- ภาวะผู้นา คือ ศลิ ปะในการชี้แนะลูกน้อง หรือผรู้ ว่ มงานใหป้ ฏิบัติหนา้ ทด่ี ้วยความ กระตือรือรน้ และเต็ม ใจ (Schwartz, 1980 : 491) - ภาวะผนู้ า คอื กระบวนการทบี่ ุคคลใช้อทิ ธิพลต่อกลมุ่ เพ่ือให้บรรลุความต้องการของ กลุ่ม หรือ จดุ มงุ่ หมายขององค์การ (Mitchell and Larson, Jr., 1987 : 435) - ภาวะผนู้ า เปน็ เรอื่ งของศิลปะของการใชอ้ ทิ ธิพล หรือกระบวนการใช้อิทธิพลต่อบุคคล อน่ื เพอ่ื ใหเ้ ขามี ความเตม็ ใจ และกระตือรอื รน้ ในการปฏิบัติงานจนประสบความสาเร็จ ตามจดุ มุ่งหมายของกลมุ่ (Kootz and Weihrich, 1988 : 437) - ภาวะผนู้ า เป็นความสามารถในการใชอ้ ิทธิพลต่อกลมุ่ เพื่อให้ประสบความสาเร็จตามเป้าหมายทีต่ ้งั ไว้ (Robbins, 1989 : 437) - ภาวะผนู้ า เปน็ กระบวนการของการช้ีแนะ และอิทธิพลตอ่ กจิ กรรมต่างๆ ของสมาชกิ ของกลุ่ม (Stoner and Freeman, 1989 : 459) - ภาวะผ้นู า เป็นกระบวนการทบี่ ุคคลหนึ่ง(ผ้นู า) ใชอ้ ิทธิพลและอานาจของตนกระตุน้ ช้นี าใหบ้ คุ คลอนื่ (ผู้ ตาม) มีความกระตือรือร้น เต็มใจทาในสง่ิ ท่ีเขาต้องการ โดยมเี ปา้ หมายขององค์การเป็นจุดหมายปลายทาง (พยอม วงศ์สารศรี, 2534 : 196) จากความหมายดงั กลา่ วข้างต้น จะเห็นว่าแนวคิดส่วนใหญจ่ ะเก่ียวข้องกบั กลุ่มคนและสมาชกิ ของกลุม่ มี ความสัมพันธภ์ ายในต่อกนั อย่างสม่าเสมอ ในการน้ีจะมสี มาชิกคนใดคนหน่งึ หรือมากกว่าถกู กาหนดหรอื ยอมรับ ให้เปน็ ผู้นา (Leader) เน่ืองจากจะมีความแตกต่างในดา้ นต่าง ๆ จากบคุ คลอน่ื ๆ ของกลุ่ม ซ่ึงถือวา่ เปน็ ผู้ตาม (Followers) หรอื ผู้ใต้บังคบั บัญชา หรอื ลกู น้อง (Subordinates) หรือผู้ปฏบิ ตั ิ สาหรบั ความหมายของภาวะผนู้ าเกือบทั้งหมดจะเกย่ี วข้องกับการใช้อิทธพิ ลซ่ึงสว่ นมากจะเปน็ ผ้นู า (Leader) พยายามจะมีอิทธิพลตอ่ ผ้ตู าม(Followers) ในกลมุ่ หรอื บุคคลอน่ื ๆ เพือ่ ให้มีทัศนคติ พฤติกรรมและอืน่ ๆ ไปในทิศทางทที่ าใหจ้ ุดมุง่ หมายของกลมุ่ หรือองค์กรประสบความสาเร็จ ดังนัน้ จึงสรปุ ได้วา่ ภาวะผู้นา (Leadership) คอื กระบวนการทบ่ี ุคคลใดบุคคลหนง่ึ หรือมากกว่าพยายามใช้ อิทธพิ ลของตนหรือกล่มุ ตน กระตนุ้ ช้ีนาผลักดนั ให้บุคคลอื่นหรอื กลมุ่ บุคคลอื่นมีความเต็มใจและกระตือรือรน้ ใน การทาสง่ิ ตา่ ง ๆ ตามต้องการโดยมีความสาเร็จของกลุ่มหรือองค์กรเปน็ เป้าหมาย ประเภทของผ้นู ่า จากการจาแนกประเภทของผู้นา อาจจาแนกโดยอธิบายใหเ้ ห็นถึงการเกดิ ผนู้ าวา่ เกิดขึน้ ได้ 2 ประเภท คือ 1. จาแนกโดยสถานการณแ์ ละโดยตาแหน่ง 2. จาแนกโดยลักษณะในการบริหารซึ่งมี 3 ประเภทซ่ึงจะเน้นท่ีพฤติกรรมของผู้นาเป็นสาคัญวา่ ผูน้ ามี พฤติกรรมเชน่ ไรดังนี้ - ผู้นาแบบใช้พระเดช หมายถงึ ผ้นู าทย่ี ดึ เอากฎหมาย ระเบยี บแบบแผนเป็นท่ีตง้ั - ผูน้ าแบบใชพ้ ระคุณ หมายถงึ ผ้นู าทม่ี ีอานาจและศลิ ปะในการท่จี ะสามารถจงู ใจให้ บคุ คลท้ังหลายทัง้ ปวงปฏิบัตติ ามท่ตี นประสงค์ - ผู้นาแบบสัญลักษณ์ หมายถึงผนู้ าทีม่ ลี กั ษณะเป็นสญั ลกั ษณข์ องผู้อยใู่ นฐานะตาแหน่ง ทค่ี วรแก่การ เคารพนับถือ ถา้ พิจารณาผูน้ าแบบใช้พระเดชจะพบวา่ ตรงกับประเภทของภาวะผูน้ าคือ ผู้นา่ ประเภทนิเสธ ส่วนผ้นู าโดย ตาแหนง่ กม็ ักจะมพี ฤติกรรมแบบ ผู้นา่ แบบใช้พระเดช เปน็ ส่วนมาก คอื เมอื่ ได้รับการแต่งตัง้ ใหด้ ารงตาแหนง่ ก็ มกั ยึดเอากฎหมายและระเบยี บแบบแผนเปน็ ท่ตี ้งั แต่ก็มบี ้างท่ี ใช้พระคณุ ส่วนผู้นาแบบใช้พระคุณน้ันตรงกับ ผูน้ ่า
ประเภทปฏฐิ าน และผูน้ าโดยสถานการณ์ เพราะเป็นผูน้ าที่ทาใหผ้ ูร้ ว่ มงานเลอื่ มใสศรทั ธาและเหน็ อกเห็นใจ ผรู้ ว่ มงานเหมอื น ๆ กนั ท้ังยงั เป็นผูน้ าท่ีอาจจะไมไ่ ด้รบั การแต่งตง้ั ตามกฎหมายอกี ดว้ ย ลกั ษณะของภาวะผู้นา่ มทิ เชล และลารส์ ัน จเู นียร์ (Michell and Larson, Jr., 1987 : 435-436) ได้ชี้ใหเ้ หน็ องค์ประกอบท่ี สาคัญ 3 ประการ ในการพจิ ารณาว่าผูน้ าใดมภี าวะผนู้ าหรอื ไม่ ได้แก่ 1. ภาวะผ้นู าเปน็ กระบวนการ 2. มีระดับความถกู ต้องของการใช้อิทธิพล 3. มีความสาเร็จของจุดมุ่งหมายที่ต้ังไว้ 1. ภาวะผนู้ าเปน็ กระบวนการของการใชอ้ ิทธพิ ล ผนู้ าจะพยายามมีอทิ ธิพลเหนือผูต้ าม เพ่ือให้มีพฤติกรรมการ ปฏบิ ตั งิ านตามต้องการ โดยมีจุดมงุ่ หมายขององค์กรเป็นเป้าหมาย ไมใ่ ช่ เรื่องของบุคคลที่จะพึงมีภาวะผู้นาไดโ้ ดย ที่ไม่ไดม้ ีกระบวนการทาใด ๆ เป็นกระบวนการ (Process) ให้เกดิ อิทธิพลตอ่ ผู้อื่น ดังน้ันผู้นาทางการแต่งต้ัง เชน่ ผอู้ านวยการ ผบู้ ญั ชาการ อาจจะมีภาวะผู้นา หรอื ไมก่ ็ได้ ทัง้ นขี้ ้นึ อยู่ว่ามีลกั ษณะทัง้ 3 ประการหรือเปล่า ในทาง ตรงขา้ มผทู้ ี่แสดงภาวะผนู้ า อาจจะไม่เป็นผู้ที่เปน็ แบบทางการ แต่มีองค์ประกอบ 3 ประการน้ัน 2. ภาวะผนู้ านอกจากจะเป็นกระบวนการแล้ว ภาวะผูน้ าจะเกดิ ได้ก็ตอ่ เมื่อผตู้ ามยอมใหใ้ ช้ อิทธิพลต่อตัวเขา ซง่ึ โดยทวั่ ไปก็ต้องพจิ ารณาถึงระดับความถกู ต้องของอิทธิพลทีใ่ ชด้ ว้ ยว่า ไม่ใช่เป็นการใช้อานาจเข้าขูเ่ ขญ็ หรือบีบ บังคับใหท้ าตาม เพราะถ้าเป็นการเช่นนั้นก็ไมถ่ ือวา่ มภี าวะผู้นาได้ 3. ภาวะผ้นู าจะถูกอ้างถงึ เมอ่ื จุดมุ่งหมายของกลุ่มหรอื องค์กรประสบความสาเร็จ ดังน้ัน หากผู้นาไม่สามารถนา กลุม่ ไปสู่ความสาเร็จดังกลา่ ว กย็ ่อมหมายถึงวา่ ผ้นู าไม่ได้แสดงภาวะผู้นาหรือไม่มคี วามสามารถในการเป็นผูน้ า นัน่ เอง คณุ สมบัตขิ องผูน้ ่า คุณสมบัตขิ องผู้นาควรประกอบด้วย ครองตน - มีความประพฤติปฏบิ ตั ิตนดี - มีความรู้ ความสามารถเขา้ ใจเหตุการณ์ - มีความซื่อสัตยส์ จุ รติ - มีความอดทนอดกลัน้ - มเี หตมุ ผี ล - มีการควบคุมอารมณ์ท่ดี ี (EQ=Emotional Qmotient) ครองคน - มีมนษุ ยสัมพนั ธด์ ี - มคี วามเสยี สละ - มีความจริงใจ - มคี วามสามารถในการจงู ใจ - มีความปรารถนาสง่ เสรมิ ใหล้ กู น้องก้าวหนา้ ครองงาน - มีความคดิ ริเร่ิมสรา้ งสรรค์ - มีความรับผดิ ชอบ - มกี ารตรงต่อเวลา - มคี วามม่งุ ม่ันในการสรา้ งผลงาน
