใหเ้ จริญเติบโต อย่างมอื อาชีพ จากความหมายของภาวะผู้นาทางวิชาการสรุปได้ว่าภาวะผู้นาทางวิชาการ หมายถึง ความสามารถของผู้บริหารโรงเรียนในการเข้าใจเร่ืองมาตรฐานและหลักสูตร ซึ่งเป็น หัวใจของการ พัฒนาคุณภาพการศึกษา เพื่อให้สามารถช่วยเหลือให้คาแนะนาแก่ครู และบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนการตัดสินใจในทิศทางที่ถูกต้อง เพื่อการจัดทา หลักสูตรสถานศึกษาเป็นไปอย่างมีคุณภาพ และเหมาะสมกบั บริบทความต้องการของ โรงเรียน นอกจากน้ันผู้บริหารโรงเรียนจะต้องมีความรู้ความ เข้าใจเร่ืองระบบ ตรวจสอบและประกันคุณภาพเป็นข้อมูลในการตัดสินใจและปรับปรุงการจัด การศกึ ษาเพื่อให้บรรลผุ ลตามทีค่ าดหวัง องคป์ ระกอบของภาวะผู้นาทางวชิ าการ ฮอลลิงเจอร์และเมอร์ฟี(Hallinger & Murphy, 1985, p. 221-224) ได้ เสนอองค์ประกอบของ ภาวะผู้นาทางวิชาการของผู้บริหารสถานศกึ ษาไว้ 3 องค์ประกอบหลกั 11 องค์ประกอบย่อย ดงั น้ี 1. การกาหนดภารกิจของโรงเรียน (Defining the school Mission) มีองค์ประกอบย่อย 2 องค์ประกอบ ได้แก่ 1.1 การกาหนดเป้าหมายของโรงเรียน 1.2 การสอ่ื สารเป้าหมายของโรงเรียน 2. การบริหารจัดการด้านการเรียนการสอน ( Managing the Instructional Program) มี องค์ประกอบย่อย 3 องค์ประกอบ ได้แก่ 2.1 การนเิ ทศและการประเมนิ ผลการสอนของครู 2.2 การประสานงานการใชห้ ลกั สูตร 2.3 การตรวจสอบความก้าวหน้าของนักเรียน 3. การเสริมสร้างบรรยากาศทางวิชาการของโรงเรียน ( Promote School Climate) มี องค์ประกอบย่อย 6 องค์ประกอบ ได้แก่ 3.1 การควบคุมการใชเ้ วลาในการสอน 3.2 การดูแลเอาใจใส่ครู และนักเรียนอย่างใกล้ชิด 3.3 การจดั ส่งิ จูงใจให้กบั ครู 3.4 การส่งเสริมให้มีการพัฒนาวชิ าชีพ 3.5 การพฒั นาและสร้างมาตรฐานด้านวิชาการ 3.6 การจัดให้มีสง่ิ สง่ เสริมสภาพการเรียนรู้

อับเบน และฮิวส์(Ubben & Hughes , 1987, p. 97-99) ได้กล่าวถึง องค์ประกอบของภาวะผู้นาทาง วิชาการ ไว้ 7 ด้าน ดงั น้ี 1. การทางานตามเวลาทีก่ าหนด 2. การจดั บรรยากาศที่ดขี องโรงเรียน 3. การมงุ่ เน้นด้านวิชาการ 4. การคาดหวังตอ่ ครแู ละผลการปฏิบตั ิงานของครู 5. การทางานด้านหลกั สูตร 6. การเปน็ ผู้นาที่มปี ระสิทธิภาพ 7. การประเมนิ ผลและการตรวจสอบความก้าวหน้าของนกั เรียน การพฒั นาผนู้ าทางวิชาการ 1.