- มีผลงานเปน็ ที่ประจักษ์ - มีความกล้าหาญ รปู แบบของผู้นา่ การศึกษาเก่ยี วกับผู้นามหี ลายลักษณะ จากการศกึ ษาของวลิ เล่ียม เจ เรดดิน(William J. Reddin) เรดดนิ อธิบายถึงความสมั พนั ธ์กนั ของพฤติกรรมของผู้ใต้บงั คับบัญชาและสถานการณ์ โดยแสดงให้เห็นถงึ รปู แบบผ้นู าที่มี ประสิทธิผลมากกวา่ และผนู้ าที่มปี ระสทิ ธผิ ลนอ้ ยกว่า ดังนี้ รปู แบบผู้นา่ ที่มีประสิทธผิ ลสูง 1. นักบริหาร (Executive) ผู้นาแบบนี้จะมีความสนใจเป็นอยา่ งมากทัง้ ในเร่ืองของงาน และสัมพนั ธภาพ ระหว่างบคุ คล มีความสามารถในการจงู ใจคนกาหนดมาตรฐานใน งานสงู เขา้ ใจถึงความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล และการทางานเป็นทีม 2. นกั พัฒนา (Develop) ผูน้ าแบบน้จี ะให้ความสาคัญกับเร่อื งสัมพันธภาพระหวา่ งบุคคลมากกว่าให้ความ สนใจกับงานจะใหค้ วามไวว้ างใจผู้ร่วมงาน สรา้ งแรงจูงใจและให้ กาลังใจเพื่อให้ทุกคนพัฒนาตนเอง 3. นักเผดจ็ การแบบใช้พระคุณ (Benevolent autocrat) ผนู้ าแบบน้จี ะใหค้ วามสนใจอย่างมากกับงาน และให้ ความสนใจเร่อื งความสมั พันธภาพระหว่างบคุ คลน้อย มุ่งประสิทธผิ ลของงาน และทาให้บรรลผุ ลได้อยา่ งดี โดยไม่ ทาให้เกิดความขนุ่ ขอ้ ง หมองใจ 4. ผ้รู กั ษากฎระเบยี บ (Bureaucrat) ผู้นาแบบนจี้ ะไม่ใหค้ วามสนใจมากนกั กับเรื่องงาน และเรอ่ื งสมั พันธภาพ ระหวา่ งบคุ คล แตจ่ ะเนน้ เร่ืองกฎระเบยี บ การรักษากฎระเบียบ ตลอดจน รปู แบบผู้นา่ ท่ีมีประสิทธผิ ลต่า 1. ผปู้ ระนปี ระนอม (Compromiser) ผู้นาแบบนีถ้ ึงแม้จะใหค้ วามสนใจท้ังในเร่ืองงานและ สัมพนั ธภาพ ระหวา่ งบุคคล แต่จะไม่เปน็ ผู้นาที่กล้าตัดสนิ ใจหรือตัดสนิ ใจไม่ดีและอ่อนไหวต่อแรงบบี คน้ั มาก 2. นกั บุญ (Missionary) ผู้นาแบบนจี้ ะให้ความสาคญั กับเร่อื งคนและสมั พันธภาพระหว่างบคุ คล แต่ใหค้ วาม สนใจกับงานน้อยที่สุดและเม่ือมปี ัญหาขัดแยง้ ระหวา่ งเพ่ือนร่วมงานดว้ ยกัน เขาจะพยายามใหท้ กุ คนสามัคคี ปรองดองกัน โดยมีการคานงึ ถงึ ปัญหาที่มาจากงาน 3. นกั เผด็จการ (Autocrat) ผนู้ าแบบน้ีจะให้ความสนใจกบั งานมากท่สี ุด แต่ให้ความสนใจกับเรื่องความสัพ นธภาพระหว่างบุคคลน้อยท่ีสุด ไมใ่ ห้ผ้ปู ฏิบตั งิ านมสี ว่ นรว่ มแสดงความคิดเห็นในงาน แต่จะสัง่ การให้ทาตาม ความคิดของตนเสมอ และไม่สนใจทีจ่ ะแก้ไขปัญหาความขัดแย้งระหวา่ งบุคคล 4. ผู้ท้งิ งาน (Deserter) ผู้นาแบบนจ้ี ะให้ความสนใจนอ้ ยทีส่ ดุ ทง้ั เรื่องงานและเร่อื งสัมพันธภาพระหวา่ งบุคคล ในสถานการณท์ ีป่ ระสบปัญหาทงั้ งานและการขัดแย้งระหว่างบคุ คล เขาจะมีลักษณะเฉย ๆ ไมเ่ อาใจใสเ่ รือ่ งใด ๆ และไมส่ นใจปัญหาของใคร โรนาล์ ลพิ พิท (Ronald Lippitt) และราลฟ์ ไวท(์ Ralph White) ได้อธบิ ายถึงรปู แบบภาวะผู้นาไว้ 3 ลกั ษณะ 1. ภาวะผู้นาแบบปลอ่ ยเสรหี รอื เสรีนยิ ม (Laissez-Faire Leadership) ภาวะการเป็นผู้นา ชนิดนีผ้ ้นู าจะปลอ่ ย ให้ผู้ใตบ้ ังคับบญั ชาปฏิบัตงิ านอยา่ งเต็มที่ โดยผู้นาเป็นเพียงผ้ดู แู ลอยู่ หา่ ง ๆ ไม่ค่อยมบี ทบาทอะไรมากนัก จึงมคี า เรยี กผ้นู าแบบนวี้ า่ “ผนู้ า่ แบบบรุ ษุ ไปรษณีย์”เพราะผ้นู ามีหนา้ ทเ่ี พียงสง่ ผ่านข่าวสารเท่านนั้ จดุ เนน้ อยู่ที่ ผูใ้ ตบ้ ังคับบญั ชาเปน็ สาคญั จะเหน็ วา่ ผนู้ าแบบนไี้ มไ่ ดเ้ ป็นผู้นาการเลย ดังนนั้ จงึ อาจเรียกว่า เขาเป็นผนู้ าจอมปลอม แตส่ ่วนใหญผ่ ้ใู ตบ้ ังคับบัญชาจะมคี วามพงึ พอใจภาวะผนู้ าแบบนี้สาหรับผลการทางานน้นั ขึน้ อยูก่ ับศกั ยภาพของ ผปู้ ฏบิ ตั งิ านเอง
2. ภาวะผูน้ าแบบอตั ตนิยมหรือแบบเผดจ็ การ (Autocratic Leadership) ภาวะการเป็นผ้นู า แบบนผ้ี นู้ าจะยึด ตนเองเปน็ สาคัญต้งั แต่การเป็นผู้ตดั สินใจ กาหนดเป้าหมาย วิธีการทางาน การสัง่ การแก่ผู้ใต้บังคับบญั ชา และ ควบคมุ บังคบั บญั ชาอยา่ งใกล้ชิดดว้ ยตนเอง (Close Supervision) ไม่ปล่อยให้มีอิสระในการปฏิบัตงิ าน ทั้งนี้ เพราะเขาจะไม่มคี วามไวว้ างใจในผ้ใู ตบ้ งั คับบญั ชาภายใต้ภาวะการเปน็ ผู้นาแบบน้ี ผ้ใู ต้บังคบั บญั ชาจะมคี วามไม่ พอใจในผนู้ าแบบน้ี และจะแสดงความก้าวร้าวตอบโตผ้ นู้ าหรอื ไม่ก็เฉยเมยเสียเลย หรือแสดงความก้าวร้าวเม่อื ผู้นา ไมอ่ ยู่ 3. ภาวะผ้นู าแบบประชาธปิ ไตย (Democratic Leadership) ผูน้ าแบบนี้จะมที ศั นคติตอ่ ผู้ใต้บงั คับบญั ชา แตกตา่ งจากแบบอตั ตนิยม เขาจะมคี วามไวเ้ นือ้ เชื่อใจในผ้ใู ต้บงั คับบัญชา เห็น ผู้ใตบ้ งั คับบัญชามคี วามรู้ ความสามารถ ดังนั้นเขาจะเปิดโอกาสใหผ้ ูใ้ ต้บังคับบญั ชามีส่วนรว่ ม (Participation) ในการตดั สนิ ใจ กาหนด นโยบายรวมตลอดถงึ วิธีการปฏิบตั ิงาน โดยตวั ผู้นาเองกม็ ี ส่วนรว่ มอยา่ งเต็มท่ีเชน่ กัน ดงั น้ันจดุ เน้นของผนู้ าแบบน้ี จงึ อยู่ที่ท้ังตัวผูน้ าและผู้ปฏิบตั ิงานท้ังหลาย หรอื รวมเรียกวา่ กลมุ่ นั่นเอง ภายใต้ภาวการณ์เป็นผนู้ าแบบน้ี สมาชิก ในกลมุ่ จะมคี วามพงึ พอใจสูง ซึ่งกล่าวไดว้ ่า ผูน้ าท่ีดีต้องใช้ภาวะผู้นาทเ่ี หมาะสมกบั ผตู้ ามละสถานการณท์ ่ีเป็นอยู่ในขณะน้นั เพื่อใหบ้ รรลุ วัตถุประสงค์ขององคก์ าร คณุ สมบตั ขิ องผนู้ ่าทด่ี ี ผนู้ าท่ีดีควรมีคุณสมบตั ิดังตอ่ ไปน้ี คอื 1. มคี วามร้(ู Knowledge) 2. มคี วามคิดริเรมิ่ (Initiative) 3. มคี วามกล้าหาญและความเดด็ ขาด(Courage and firmness) 4. การมีมนษุ ยสมั พันธ์(Human relation) 5. มคี วามยตุ ธิ รรมและซื่อสัตยส์ ุจริต(Fairness and Honesty) 6. มคี วามอดทน(Patience) 7. มีความตนื่ ตัว(Alertness) 8. มีความภกั ดี(Loyalty) 9. มคี วามสงบเสงยี่ มไมถ่ อื ตัว(Modesty) คณุ สมบตั ิที่ดที ่ผี ู้นา่ ควรจะมี 1. มคี วามมุ่งมน่ั ต่อความสาเรจ็ 2. มกี ารกาหนดลาดับความสาคัญที่เหมาะสม 3. มีการต้ังและคาดหวังในมาตรฐานท่สี ูง 4. มีการเขม้ งวดและยุติธรรม 5. การใหค้ วามสาคัญและโอกาสและส่ิงทเ่ี ปน็ ไปได้ 6. พัฒนาและรกั ษาระดบั เรง่ ดว่ น 7. การใหค้ วามสนใจในรายละเอยี ด 8. การยอมรบั ต่อความผดิ พลาด 9. การเขา้ ไปเกยี่ วข้องในเร่ืองที่สาคญั 10. สนกุ กับงาน มีผลการวิจัยต่าง ๆ ที่เป็นพ้นื ฐานสาหรบั การพจิ ารณาคณุ ลักษณะท่ีสาคัญ ๆ ท่ีมีผลกระทบต่อภาวะผูน้ า เช่น ผลงานของ เชลเลย์ เคิร์คแพทรคิ และ เอด็ วนิ ล๊อค (Shelley Kirkpatrick and Edwin Lock cited by
Schermerhorn, 2002 : 343) ไดป้ ระมวลผลการวจิ ัยจากอดีตจนถึงปัจจุบนั และสรปุ คุณลักษณะเด่นทม่ี ักจะ พบในบรรดาผนู้ าท่ีประสบความสาเรจ็ มีคุณลักษณะสาคัญดงั น้ี 1. มีพลัง (Drive) ผู้นาทีป่ ระสบความสาเรจ็ เปน็ ผู้ทีม่ ีพลังสูงแสดงความคดิ ริเร่มิ และมีความมุ่งม่ันไมป่ ล่อย อะไรใหห้ ลดุ มือหรอื ลม้ เลิกไปงา่ ย ๆ 2. มคี วามเชอื่ มน่ั ในตนเอง (Self-confidence) ผู้นาท่ีประสบความสาเร็จเปน็ ผู้ที่มีความเช่ือม่ันไวว้ างใจใน ตนเองและมนั่ ใจในขดี ความสามารถของตนเองอยูเ่ สมอ 3. มคี วามคิดสร้างสรรค์ (Creativity) ผนู้ าท่ปี ระสบความสาเรจ็ เป็นคนท่ีมีความคิดสร้างสรรค์และมักจะคดิ ใหม่ทาใหม่เปน็ คนแรกไมล่ อกเลียนแบบใคร 4. มคี วามสามารถในการคิด (Cognitive ability) ผนู้ าท่ีประสบความสาเร็จเปน็ คนที่มี สติปัญญาในการ เกบ็ รวบรวมข้อมลู สารสนเทศมาประมวลและตคี วามหมายเพื่อนาไปใชใ้ หเ้ ปน็ ประโยชน์ 5. มคี วามรอบรูท้ างธุรกิจ (Business knowledge) ผ้นู าทปี่ ระสบความสาเร็จในองคก์ ารธรุ กิจเปน็ ผทู้ ่ีมี ความรูค้ วามเข้าใจและมคี วามรู้พ้ืนฐานทางเทคนิคเกยี่ วกับธุรกจิ อุตสาหกรรมของตนเอง 6. มคี วามสามารถในการจงู ใจ (Motivation) ผนู้ าทีป่ ระสบความสาเร็จเปน็ ผ้ทู ี่มีความสามารถในการจงู ใจ ใหค้ นเกิดแรงบันดาลใจในการพยายามที่จะบรรลเุ ปา้ หมายรว่ มกัน 7. มคี วามยดื หยุ่น (Flexibility) ผู้นาทีป่ ระสบความสาเรจ็ สามารถปรบั ตัวใหเ้ ข้ากับความต้องการของผู้ ตามและประส่ิงอ่นื ใหเ้ หมาะสมกบั ความจาเปน็ ของสถานการณ์ 8. มคี วามซื่อสตั ย์และจริงใจ (Honesty and integrity) ผู้นาทป่ี ระสบความสาเร็จเป็นคนที่ผู้อื่นไวเ้ น้อื เชอ่ื ใจไดเ้ พราะเป็นคนท่ีมีความซ่ือสัตย์สจุ รติ สามารถทานายพฤติกรรมไว้ล่วงหนา้ ได้ และเป็นคนทพ่ี ึ่งพาของคนอื่น ได้ คณุ ลกั ษณะเหล่าน้ีจะชว่ ยใหผ้ นู้ าประสบความสาเร็จในการบรหิ าร แตใ่ นระยะหลงั การวิจยั พบวา่ คุณลกั ษณะเหลา่ น้ีก็มีอยูใ่ นตัวของสมาชกิ กล่มุ ทาให้มีความเชอ่ื วา่ คุณลักษณะเด่นของผู้นามสี ว่ นเฉลยี่ ไมต่ า่ งจาก สมาชิกคนอื่น ๆ ไมม่ ากนัก จึงมคี วามสงสัยว่าคุณลกั ษณะต่าง ๆ ของผนู้ าท่ีค้นพบอาจจะเปน็ ผลของการเป็นผนู้ า มใิ ช่เป็นสิง่ ท่ีเกดิ ข้ึนก่อนท่ีจะเป็นผู้นาก็ได้ อย่างไรก็ตามผลงานวิจยั ในปัจจุบันยังให้ความสาคัญตอ่ คณุ ลกั ษณะที่สาคญั ของผ้นู าท่ปี ระสบ ความสาเร็จ เช่น มกี ารศึกษาพบว่าผตู้ ามต้องการผู้นาที่มีคุณลักษณะสาคัญ 5 ประการ Schermerhorn, 2002 : 342) ไดแ้ ก่ มีความซ่ือสัตยส์ จุ ริต มีสมรรถนะ เปน็ ผ้ทู ี่มองไปข้างหน้ามคี วามสามารถในการสรา้ งแรงดลใจ และมี ความนา่ เชื่อถือ นอกจากนีย้ ังมองวา่ ภาวะผู้นาท่ีมี ประสิทธิผลควรเป็นผูท้ ี่สามารถสรา้ งวสิ ยั ทัศน์ และมอบอานาจ การตัดสนิ ใจแกพ่ นักงานท่ีไม่ใช่ ระดบั ผูบ้ รหิ าร ผู้ตาม (Followers) และภาวะผตู้ าม (Followship) ผ้ตู าม หมายถึง ผูป้ ฏบิ ัติงานในองค์การท่ีมีหน้าท่แี ละความรับผิดชอบที่จะต้องรับคาส่งั จาก ผู้บงั คบั บัญชามาปฏบิ ตั ิใหส้ าเร็จบรรลุวตั ถปุ ระสงค์ แบบของภาวะผตู้ าม เคลล่ี (Kelley) ได้แบ่งประเภทของผู้ตามโดยใช้เกณฑ์ 2 มิติ ดงั นี้ มติ ิท่ี 1 คณุ ลกั ษณะของผตู้ ามระหว่างความอิสระ (การพงึ่ พาตนเอง) และความคดิ สงั สรรค์ ไม่อิสระ (พง่ึ พาผอู้ ื่น) และขาดความคิดสร้างสรรค์ พฤติกรรมของผู้ทม่ี คี วามเปน็ อิสระ และความคดิ สร้างสรรคจ์ ะมี ลกั ษณะเป็นผทู้ ี่มีความคดิ ริเร่ิม และเสนอวธิ กี ารใหม่อยู่เสมอ ส่วนบุคคลที่มลี ักษณะพ่งึ พาผอู้ ื่นจะขาดความคิด ริเริม่ และคอยรบั คาส่ังจากผู้นาโดยขาดการ ไตรตรอง มติ ทิ ี่ 2 คุณลักษณะของผตู้ ามระหวา่ ง “ความกระตอื รือรน้ กบั ความเฉื่อยชา\"
คณุ ลกั ษณะพฤติกรรมของผตู้ าม 5 แบบมีดงั น้ี 1) ผู้ตามแบบหา่ งเหิน ผ้ตู ามแบบนี้เปน็ คนเฉื่อยชาแต่มีความเปน็ อสิ ระและมีความคดิ สรา้ งสรรค์สูง ผู้ ตามแบบห่างเหินสว่ นมากเป็นผตู้ ามท่มี ีประสทิ ธิผล มปี ระสบการณ์ และผา่ น อปุ สรรคมากอ่ น 2) ผตู้ ามแบบปรับตาม ผตู้ ามแบบนี้ เรยี กว่า ผตู้ ามแบบครบั ผม เปน็ ผู้ท่ีมคี วามกระตือรือรน้ ในการ ทางาน แต่ขาดความคิดสรา้ งสรรค์ 3) ผูต้ ามแบบเอาตวั รอด ผตู้ ามแบบน้ีจะเลือกใชล้ กั ษณะผ้ตู ามแบบใดข้ึนอยู่กับสถานการณท์ ีจ่ ะเอ้ือ ประโยชนก์ ับตวั เองให้มากท่สี ุดและมีความเสี่ยงนอ้ ยท่ีสดุ 4) ผตู้ ามแบบเฉื่อยชา ผตู้ ามแบบนช้ี อบพ่งึ พาผู้อ่นื ขาดความอสิ ระ ไม่มีความคิดรเิ ร่มิ สรา้ งสรรค์ 5) ผตู้ ามแบบมปี ระสทิ ธผิ ล ผู้ตามแบบนี้เปน็ ผู้ท่ีทีความตัง้ ใจในการปฏบิ ัติงานสูงมี ความสามารถใน การบริหารจดั การงานได้ด้วยตนเอง ลักษณะผ้ตู ามท่ีมีประสิทธิผล ดังน้ี 1. มีความสามรถในการบรหิ ารจดั การตนเองได้ดี 2. มคี วามผูกพันต่อองค์การต่อวตั ถปุ ระสงค์ 3. ทางานเต็มศกั ยภาพ และสดุ ความสามารถ 4. มคี วามกล้าหาญ ซอ่ื สตั ย์ และนา่ เช่ือถือ การพัฒนาศกั ยภาพตนเองของผ้ตู าม การพัฒนาลักษณะนสิ ัยตนเองใหเ้ ปน็ คนทม่ี ีประสิทธผิ ลสงู มี 7 ประการคอื 1. ตอ้ งมีนสิ ัยเชงิ รกุ หมายถงึ ไม่ตอ้ งรอให้นายสั่ง 2. เริ่มต้นจากส่วนลกึ ในจติ ใจ 3. ลงมือทาส่งิ แรกกอ่ น 4. คดิ แบบชนะท้ังสองฝ่าย 5. เขา้ ใจคนอ่นื ก่อนจะใหค้ นอ่ืนเข้าใจเรา 6. การรวม หรอื ทางานเปน็ ทีม 7. ลับเล่อื ยให้คม คือพัฒนาตนเองอยู่เสมอ แนวทางส่งเสรมิ และพัฒนาผ้ตู ามให้มีคณุ ลักษณะผู้ตามทีม่ ี วตั ถุประสงค์ 8. การดแู ลเอาใจใส่ เรื่องความต้องการขั้นพืน้ ฐานของมนษุ ยใ์ ห้กบั บุคลากรเป็นธรรม 9. การจงู ใจดว้ ยการให้รางวลั คาชมเชย 10. การให้ความรู้และพฒั นาความคดิ โดยการจัดโครงการฝกึ อบรมสัมมนาและศึกษาดงู าน 11. ผ้นู าต้องปฏิบัตติ นให้เป็นแบบอย่าง 12. มีการประเมินผลการปฏบิ ตั ิงานอยา่ งตอ่ เนื่อง 13. ควรนาหลกั การประเมินผลงานท่ีเน้นผลสมั ฤทธิ์มาพจิ ารณาความดีความชอบ 14. ส่งเสรมิ การนาพทุ ธศาสนามาใช้ในการทางาน 15. การส่งเสรมิ สนับสนุนใหผ้ ู้ตามนาหลักธรรมาภิบาลมาใชใ้ นการปฏบิ ตั งิ านอยา่ งจริงจงั
ใบความรคู้ รง้ั ท่ี 13 วชิ าการใช้พลังงานไฟฟา้ ในชีวติ ประจ่าวนั 3 รหสั พว32023 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย เรื่อง เชื้อเพลิงและพลังงานทใี่ ชในการผลติ ไฟฟา พลงั งานไฟฟา้ เปน็ พลังงานรูปหน่ึงที่มคี วามสาคัญและมกี ารใช้งานกนั มาอย่างยาวนาน โดยสามารถผลิต ไดจ้ ากเชื้อเพลิงหลากหลายชนิด โดยแบง่ รายละเอียดเป็น 2 ตอน คือ ตอนท่ี 1 เชอ้ื เพลิงฟอสซิล เช้อื เพลิงฟอสซลิ (Fossil Fuel) หมายถงึ พลงั งานของสารเชอื้ เพลิงท่ีเกิดจากซากพชื ซากสตั วท์ ท่ี ับถมจม อยูใ่ ต้พ้นื พิภพเป็นเวลานานหลายร้อยลา้ นปี โดยอาศยั แรงอดั ของเปลือกโลกและความร้อนใต้ผิวโลก มีทั้งของแข็ง ของเหลว และก๊าซ เชน่ ถา่ นหิน นา้ มนั ก๊าซธรรมชาติ เปน็ ตน้ สาหรบั ประเทศไทยได้มีการนาเอาเชือ้ เพลงิ ฟอสซลิ มาใชใ้ นการผลติ ไฟฟ้าประมาณ รอ้ ยละ 89 ของแหลง่ พลงั งานท้ังหมด 1. ถา่ นหนิ (Coal) ถ่านหนิ เปน็ เชอ้ื เพลิงฟอสซิลชนิดหนึ่งที่อยู่ในสถานะของแข็ง เกิดจากการทับถมกัน ของซากพืชในยุคดึก ดาบรรพ์ ถ่านหนิ มปี ริมาณมากกว่าเชอื้ เพลิงฟอสซิลชนิดอื่น ๆ โดยข้อมูล พ.ศ. 2557 พบว่าถ่านหินของโลกจะมี เพียงพอต่อการใช้งานไปอีกอย่างน้อย 110 ปี และถ่านหินในประเทศไทยเหลือใช้อยู่ 69 ปี ซึ่งถ่านหินที่นามา เปน็ เช้ือเพลงิ สาหรบั การผลิตกระแสไฟฟ้า ได้แก่ ลิกไนต์ ซับบิทูมินัส และบิทูมินัส ใน พ.ศ. 2558 ประเทศไทยมี การผลิตไฟฟ้าด้วยถ่านหิน ประมาณร้อยละ 19 โดยมีท้ังการใช้ถ่านหินจากแหล่งในประเทศ คือ ลิกไนต์ท่ีเหมือง แม่เมาะ จังหวัดลาปาง และบางส่วนนาเข้าจากต่างประเทศ โดยนาเข้าจากประเทศอินโดนีเซียมากท่ีสุด กระบวนการผลิตไฟฟ้าด้วยถ่านหิน เริ่มจากการขนส่งถ่านหินจากลานกองถ่านหิน ไปยังยุ้งถ่านหินโดยสายพาน ส่งไปยังเคร่ืองบดถ่านหินซึ่งจะบดถ่านหินเป็นผงละเอียดแล้วส่งไปยัง หม้อไอน้าเพื่อเผาไหม้ ทาให้น้าร้อนข้ึนจน เกิดไอน้าซ่งึ จะถกู สง่ ไปยงั กังหนั ไอนา้ ทาให้กงั หันหมุน โดยแกนของกงั หันเชือ่ มตอ่ ไปยงั เคร่ืองกาเนิดไฟฟ้าจึงทาให้ เคร่ืองกาเนดิ ไฟฟ้าทางานผลิตกระแสไฟฟา้ ออกมาดงั ภาพ ภาพข้นั ตอนการผลิตไฟฟา้ ด้วยถา่ นหิน กระบวนการผลิตไฟฟา้ ด้วยถ่านหิน มขี อ้ ดแี ละข้อจากัดดงั นี้ ขอ้ ดีของการผลิตไฟฟา้ ดว้ ยถ่านหิน ขอ้ จ่ากัดของการผลิตไฟฟา้ ด้วยถา่ นหิน 1. มตี ้นทนุ ในการผลติ ไฟฟ้าต่า 1. ปล่อยกา๊ ซเรอื นกระจก 2. มปี รมิ าณเช้ือเพลงิ สารองมาก 2. ใชเ้ ชอื้ เพลิงในปริมาณมาก 3. สามารถผลติ ไฟฟ้าได้ตลอด 24 ช่วั โมง 3. ประชาชนไมเ่ ช่ือม่นั เร่ืองมลภาวะทางอากาศ 4. ขนส่งงา่ ย จดั เก็บงา่ ย
2. นา้ มัน (Petroleum Oil) น้ามันเป็นเช้ือเพลิงฟอสซิลชนิดหนึ่งที่มีสถานะเป็นของเหลว เกิดจากซากพืช ซากสัตว์ทับถมเป็นเวลา หลายลา้ นปี โดยข้อมลู ปี พ.ศ. 2557 พบว่าปรมิ าณนา้ มนั ดบิ สารองของ โลกจะมีเพียงพอต่อการใช้งาน ประมาณ 52.5 ปี เทา่ นั้น สว่ นประเทศไทยมีแหลง่ น้ามันดิบ จากกลางอ่าวไทย เช่น แหล่งเบญจมาศ และแหล่งจัสมิน เป็น ตน้ และบนบก เชน่ แหลง่ สิรกิ ิติ์ อาเภอลานกระบือ จังหวัดกาแพงเพชร เป็นต้น ซ่ึงเหลือใช้อีก 2.8 ปี น้ามันท่ีใช้ ในการผลิตไฟฟ้ามี 2 ประเภท คือ น้ามันเตา และน้ามันดีเซล ในปี พ.ศ. 2558 การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศ ไทย (กฟผ.) ใช้น้ามันผลิตไฟฟ้าในสัดส่วนเพียง ร้อยละ 1 เท่าน้ัน เน่ืองจากมีต้นทุนการผลิตสูง สาหรับการใช้ น้ามันมาผลิตไฟฟ้าน้ันมักจะใช้เป็น เช้ือเพลิงสารองในกรณีท่ีเช้ือเพลิงหลักไม่ สามารถนามาใช้ผลิตได้ กระบวนการผลติ ไฟฟา้ ดว้ ยน้ามัน มี 2 กระบวนการ คอื 1) การผลิตไฟฟ้าด้วยน้ามันเตา ใช้น้ามันเตาเป็นเช้ือเพลิงให้ความร้อนไปต้มน้า เพ่ือผลิตไอน้าไปหมุน กังหันไอน้าทีต่ ่ออยูก่ ับเครอ่ื งกาเนดิ ไฟฟ้า จงึ เกดิ การผลิตไฟฟา้ ออกมา 2) การผลิตไฟฟ้าด้วยน้ามันดีเซล มีหลักการทางานเหมือนกับเครื่องยนต์ในรถยนต์ ทั่วไป ซึ่งจะอาศัย หลักการสนั ดาปนา้ มันดีเซลของเครอื่ งยนต์ดเี ซล ทาให้เพลาของเคร่ืองยนต์หมุน ส่งผลให้เคร่ืองกาเนิดไฟฟ้าซึ่งต่อ กับเพลาของเครื่องยนตห์ มุน จงึ เกิดการผลติ ไฟฟา้ ออกมา ดงั ภาพ ภาพการผลติ ไฟฟา้ จากนา้ มนั ดเี ซล 3. กา๊ ซธรรมชาติ (Natural Gas) ก๊าซธรรมชาติ เป็นเช้ือเพลิงฟอสซิลชนิดหน่ึงท่ีมีสถานะเป็นก๊าซ ซ่ึงเกิดจากการทับถมของซากพืชซาก สตั วม์ านานนับล้านปี โดยข้อมลู ปี พ.ศ. 2557 พบว่าปริมาณ กา๊ ซธรรมชาติสา รองของโลกจะมีเพียงพอต่อการใช้ งานประมาณ 54.1 ปี เท่านัน้ และกา๊ ซธรรมชาตใิ นประเทศไทย เหลือใชอ้ กี 5.7 ปี ใน พ.ศ. 2558 ประเทศไทย ใช้ก๊าซธรรมชาติ ผลิตกระแสไฟฟ้าในสัดส่วนท่ีสูงมากถึงประมาณร้อยละ 69 ซ่ึงเป็นก๊าซธรรมชาติท่ีประเทศไทย ผลิตร้อยละ 60 และนาเข้าจากประเทศเมียนมาร์ร้อยละ 40 นับเป็นความเสี่ยงด้านความมั่นคงในการจัดหา พลังงานไฟฟ้า เม่ือเปรียบเทียบปริมาณการใช้และการผลิตไฟฟ้าของประเทศไทยกระบวนการผลิตไฟฟ้าด้วยก๊าซ ธรรมชาติ เริ่มตน้ ด้วยกระบวนการเผาไหม้กา๊ ซธรรมชาติ ในหอ้ งสันดาปของกังหันก๊าซที่มีความร้อนสูงมาก เพ่ือให้ ได้ก๊าซร้อนมาขับกังหันซึ่งจะไปหมุนเคร่ืองกาเนิดไฟฟ้า จากนั้นจะนาก๊าซร้อนส่วนท่ีเหลือไปผลิตไอน้าสาหรับใช้ ขับเครื่องกาเนิดไฟฟ้าแบบกังหันไอน้า สาหรับไอน้าส่วนท่ีเหลือจะมีแรงดันต่าก็จะผ่านเข้าสู่กระบวนการลด อณุ หภูมิ เพ่ือให้ไอน้าควบแน่นเปน็ น้าและนากลบั มาป้อนเขา้ ระบบผลติ ใหม่อย่างต่อเน่อื ง ภาพกระบวนการผลติ ไฟฟ้าด้วยกา๊ ซธรรมชาติ
ตอนท่ี 2 พลงั งานทดแทน พลังงานทดแทน (Alternative Energy) ตามความหมายของกระทรวงพลังงาน คือ พลังงานที่นามาใช้ แทนนา้ มนั เชื้อเพลงิ ซง่ึ จดั เปน็ พลงั งานหลักที่ใชก้ นั อยู่ทวั่ ไปในปจั จุบนั พลงั งานทดแทนที่สาคัญ ได้แก่ พลังงานน้า พลงั งานลม พลังงานแสงอาทติ ย์ พลังงานความร้อนใต้พภิ พ พลังงานจากชวี มวล และพลังงานนวิ เคลียร์ เป็นตน้ 1. ความสาคัญของพลงั งานทดแทน ปจั จบุ นั ทั่วโลก โดยเฉพาะประเทศไทย กาลังเผชิญกับปัญหาด้านพลังงานเช้ือเพลิง ฟอสซิล เช่น น้า มัน กา๊ ซธรรมชาติ เปน็ ตน้ ท้งั ในดา้ นราคาท่สี ูงข้นึ และปริมาณทลี่ ดลง อยา่ งตอ่ เนื่อง นอกจากน้ีปัญหาสภาวะโลกร้อน ซึ่งส่วนหน่ึงมาจากการใช้เช้ือเพลิงฟอสซิลท่ีมากขึ้น อย่างต่อเนื่องตามการขยายตัวของเศรษฐกิจโลก ดังนั้นจึง จาเป็นตอ้ งมีการกระตุ้นให้เกิดการคิดค้น และพัฒนาเทคโนโลยีที่ใช้พลังงานชนิดอื่น ๆ ขึ้นมาทดแทน ซ่ึงพลังงาน ทดแทนเป็นพลังงาน ชนิดหนึ่งที่ได้รับความสนใจ และภาครัฐได้มีนโยบายส่งเสริมให้มีการพัฒนาเทคโนโลยีด้าน พลังงานทดแทนอย่างกวา้ งขวางในประเทศ เนื่องจากเปน็ พลังงานทใ่ี ช้แล้วไม่ทาลายสิง่ แวดลอ้ ม 2. ประเภทของพลังงานทดแทน พลังงานทดแทนมีหลายประเภท ซ่ึงแต่ละประเภท มีหลักการทางานแตกต่างกันไปท้ังนี้ กระทรวง พลงั งานได้แบ่งประเภทของพลงั งานทดแทนตามแหลง่ ทม่ี าออกเป็น 2 ประเภท คอื 2.1 พลังงานทดแทนประเภทสิ้นเปลือง เป็นพลังงานทดแทนจากแหล่งที่ได้มาแล้ว ใช้หมดไป เช่น ถ่าน หนิ กา๊ ซธรรมชาติ พลังงานนวิ เคลียร์ เป็นตน้ 2.2 พลังงานทดแทนประเภทหมุนเวียน เป็นพลังงานทดแทนจากแหล่งท่ีใช้แล้ว สามารถหมุนเวียนมา ใช้ได้อกี เชน่ ลม น้า แสงอาทิตย์ ชวี มวล ความรอ้ นใต้พิภพ ไฮโดรเจน เป็นต้น 3. หลกั การทางานของพลังงานทดแทน พลังงานทดแทนท่ีสาคัญและใช้กันอยู่ในปัจจุบัน ได้แก่ ลม น้า แสงอาทิตย์ ชีวมวล ความร้อนใต้พิภพ และนิวเคลียร์ ซ่งึ มีรายละเอียดดงั นี้ 3.1 พลงั งานลม การผลิตกระแสไฟฟ้าจากพลังงานลม จะใช้กังหันลมเป็นอุปกรณ์ในการเปล่ียนพลังงานลมเป็น พลงั งานไฟฟา้ โดยจะตอ่ ใบพดั ของกังหนั ลมเข้ากับเครื่องกาเนิดไฟฟ้า เม่ือลมพัดมาปะทะจะทาให้ใบพัดหมุน แรง จากการหมุนของใบพัดจะทาให้แกนหมุนที่เชื่อมอยู่กับเครื่องกาเนิดไฟฟ้าหมุน เกิดการเหน่ียวนาและได้ไฟฟ้า ออกมาดังภาพ อย่างไรก็ดีการผลิตไฟฟ้า ด้วยพลังงานลมก็จะข้ึนกับความเร็วลมด้วย สาหรับประเทศไทยมี ศกั ยภาพพลงั งานลมตา่ ทาใหผ้ ลติ ไฟฟ้าได้จากดั ไมเ่ ต็มกาลังการผลติ ติดตง้ั ภาพกังหนั ลม
3.2 พลงั งานน้า การผลติ ไฟฟ้าจากพลงั งานน้า โดยการปล่อยน้าจากเขื่อนให้ไหลจากที่สูงลงสู่ท่ีต่า เม่ือน้าไหลลง มาปะทะกับกังหนั นา้ ก็จะทาใหก้ งั หันหมุนแกนของเครอื่ งกาเนิดไฟฟ้าที่ถูกต่ออยู่กับกังหันน้าดังกล่าวก็จะหมุนตาม เกิดการเหน่ียวนาและได้ไฟฟ้าออกมา จากนั้น ก็ปล่อยน้าให้ไหลสู่แหล่งน้าตามเดิมดังภาพ แต่ประเทศไทยสร้าง เขอ่ื นโดยมีวตั ถุประสงค์หลัก คือ การกกั เก็บน้าไวใ้ ช้ในการเกษตร ดังน้ันการผลิตไฟฟา้ ดว้ ยพลังงานน้าจากเขื่อนจึง เป็นเพียงผลพลอยได้เท่านนั้ ภาพการผลิตไฟฟา้ จากพลังงานน้า 3.3 พลงั งานแสงอาทิตย์ การผลติ ไฟฟา้ จากพลังงานแสงอาทิตย์ใช้เซลล์แสงอาทิตย์ (Solar Cell) ซึ่งเป็น สิ่งประดิษฐ์ทาง อิเล็กทรอนิกส์ชนิดหน่ึง ทามาจากสารก่ึงตัวนาพวกซิลิคอน สามารถเปล่ียน พลังงานแสงอาทิตย์ให้เป็นพลังงาน ไฟฟ้าได้โดยตรงดังภาพ แม้พลังงานแสงอาทิตย์จะเป็นพลังงานสะอาดแต่ก็มีข้อจากัดในการผลิตไฟฟ้า โดย สามารถผลติ ไฟฟ้าได้แคช่ ว่ งทมี่ ีแสงแดดเทา่ นัน้ ประสิทธภิ าพของการผลิตไฟฟ้าข้ึนอยู่กับความเข้มรังสีดวงอาทิตย์ ซึง่ จะมคี า่ เปลยี่ นแปลงไปตามเส้นละติจูด ช่วงเวลาของวัน ฤดูกาล และสภาพอากาศ สาหรับในประเทศไทยได้รับ รงั สีดวงอาทิตย์ค่อนข้างสูงระหว่างเดือนเมษายน และพฤษภาคม เท่านั้น บริเวณที่รับรังสีดวงอาทิตย์สูงสุดตลอด ทั้งปีท่ีค่อนข้างสม่าเสมออยู่ในบริเวณจังหวัดนครราชสีมา บุรีรัมย์ ศรีสะเกษ ร้อยเอ็ด ยโสธร อุบลราชธานี และ อุดรธานี บางส่วนในภาคกลางท่ีจังหวัดสุพรรณบุรี ชัยนาท พระนครศรีอยุธยา และลพบุรี ส่วนในบริเวณจังหวัด อื่นๆ ความเข้มรังสีดวงอาทิตย์มีความไม่สม่าเสมอและมีปริมาณความเข้มต่า จึงไม่คุ้มค่ากับการลงทุนส ร้าง โรงไฟฟ้าพลงั งานแสงอาทติ ยใ์ นเชงิ พาณิชย์ 3.4 พลงั งานชีวมวล พลังงานชวี มวลเปน็ พลังงานความร้อนทเ่ี กดิ จากการเผาไหม้เช้อื เพลงิ ท่ีมาจากชวี มวลหรือ ส่งิ มีชีวติ โดยแบง่ ตามแหล่งกาเนดิ ชวี มวลได้ 3 กลุ่ม คือ 1) เกษตรกรรม ได้แก่ วัสดทุ างการเกษตร และวสั ดุเหลอื ทิ้งทางการเกษตร 2) อุตสาหกรรม ไดแ้ ก่ วัสดเุ หลอื ทิง้ ภายหลงั ปรบั เปล่ียนรูปผลผลติ การเกษตร ของเสยี จาก กระบวนการผลิต และ 3) ชุมชน ได้แก่ ขยะมลู ฝอย และน้าเสียจากชุมชน กระบวนการผลิตไฟฟ้าจากเชื้อเพลิงชวี มวลมี 2 วธิ ี ดังน้ี 1) การเผาไหมโ้ ดยตรง เช่น การนาวสั ดเุ หลอื ท้งิ จากการเกษตรมาเผาให้ความร้อนในหม้อไอน้า จนกลายเป็นไอน้าทรี่ ้อนจดั และมคี วามดันสูง ไอนา้ จะไปป่ันกังหนั ไอน้าทต่ี ่ออยูก่ บั เคร่ืองกาเนิดไฟฟ้า ทาให้เกดิ กระแสไฟฟ้าออกมา
2) การเปลีย่ นเช้อื เพลงิ ชวี มวลใหเ้ ปน็ เชื้อเพลงิ เรยี กว่า กา๊ ซชีวภาพ ได้แก่ มลู สตั ว์ และของเสยี จากโรงงานแปรรูปทางการเกษตร เชน่ เปลือกสบั ปะรดจากโรงงานสบั ปะรด กระปอ๋ ง หรอื นา้ เสียจากโรงงานแปง้ มนั แล้วนาก๊าซชีวภาพไปใชเ้ ปน็ เช้ือเพลงิ ในเครื่องยนตส์ าหรบั ผลติ ไฟฟา้ ได้อีกด้วย ภาพกระบวนการผลติ ก๊าซชีวภาพจากขยะอินทรีย์ครัวเรือน ประเทศไทยทาการเกษตรอย่างกว้างขวาง จึงมีวัสดุเหลือใช้จากการเกษตร เช่น แกลบ ขี้เล่ือย ชานอ้อย กากมะพร้าว อยู่จานวนมาก สามารถใช้เป็นเชื้อเพลิงผลิตไฟฟ้า ในเชิงพาณิชย์ได้ แต่มีข้อจากัดในการจัดหาชีว มวลในปริมาณที่ต้องการใช้ให้คงท่ีตลอดปี เพราะชีวมวลบางประเภทมีจากัดบางช่วงเวลาหรือบางฤดูกาลและ ขึ้นอยู่กับผลผลิต เช่น กากอ้อย แกลบ เป็นต้น ทาให้เกิดความผันผวนของราคาชีวมวล นอกจากนี้การผลิตไฟฟ้า ดว้ ยชีวมวลยงั มีขอ้ จากัด คอื มกี ารเก็บรักษาและการขนสง่ ท่ยี าก ต้องการพ้นื ท่ีในการเกบ็ รักษาขนาดใหญ่ 3.5 พลังงานความร้อนใตพ้ ภิ พ พลงั งานความรอ้ นใต้พิภพเป็นพลังงานความร้อนตามธรรมชาติท่ีได้จาก แหล่งความร้อนท่ีถูกกัก เก็บอยู่ภายใต้ผิวโลก แหล่งพลังงานความร้อนใต้พิภพจะตั้งอยู่ในบริเวณ ท่ีเรียกว่าจุดร้อน (Hot Spots) มักตั้งอยู่ ในบริเวณท่ีมีการเคล่ือนที่ของเปลือกโลก เขตท่ีภูเขาไฟยังคุกรุ่น และบริเวณที่มีช้ันของเปลือกโลกบาง ปรากฏให้ เห็นในรปู ของบอ่ น้าพุรอ้ น ไอน้ารอ้ น และบอ่ โคลนเดือด เป็นต้น
ภาพแหลง่ พลังงานความรอ้ นใต้พิภพบนโลก ประเทศไทยมีแหล่งพลังงานความร้อนใต้พิภพที่มีศักยภาพเป็นแหล่งผลิพลังงานไฟฟ้าได้น้อย จึงมีการ การผลิตไฟฟ้าจากความร้อนใต้พิภพเพียงแห่งเดียว คือ โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนใต้พิภพฝาง ต้ังอยู่ท่ี ตาบล ม่อนปิ่น อาเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ โดยได้เริ่มเดินเคร่ืองเม่ือวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2532 มีขนาดกาลังผลิต 300 กิโลวัตต์ มีหลักการทางาน คือ นาน้าร้อนจากหลุมเจาะไปถ่ายเทความร้อนให้กับของเหลวหรือสารทางาน (Working Fluid) ที่มีจุดเดือดต่าจนกระทั่งเดือดเป็นไอ แล้วนาไอนี้ไปหมุนกังหันเพ่ือขับ เคร่ืองกาเนิดไฟฟ้าผลิต ไฟฟา้ ออกมา ภาพโรงไฟฟ้าพลังความร้อนใตพ้ ภิ พฝางของ กฟผ. พลังงานความร้อนใต้พิภพมีข้อจากัด คือ ใช้ได้เฉพาะในพื้นที่ที่มีศักยภาพ พลังงานความร้อนใต้พิภพอยู่ เท่านั้นนอกจากน้ีการใช้พลังงานความร้อนใต้พิภพอาจมีก๊าซและน้าที่มีแร่ธาตุที่เป็ นอันตรายต่อร่างกายของ สิ่งมีชวี ติ 3.6 พลังงานนิวเคลียร์ พลังงานนิวเคลยี ร์ เปน็ พลงั งานที่เกดิ จากการเปล่ยี นแปลงภายในนวิ เคลียสของอะตอม ซึ่งมนุษย์ ได้มีการนาพลังงานนิวเคลียร์มาใช้ประโยชน์ในหลายด้าน ได้แก่ การแพทย์ เกษตรกรรม อุตสาหกรรม และการ ผลิตไฟฟ้า การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานนิวเคลียร์เป็นการใช้ปฏิกิริยาแตกตัวนิวเคลียสของอะตอมของเช้ือเพลิง นิวเคลียร์ท่ีเรียกว่า ปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิชชัน (Nuclear Fission) ผลิตความร้อนในถังปฏิกรณ์นิวเคลียร์ ธาตุที่ สามารถนา มาใช้เป็นเช้ือเพลิงในโรงไฟฟ้า พลังงานนิวเคลียร์ คือ ยูเรเนียม – 235 ซ่ึงเป็นธาตุตัวหน่ึงที่มีอยู่ใน ธรรมชาติ โดยนิวเคลียสของเชื้อเพลิงนิวเคลียร์จะแตกออกได้เป็นธาตุใหม่ 2 ธาตุ พร้อมท้ังให้พลังงานหรือความ
ร้อนจานวนมหาศาลออกมา ความร้อนท่ีเกิดขึ้นน้ีสามารถนามาให้ความร้อนกับน้าจนเดือดกลายเป็นไอน้าไปหมุน กังหันไอนา้ ที่ต่อกับเคร่อื งกาเนดิ ไฟฟ้าก็จะสามารถผลิตกระแสไฟฟา้ ได้ ปัจจุบันเทคโนโลยีการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานนิวเคลียร์ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะด้าน มาตรฐานความปลอดภัย จึงทาใหก้ ารผลิตไฟฟ้าจากพลังงานนิวเคลียร์ในประเทศต่าง ๆ เพิ่มมากข้ึน ประกอบกับ มีต้นทุนการผลิตไฟฟ้าต่อหน่วยต่า รวมไปถึงโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ยังมีความพ่ึงพาได้สูง เน่ืองจากสามารถ ผลิตไฟฟ้าได้ในปริมาณมากอย่างต่อเนื่องเมื่อเปรียบเทียบกับเช้ือเพลิงชนิดอื่น ๆ นอกจากน้ีไม่มีการเผาไหม้ โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ไม่ปล่อยก๊าซเรือนกระจก แต่มีข้อจากัดในเรื่องของการจัดการกากกัมมันตรังสีและ เชือ้ เพลงิ ท่ใี ชแ้ ล้ว 4. ข้อดีและข้อจากดั ของพลงั งานทดแทน พลงั งานทดแทนท่ีได้ศึกษามาแลว้ มขี อ้ ดีและข้อจากัดดังตาราง เพื่อจะนาไปใชเ้ ปน็ ข้อมลู ในการพิจารณาเลือกใชพ้ ลงั งานทดแทนแตล่ ะชนดิ ไดอ้ ย่างถกู ต้องและเหมาะสม แหล่งพลังงาน ข้อดี ข้อจา่ กัด พลงั งานลม 1. เปน็ แหลง่ พลังงาน 1. มีความไม่แน่นอนข้ึนอย่กู ับสภาวะอากาศบางฤดูอาจไม่มีลมต้องใช้ ท่ีได้จากธรรมชาติ ไม่มี แบตเตอรรี่ าคาแพงเปน็ แหลง่ เกบ็ พลงั งาน ค่าเชอื้ เพลิง 2. สามารถใช้ไดใ้ นบางพน้ื ทเ่ี ท่านั้น พืน้ ท่ีท่เี หมาะสมควรเปน็ พื้นทีท่ ี่มี 2. เป็นแหล่งพลังงาน กระแสลมพดั สม่าเสมอ สะอาด 3. มีเสยี งดงั และมีผลกระทบตอ่ ทศั นยี ภาพ 3. สามารถใชร้ ะบบ 4. ทา ใหเ้ กิดการรบกวนในการส่งสัญญาณโทรทศั น์ และไมโครเวฟ ไฮบรดิ เพื่อใหเ้ กดิ 5. ต้นทนุ คา่ ไฟฟา้ ต่อหน่วยสงู ประโยชนส์ งู สุด คอื กลางคนื ใช้พลงั งานลม กลางวนั ใชพ้ ลังงาน แสงอาทิตย์ พลงั งานน้า 1. ไมต่ ้องเสีย 1. การเดินเคร่ืองผลติ ไฟฟา้ ขึ้นกับปรมิ าณน้าในช่วงทีส่ ามารถปลอ่ ย ค่าใช้จา่ ยในการซื้อ น้าออกจากเขื่อนได้ เชือ้ เพลิง 2. การก่อสรา้ งเข่ือนขนาดใหญใ่ นประเทศไทยมีขอ้ จา กัดเน่ืองจาก 2. ไม่กอ่ ใหเ้ กิดกา๊ ช อา่ งเก็บนา้ ของเข่ือนขนาดใหญ่จะทาใหเ้ กดิ นา้ ท่วมเป็นบรเิ วณกวา้ ง คาร์บอน สง่ ผลกระทบต่อบา้ นเรือนประชาชน ไดออกไซด์ จากการ ผลิตไฟฟ้า 3. โครงการโรงไฟฟ้า พลังน้า ขนาดใหญม่ ี ขีดความสามารถสงู ใน การรักษาความมัน่ คง ให้แก่ระบบไฟฟา้ สา หรับรองรับช่วงเวลาที่ มีความต้องการใช้
แหล่งพลังงาน ขอ้ ดี ขอ้ จา่ กัด พลังงาน แสงอาทิตย์ กระแสไฟฟ้าสูงสดุ พลงั งานชีวมวล 4. ต้นทนุ คา่ ไฟฟา้ ต่อ หนว่ ยตา่ 1. เปน็ แหลง่ พลังงาน 1. ตน้ ทุนคา่ ไฟฟา้ ต่อหน่วยสงู ธรรมชาตขิ นาดใหญ่ 2. แบตเตอรซ่ี ง่ึ เปน็ ตวั กักเก็บพลงั งานแสงอาทติ ย์ไวใ้ ช้ในเวลา ท่สี ดุ และสามารถใช้ กลางคืนมีอายุการใชง้ านต่า เป็นพลังงานได้ไม่มีวนั 3. มีความไมแ่ น่นอนขนึ้ อยู่กับสภาวะอากาศ โดยพนื้ ท่ีที่เหมาะสม หมด ตอ้ งเป็นพื้นท่ที ่ีมีความเขม้ รงั สีดวงอาทิตย์คงทแ่ี ละสมา่ เสมอ 2. ไมม่ ีค่าใช้จา่ ยใน เร่ืองเชอื้ เพลงิ 3. สามารถนาไปใช้ใน แหลง่ ทย่ี ังไม่มไี ฟฟา้ ใช้ และอยู่ห่างไกลจาก ระบบสายสง่ และสาย จาหนา่ ยไฟฟา้ 4. เปน็ พลังงานสะอาด ไม่ก่อให้เกดิ มลภาวะจาก กระบวนการผลิตไฟฟ้า 1. ใชป้ ระโยชน์จาก 1. ชวี มวลเปน็ วัสดุที่เหลอื จากการแปรรปู ทางการเกษตรมีปริมาณ เศษวัสดุเหลอื ใช้ทาง สารองท่ีไมแ่ น่นอน การเกษตร 2. การบริหารจดั การเชอ้ื เพลิงและจดั เก็บทาไดย้ าก 2. เพม่ิ รายไดใ้ ห้ 3. ราคาชวี มวลมแี นวโน้มสูงขึ้นเนือ่ งจากมคี วามต้องการใชเ้ พ่ิมขึน้ เกษตรกร เรื่อย ๆ 3. ช่วยแกป้ ัญหา 4. ชีวมวลทีม่ ีศกั ยภาพเหลืออย่มู ักจะอยูก่ ระจดั กระจาย มีความชน้ื สูง สิง่ แวดล้อมเรื่องวสั ดุ จึงทาให้ตน้ ทนุ การผลิตไฟฟ้าสงู ข้ึน เชน่ ใบอ้อยและยอดอ้อย ทะลาย เหลอื ทิง้ ทาง ปาลม์ เป็นต้น การเกษตร พลงั งานความ 1. เป็นแหลง่ พลังงาน ใช้ไดเ้ ฉพาะในพ้ืนทท่ี ี่มีแหลง่ ความรอ้ นใต้พภิ พอยู่เท่านน้ั รอ้ นใต้พิภพ ทไ่ี ดจ้ ากธรรมชาติ ไม่มี คา่ เชือ้ เพลงิ พลังงาน 2. เปน็ แหล่งพลงั งาน นิวเคลยี ร์ สะอาด 1. เปน็ แหล่งผลติ 1. ใชเ้ งนิ ลงทนุ ในการก่อสรา้ งสงู ไฟฟ้าขนาดใหญ่โดยมี 2. จา เปน็ ต้องเตรยี มโครงสร้างพื้นฐานและพัฒนาบุคลากรเพอื่ ให้ ต้นทุนการผลติ ไฟฟา้ การดาเนนิ งานเป็นไปอยา่ งมีประสิทธภิ าพ ต่อหนว่ ยตา่ แข่งขนั ได้ 3. ตอ้ งการเตรยี มการจดั การกากกมั มนั ตรงั สีและมาตรการควบคุม กับโรงไฟฟ้าชนิดอนื่ ได้ ความปลอดภยั เพื่อป้องกันอบุ ัติเหตุ 2. เปน็ โรงไฟฟ้าที่ 4. ยงั ไม่เป็นทย่ี อมรับของประชาชน ประชาชนมขี อ้ กงั วลใจในเร่อื ง
แหล่งพลังงาน ข้อดี ข้อจา่ กัด สะอาดไม่กอ่ ใหเ้ กดิ ความปลอดภัย มลพษิ และกา๊ ซเรือน กระจก 3. ช่วยเสรมิ สรา้ ง ความมน่ั คงให้ระบบ ผลติ ไฟฟ้า เน่อื งจากใช้ เช้อื เพลงิ น้อยเมื่อ เทยี บกบั โรงไฟฟ้า ความรอ้ นประเภทอ่นื 4. มีแหลง่ เชอ้ื เพลงิ มากมาย เชน่ แคนาดา และออสเตรเลยี และ ราคาไม่ผนั แปรมาก เม่อื เทียบกบั เช้อื เพลงิ ฟอสซลิ หมายเหตุ ให้ผ้เู รยี นศึกษาเพ่ิมเตมิ จากหนังสอื เรยี น วิชา การใช้พลงั งานไฟฟ้าในชวี ติ ประจาวนั 3 รหสั พว32023 ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย หนา้ 27
ใบความรู้ครัง้ ที่ 14 วชิ าการใชพ้ ลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจา่ วนั 3 รหัส พว32023 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย เรือ่ ง วงจรไฟฟาและอุปกรณไฟฟา วงจรไฟฟ้าและอุปกรณใ์ นวงจรไฟฟา้ วงจรไฟฟา้ ทใี่ ชต้ ามอาคารบา้ นเรือนจะถกู ส่งจากโรงไฟฟา้ โดยทางสายไฟฟ้าแรงสูง จากนั้นถูกส่งผ่านหม้อ แปลงไฟฟ้าเพื่อลดความต่างศักย์ไฟฟ้าให้ต่าลงท่ีสถานีย่อยและที่เสาไฟฟ้าก่อนเข้าสู่บ้านเรือน ผ่านทางมาตรวัด พลังงานไฟฟา้ โดยสายไฟฟา้ ทต่ี ่อแยกเอาพลงั งานไฟฟา้ เข้ามาใช้ในบ้านต้องนาไปต่ออุปกรณ์และเคร่ืองใช้ไฟฟ้าใน บา้ น วงจรไฟฟ้าคอื อะไร วงจรไฟฟ้าเปน็ เสน้ ทางท่ีกระแสไฟฟ้าผา่ นอุปกรณ์ไฟฟ้าต่างๆ ได้ครบวงจรวงจรไฟฟ้า( Electric Circuit ) แบง่ ออกเป็น 2 ประเภท คอื 1. วงจรปดิ เป็นวงจรไฟฟา้ ที่มีกระแสไฟฟ้าไหลได้ครบวงจร 2. วงจรเปิด เปน็ วงจรไฟฟา้ ท่ีไม่มีกระแสไฟฟ้าไหลผา่ น
วัสดแุ ละอุปกรณท์ ี่ใชใ้ นงานระบบไฟฟ้า ระบบไฟฟ้าเป็นระบบที่มีความสาคัญในบ้านทุกบ้าน การเลือกใช้ระบบไฟฟ้า การเดินสายไฟ ชนิดของ สายไฟ และอุปกรณ์ติดตั้งทางไฟฟ้าให้เหมาะสมกับลักษณะของงาน เป็นเร่ืองที่ผู้ใช้ต้องมีความรู้พ้ืนฐาน เพ่ือ นาไปสู่การพิจารณาเลือกใช้ให้คุ้มค่าเกิดประโยชน์สูงสุดเป็นการช่วย ประหยัดพลังงานและยังมีผลดีต่อส่วนรวม ของประเทศในแง่ของการอนรุ กั ษ์ธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อมในดา้ นการลดภาวะโลกร้อนได้ 1. สายไฟฟา้ การเลือกใชส้ ายไฟฟ้า 1.1 ใช้เฉพาะสายไฟฟ้าท่ีได้มาตรฐาน จากสานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มีเครื่องหมาย มอก.11) เท่านน้ั 1.2 สายไฟฟ้าชนิดทใ่ี ช้เดนิ ภายในอาคารห้ามนาไปใช้เดินนอกอาคาร เพราะแสงแดดจะทาให้ฉนวนแตก กรอบชารุด สายไฟชนิดท่ีใช้เดินนอกอาคารมักจะมีการเติมสารป้องกันแสงแดดไว้ในเปลือกหรือ ฉนวนของสาย สารป้องกันแสงแดดส่วนใหญ่ท่ีใช้กันมากนั้นจะเป็นสีดา แต่อาจจะเป็นสีอื่นก็ได้ การเดินร้อยในท่อก็มีส่วนช่วย ปอ้ งกันฉนวนของสายจากแสงแดดไดใ้ นระดบั หนึ่ง 1.3 เลือกใช้ชนิดของสายไฟใหเ้ หมาะสมกบั สภาพการติดต้ังใช้งาน เช่น สายไฟชนิดอ่อนห้ามนาไปใช้เดิน ยึดตดิ กับผนังหรือลากผ่านบริเวณที่มีการกดทับ สาย เช่น ลอดผ่านบานพับประตูหน้าต่าง หรือตู้ เน่ืองจากฉนวน ของสายไมส่ ามารถรับแรงกดกระแทกจากอปุ กรณจ์ ับยึดสายหรือบานพับ ได้ การเดินสายใต้ดินก็ต้องใช้ชนิดที่เป็น สายใต้ดนิ (เชน่ สายชนดิ NYY) พรอ้ มท้ังมกี ารเดนิ ร้อยในท่อเพื่อป้องกนั สายใตด้ นิ ไมใ่ ห้เสยี หาย เปน็ ต้น 1.4 ขนาดของสายไฟฟ้า ต้องใช้สายตัวนาทองแดงและเลือกให้เหมาะสมกับขนาดแรงดันไฟฟ้า (1 เฟส หรือ 3 เฟส) ปริมาณกระแสไฟฟ้าท่ีใช้งาน และสอดคล้องกับขนาดของฟิวส์หรือสวิตช์อัตโนมัติ (เบรกเกอร์) ท่ีใช้ สาหรับขนาดสายเมนและสายต่อหลักดินนั้นก็ต้องสอดคล้องกับขนาดของเมนสวิตช์และ ขนาดของเคร่ืองวัดฯ ด้วย ตามตารางต่อไปนี้ 2. มเิ ตอร์ไฟฟ้า เปน็ เคร่ืองวดั พลงั งานไฟฟ้าทีเ่ ราใช้ในเดอื นหน่งึ ๆ โดยมีมอเตอรท์ มี่ าตรไฟฟา้ คอยหมนุ ตัวเลข บอกค่าพลังงานไฟฟ้าท่ีใชไ้ ปเปน็ กี่ กโิ ลวัตต์/ช่ัวโมง หรือยนู ติ หรอื หนว่ ย
3. เมนสวิตช์ เป็นอุปกรณ์ตัวหลักท่ีใช้ตัดต่อวงจรไฟฟ้าของสายเมนเข้าอาคารกับสายภายในท้ัง หมด จึงเป็น อุปกรณ์สับ-เปล่ียนวงจรไฟฟา้ ตัวแรกถัดจากมิเตอร์วัดหน่วยไฟฟ้าเข้ามา ในบ้าน เมนสวิตช์อาจเป็นอุปกรณ์ตัดไฟ หลักตัวเดียว หรอื จะอย่รู วมกับอปุ กรณ์อน่ื ๆในตู้แผงสวติ ช์ 4. สวิตช์ตดั ไฟอัตโนมัติ(เซอร์กิตเบรคเกอร)์ เปน็ อุปกรณท์ ี่สามารถใช้ตัดหรือต่อวงจรไฟฟ้าได้ในขณะใช้งานปกติ และยังสามารถตัดกระแสไฟฟ้าเกินหรือกระแสไฟฟ้าลัดวงจรโดยอัตโนมัติได้ด้วย ทั้งน้ีการเลือกใช้เบรกเกอร์ จะต้องเลือกขนาดพิกัดในการตัดกระแสลัดวงจร (IC) ของเบรกเกอร์ให้สูงกว่าขนาดกระแสลัดวงจรที่เกิดข้ึนใน วงจรนั้นๆ 5. ฟิวส์ (Fuse) เป็นอุปกรณ์ป้องกนั กระแสไฟฟา้ เกินชนดิ หนง่ึ ทาหนา้ ที่ตดั ไฟฟ้าโดยอตั โนมัติ เมือ่ มีกระแสไฟฟา้ ไหลเกินค่าท่ีกาหนด ซึ่งเมื่อฟิวสท์ างานแล้วจะตอ้ งเปลย่ี นฟิวส์ใหม่ ฟิวส์ท่ใี ชเ้ ปล่ียนต้องมีขนาดกระแสไม่เกนิ ขนาด ฟิวส์เดมิ และต้องมีขนาดพิกัดการตดั กระแสลัดวงจร (IC) สูงกวา่ ขนาดกระแสลัดวงจรสูงสุดทีไ่ หลผา่ นฟวิ ส์ 6. หลักดิน (Ground Rod หรือ Grounding Electrode หรือ Earth Electrode) เป็นแท่งหรือแผ่นโลหะท่ี ฝังอยู่ในดิน เพื่อทาหน้าที่แพร่หรือกระจายประจุไฟฟ้าหรือกระแสไฟฟ้าให้ไหลลงสู่ดินได้โดย สะดวก วัตถุท่ีจะ นามาใช้เป็นหลักดิน เช่น แท่งทองแดงขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 16 มิลลิเมตร (5/8 นิ้ว) ความยาวมาตรฐานต้อง ยาวไม่นอ้ ยกว่า 2.40 เมตร เปน็ ต้น
7. ตุ้มหรือลูกถ้วย เป็นอุปกรณ์ที่ใช้รองรับสายไฟ ทาหน้าท่ีเป็นฉนวนและป้องกันมิให้กระแสไฟฟ้ารั่วลงดินหรือ ลดั วงจรลงดนิ 8. หลอดไฟฟ้า (Lamp) ทาหน้าที่ให้แสงสว่างสาหรับสถานที่ปฏิบัติงาน หรือท่ีอยู่อาศัย การติดตั้งระบบส่อง สว่างควรคานึงถึงปัจจัยต่าง ๆ ในการจัดแสง และส่ิงท่ีจาเป็นอย่างยิ่งน้ันก็คือการเลือกประเภทและชนิดของ หลอดไฟฟ้า โดยปกตทิ ั่วหลอดไฟฟา้ ไปแบง่ ออกได้เปน็ 3 ประเภทคือ หลอดไฟฟ้าชนิดมีไส้ (Filament Lamp) เป็นหลอดไฟฟ้าที่นิยมใช้ในรุ่นแรก ๆ หรือบางที่ก็เรียกว่าหลอด ธรรมดา องค์ประกอบของหลอดประกอบด้วย หลอดแก้ว, ไส้หลอด, (ส่วนไส้หลอดทาจากทังสเตน) เส้นลวดที่ ตอ่ เข้ากับขั้วหลอด, ลวดยดึ ไสห้ ลอด,และก้านหลอดยดึ ไส้, ปจั จบุ ันนิยมใช้ไมม่ ากนักเพราะให้กาลังส่องสว่างน้อย กว่าหลอดประเภทอื่น ในกรณีกาลังวัตต์เท่ากัน มีจาหน่วยในท้องตลาดมีหลายขนาด เช่น 40วัตต์ 60 วัตต์ 80วัตต์ 100วัตต์ ฯลฯ อายุการใช้งานประมาณ 1000 ชั่วโมง หลอดประเภทน้ีมีอยู่ 2 ลักษณะ คือ ชนิด แบบเข้ยี ว และชนิดแบบเกลียว หลอดไฟฟา้ ชนดิ เรอื งแสง (Fluorescent Lamp) หรือเรยี กวา่ หลอดฟลอู อเรสเซนต์หลอดไฟฟ้า ประเภทนี้มี ประสิทธิภาพสูงกว่าหลอดไฟฟ้าธรรมดา ถึง 4 เท่า ให้แสงสว่างที่เย็นตามากกว่า รวมท้ังอุณหภูมิความร้อนที่ เกดิ ขนึ้ จากหลอดนอ้ ยกว่า ส่วนประกอบท่ีสาคญั ของหลอดประกอบดว้ ย 1) ตวั หลอด 2) ข้วั หลอด 3) ไส้หลอด
4) สารบรรจภุ ายในหลอด เชน่ อารก์ อน และไอปรอท หลอดไฟฟ้าชนิดฟลูออเรสเซนต์ท่ีจาหน่วยในท้องตลาด มีหลายลักษณะเช่น หลอดฟลูออเรสเซนต์ ธรรมดา หลอดฟลูออเรสเซนต์แบบวงกลม (32 วัตต์) แบบยาวตรง (18,36 วัตต์) และหลอดฟลูออเรสเซนต์ แบบคอมแพค (Compact) หรือหลอดตะเกยี บ หลอดไฟฟ้าชนิดอาศัยการอาร์ค หรือหลอดไฟชนิดคายประจุ หลอดประเภทนี้ใช้กระแสไฟฟ้ามากในการ ทางานไม่นิยมใชใ้ นบ้านเรือนท่วั ไป สว่ นใหญจ่ ะใชเ้ ฉพาะจดุ หรอื พ้ืนทต่ี ้องการแสงสวา่ งมาก ๆ หลอดไฟฟ้าชนิดน้ี มหี ลายแบบ เช่น หลอดไอปรอท หลอดฮาโลเจน หลอดโซเดยี ม หรอื หลอดแสงจันทร์ 9.สตารท์ เตอร์ ทาหนา้ ที่คล้ายเป็นสวิทช์ อัตโนมัติ เพอ่ื เปิดและปิดวงจรของหลอด ฟลูออเรสเซนต์ เม่ือเริ่มต้น ทางานสตาร์ทเตอร์ทาหน้าท่ีเปิดวงจรเพื่ออุ่นไส้หลอดให้พร้อม ที่จะทางาน เมื่อไส้หลอดทางานเรียบร้อยแล้ว สตารท์ เตอรก์ ป็ ดิ วงจร 10. บัลลาส ทาหนา้ ที่แปลงแรงดันไฟฟา้ ให้เหมาะ สมกบั หลอดซง่ึ แรงดันไฟฟ้าในตอนเร่ิมต้นจะสูงมาก เพ่ือจุด ไส้หลอดให้ปลดปล่อยอิเลคตรอนออกมา หลังจากหลอดทางานแล้ว บัลลาสจะเปล่ียนหน้าที่โดยจะเป็นตัว จากัดปรมิ าณของกระแสไฟฟ้าท่ีไหลเขา้ หลอด
11. เต้ารับ (Socket-outlet หรือ Receptacle) หรือปล๊ักตัวเมียคือข้ัวรับสาหรับหัวเสียบจากเครื่องใช้ไฟฟ้า ปกตเิ ตา้ รับจะตดิ ตั้งอยู่กับท่ี เชน่ ตดิ อยกู่ ับผนงั อาคาร เปน็ ต้น 12. เตา้ เสยี บ เป็นอปุ กรณ์ทใี่ ชเ้ ชอื่ มตอ่ วงจรไฟฟ้า ทาให้กระแสไฟฟ้าไหลเข้าสู่อุปกรณ์และเคร่ืองใช้ไฟฟ้า โดยนา ปลายของสายไฟฟ้าของเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ต่ออยู่กับเต้าเสียบ ไปเสียบกับเต้ารับ ท่ีต่ออยู่ในวงจรไฟฟ้าใดๆ ก็ได้ ภายในบ้าน 13. สวิตช์เปิด-ปิดธรรมดา (Toggle Switch) สวิตช์เปิด-ปิดในท่ีน้ี หมายถึงสวิตช์สาหรับเปิด-ปิดหลอดไฟหรือ โคมไฟสาหรับแสงสวา่ งหรือเครอ่ื งใช้ ไฟฟ้าชนดิ อนื่ ๆ ท่ีมีการตดิ ตั้งสวิตชเ์ อง
ใบความรู้ครั้งที่ 15 วิชาการใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจ่าวัน3 รหสั พว32023 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย เรื่อง การประหยดั พลังงานไฟฟาผลติ ไฟฟา การใชแ้ ละการประหยัดพลงั งานไฟฟา้ เรื่องที่ 1 กลยทุ ธก์ ารประหยัดพลงั งานไฟฟ้า 3 อ. พลังงานไฟฟ้าเป็นสิ่งท่ีมีความจาเป็นอย่างหนึ่งในการดาเนินชีวิตของมนุษย์ และมีความต้องการที่เพิ่ม มากขึ้นอย่างต่อเน่ือง ในขณะท่ีเชื้อเพลิงประเภทฟอสซิลท่ีใช้ในการผลิตไฟฟ้ามีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเน่ือง อาจ ส่งผลกระทบต่อการขาดแคลนพลังงานไฟฟ้าในอนาคต ดังน้ัน ประชาชนควรตระหนักถึงการใช้พลังงานไฟฟ้า อย่างประหยัดและรคู้ ณุ ค่า การประหยัดพลังงาน คือ การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ และรู้คุณค่า การประหยัด พลังงาน นอกจากช่วยลดปริมาณการใช้พลังงาน ซึ่งเป็นการประหยัดค่าใช้จ่ายของครัวเรือนและประเทศชาติแล้ว ยังช่วย ลดปัญหาผลกระทบจากส่ิงแวดล้อมได้ด้วย กลยุทธ์หนึ่งของประเทศไทยท่ีประสบความสาเร็จด้านการประหยัด การใช้ไฟฟ้าและพลังงานของชาติ คือ กลยุทธ์ประหยัดพลังงานไฟฟ้า 3 อ. ได้แก่ อุปกรณ์ประหยัด ไฟฟา้ อาคารประหยัดไฟฟา้ และอุปนสิ ัยประหยัดไฟฟา้ เร่ืองท่ี 1 กลยุทธ์การประหยดั พลงั งาน 3 อ. 1. กลยทุ ธ์ อ. 1 อุปกรณป์ ระหยัดไฟฟา้ กลยุทธ์ อ. 1 คือ อุปกรณ์ประหยัดไฟฟ้า เป็นการส่งเสริมให้ทุกครัวเรือนเปลี่ยนมาใช้อุปกรณ์ ไฟฟ้าทีม่ ีประสทิ ธภิ าพสงู ประหยัดไฟ กฟผ. จึงได้ดาเนินโครงการ “ฉลากประหยัดไฟฟ้าเบอร์ 5 หรือ ฉลากเบอร์ 5” ซง่ึ เป็นการดาเนนิ งานด้านมาตรฐานประสทิ ธิภาพพลังงาน โดยใช้ฉลากแสดงระดบั ประสิทธิภาพไฟฟ้า ปัจจุบัน อุปกรณ์ไฟฟ้าและเคร่ืองใช้ไฟฟ้าที่ติดฉลากเบอร์ 5 มีหลายชนิด เช่น ตู้เย็น เคร่ืองปรับอากาศ พัดลมไฟฟ้า หม้อ หุงขา้ วไฟฟ้า และหลอด LED เปน็ ตน้ ภาพฉลากเบอร์ 5 ของแท้ ปัจจุบันฉลากเบอร์ 5 มีผู้ลอกเลียนแบบเป็นจานวนมาก โดยมีการติดฉลากเลียนแบบหรือติดเพียง คร่งึ เดียว ซ่ึงหาก กฟผ. ตรวจพบจะแจง้ ดาเนินคดตี ามกฎหมาย ทั้งนี้ กฟผ. ได้จดทะเบียนเครื่องหมายรับรองตาม พระราชบัญญัติเครอื่ งหมายการคา้ หากบุคคลใดลอกเลียนแบบถอื วา่ มีความผิด สามารถสังเกตลักษณะของฉลาก เบอร์ 5 ของปลอมได้ ดังภาพ
ภาพฉลากเบอร์ 5 ของปลอม 2. กลยุทธ์ อ. 2 อาคารประหยดั ไฟฟ้า กลยุทธ์ อ. 2 คอื อาคารประหยัดไฟฟ้า เป็นการสง่ เสริมให้ผปู้ ระกอบการภาคธุรกจิ และ ภาคอตุ สาหกรรม เห็นความสาคญั และพร้อมใจกันใชอ้ ปุ กรณป์ ระหยดั ไฟฟา้ ท่ีมีประสทิ ธิภาพสงู พร้อมกับการใช้ มาตรการต่าง ๆ ที่เปน็ การประหยัดไฟฟ้า ทั้งน้ีการประหยัดพลงั งานไฟฟา้ ในอาคารสามารถดาเนินการได้ ดงั นี้ 1) ออกแบบวางตาแหน่งอาคาร ควรออกแบบใหด้ า้ นยาวของอาคารหันหน้าเข้าหาทศิ ตะวันออก หรือทิศตะวนั ตก 2) ปลูกไม้ยืนตน้ ใหร้ ม่ เงาแก่อาคาร พร้อมทงิ้ ชายคาหลังคาหรือจดั ทาแผงบังแดดช่วยเสรมิ การ บงั แดด 3) ออกแบบภูมทิ ัศน์รอบอาคารเพ่ือลดความรอ้ นเข้าสู่ตวั อาคาร เชน่ ปลูกหญา้ รอบอาคาร ขดุ สระนา้ ตดิ ต้ังนา้ พุ ดักลมกอ่ นพดั เขา้ สู่อาคาร และปลกู ไม้ยืนตน้ ให้ร่มเงา เป็นต้น 4) ใชว้ สั ดุทม่ี คี ณุ สมบตั ิเป็นฉนวนความรอ้ น สะท้อน หรอื ป้องกันความรอ้ นเปน็ ผนังหลังคา และ ฝ้าเพดานของอาคาร 5) ใช้วัสดุหรอื นวัตกรรมท่ชี ว่ ยระบายความร้อน เชน่ ลูกระบายอากาศอลมู ิเนยี มที่ทางานโดยไม่ ต้องอาศยั พลังงานไฟฟ้า 6) ใช้ระบบปรบั อากาศ ชนดิ ประหยัดไฟ และแยกสวิตชเ์ ปิด – ปิดเฉพาะเคร่ืองเพอื่ ให้ควบคมุ การเปดิ – ปิดตามความต้องการใชง้ านในแต่ละบรเิ วณ 7) ลดจานวนพดั ลมดดู อากาศ เพ่อื ป้องกนั การสูญเสียอากาศเย็นมิให้ออกไปจากห้องปรับอากาศ มากเกินไป 8) ใชป้ ระโยชนจ์ ากแสงธรรมชาตใิ นเวลากลางวันแทนแสงสวา่ งจากไฟฟา้ เช่น ใช้กระเบื้องโปร่ง แสง หนา้ ต่างกระจกใส เปน็ ต้น 9) ใช้หลอดไฟฟา้