พัฒนาคุณสมบตั ิ / คุณลักษณะส่วนตน 1.1 มีวสิ ัยทัศนก์ ว้างไกล มองอนาคต ก้าวหน้า ทนั สมยั มีทัศนะคติทางบวก เปิดใจกว้าง ฯ 1.2 มีอุปนิสัยพื้นฐานทางบวก ขยัน ซื่อสัตย์ ประหยัด อดทน รับผิดชอบ กล้าตัดสินใจ มีเหตุผล มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม มีมนษุ ยสมั พันธ์ ทางานเป็นทีมได้ ฯ 1.3 เปน็ บุคคลเรียนรู้ สนใจใฝศ่ กึ ษา ค้นคว้า วิจยั ทบทวนไตรต่ รองพจิ ารณา ฯ 1.4 สร้างผลงาน คิดสร้างสรรค์ สร้างจินตนาการ หาทางพฒั นาตน พฒั นางาน 2. ภาระงาน (การนาความรู้ไปปฏิบัติ) 2.1 งานส่วนตน: หากตนพร้อม สมดุลในตน จะสรรสร้างโลกให้งดงามได้ 1) ดูแล/พัฒนาบุคลิกภาพทั้งภายนอก ภายใน สร้างการยอมรบั ศรทั ธา ตามสถานภาพ แหง่ ตน 2) ดูแลรับผิดชอบครอบครัว ชุมชน สังคม / อาชีพ ตามบทบาทแห่งตนในฐานะคนไทย คนบ้านเรา เปน็ ลกู เป็นพ่อแม่ เปน็ ญาติ ฯ 3) สร้างสมดุลแห่งชีวิตทุกด้าน สุขภาพ กาย จิต วิญญาณ ปรัชญาชีวิต ความเชื่อ ความศรัทธา ศาสนา เศรษฐกิจ สถานภาพทางสงั คม 2.2 งานอาชีพ: คือ วิถีชีวติ 1) งานประจา เข้าใจเป้าหมาย พันธกิจ นโยบายขององค์กร ภารกิจของตน และมุ่งม่ัน ให้บรรลุตามเป้าหมายในทุกระดับที่รับผิดชอบ มีความพึงพอใจในงาน มีความจดจ่อให้สาเร็จ เพียร พยายามพิจารณา ไตร่ตรองผลงาน เพื่อพัฒนาให้ดีขึ้น เช่น การเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ การจัด กิจกรรมการเรียนรู้ การจดั กิจกรรมพฒั นานักเรียน งานธุรการอน่ื ๆ ฯ

2) งานสร้างสรรค์นวัตกรรมการศึกษา ในขอบเขตงานที่ตนรับผิดชอบ และมี ความสามารถและถนดั เชน่ ด้านหลกั สตู ร แผนการจัดการเรียนรู้ กระบวนการจดั การเรยี นรู้ การใช้สื่อ การสอน การวัดและการประเมนิ การพัฒนานกั เรียน การวิจยั ในชั้นเรยี น / สถาบัน ฯ 3) แสดงผลงานให้ปรากฏ เผยแพร่ด้วยวิธีการต่างๆ เช่น ผ่านสื่อ ผ่านกิจกรรมแสดง ผลงาน ผา่ นการเป็นวิทยากร ผา่ นทางกิจกรรมเพือ่ นช่วยเพือ่ น ฯ 3. ข้ันตอนการพฒั นาภาวะผูน้ าทางวิชาการ 3.1 ศึกษาสารวจตนเอง เพื่อให้เข้าใจตนเองอย่างลึกซึ้ง ใช้วิธีการสารวจ วิเคราะห์ตนเอง และการรับฟังความคิดเห็นจากผู้ใกล้ชิดที่หวังดี สรุปให้เห็น จุดแข็ง จุดอ่อนที่ควรพัฒนา ภายใต้นบริ บทของการจัดการศึกษา และอุดมคติ อดุ มการณข์ องตน 3.2 เลือกคุณสมบัติ พฤติกรรมใดพฤติกรรมหนึ่ง เพียงพฤติกรรมเดียวในการพัฒนาแต่ละ ครั้ง ควรเลือกจากพฤติกรรม/คุณลักษณะทีส่ ามารถเปลี่ยนแปลงได้ง่าย และเห็นผลอย่างเปน็ รูปธรรม ก่อนเพือ่ กาลงั ใจในการพัฒนาในเวลาตอ่ ไป 3.3 กาหนดวตั ถปุ ระสงค์ อนุสนธิจากข้อ 2 ตอบคาถามให้ได้ว่า พฤติกรรม / คณุ ลักษณะที่ ตนตอ้ งการเปลี่ยนแปลงนนั้ จะทาให้ชีวติ มจี ุดด้อยอย่างไร และถ้าพฒั นาแล้วจะส่งผลดอี ย่างไร ต่อภาวะ ผู้นาทางวิชาการของเรา แล้วนามาเขียนเป็นวัตถุประสงค์ในการเปลี่ยนแปลง จะได้ยึดเป็นเป้าหมายใน การพฒั นาตน และใช้เปน็ พลงั ภายใน ทีจ่ ะผลักดันให้บรรลเุ ป้าหมายได้ตอ่ ไป 3.4 หาความรู้ในการพัฒนาพฤติกรรม / คุณลักษณะเหล่าน้ัน ด้วยการค้นคว้าตารา ปรึกษาผู้รู้ เลือกใช้เทคนิควิธี ทีเหมาะสมกับตัวเรา ท้ังความเข้มแข็งของจิตใจ บริบทแวดล้อม และจัด ทาแผนปฏิบัติการที่สามารถดาเนินการได้อย่างต่อเน่ือง ให้ระบุวันเวลาที่จะปฏิบัติ ช่วงเวลาที่จะใช้ ท้ังหมด วิธีการที่กาหนดข้ันตอนไว้ชัดเจน กาหนดผลที่คาดว่าจะได้รับ กาหนดการสังเกตุผลที่เกิดขึ้น เพือ่ ใช้ในการประเมนิ เปน็ ระยะ 3.5 ปฏิบัติการตามแผนที่กาหนดไว้บันทึกผลที่เกิดขึ้นทุกครั้งที่ปฏิบัติ หากพบผลการ เปลี่ยนแปลงในทางทีด่ ี ย่อมเปน็ กาลังใจให้ทาอย่างตอ่ เนื่องต่อไป หากมีผลไม่พงึ ประสงค์เกิดขึน้ ให้ปรับ แผนทีช่ ว่ ยใหบ้ รรลผุ ลได้ดีข้นึ 3.6 เม่ือประสบผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์หาทางเผยแพร่นวัตกรรมที่ค้นพบได้ด้วยตนเอง เพื่อเปน็ ตัวอย่างแก่ผู้สนใจต่อไป ในส่วนตัวก็ควรเลือกพฒั นาตนในด้านอื่นๆด้วย หลกั การกระบวนการ ดังกล่าวอย่างต่อเน่อื ง เพราะงานพฒั นาไม่มวี ันจบ จากข้างต้นสรุปได้ว่า การพัฒนาภาวะผู้นาทางวิชาการ เพื่อให้เกิดภาพความ สาเร็จของ สถานศึกษา ผู้บริหารโรงเรียน จะต้องแสดงบทบาทฐานะผู้นาในการบริหารจัดการเพื่อผลสาเร็จของ งานที่เกี่ยวกับการจัดการศึกษาในโรงเรียนทุกด้านอย่างมีประสิทธิภาพ มีการพัฒนาคุณภาพการจัด

การศึกษาของโรงเรียนเพือ่ พัฒนาผู้เรียนใหม้ ีความรู้ความสามารถและปรับตัวได้ทันต่อกาเปลี่ยนแปลง ของสังคมที่มีความเจริญอย่างรวดเร็ว นาการเปลี่ยนแปลงใหม่ๆ มาสู่สถานศึกษา อันจะส่งผลต่อการ ยอมรบั และความร่วมมอื อย่างม่ันใจของผู้ร่วมงานในการปฏิบัติงานที่เกี่ยวกบั การจดั การศึกษา มีความ เชื่อม่ันตนเองที่จะทาให้ผู้ร่วมงานเกิดศรัทธายอมรับและให้ความร่วมมือในการจัดกิจกรรมการเรียน การสอนจนประสบผลสาเร็จและส่งผลต่อคุณภาพของผู้เรียน ตลอดจนอานวยความสะดวกเพื่อ ช่วยเหลือการปฏิบัติงานของบุคลากรในโรงเรียนทุกๆด้าน ให้สามารถจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เปน็ ไปด้วยความสะดวกและเกิดประโยชนสงู สุดตอ่ การพัฒนาคุณภาพนกั เรียน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook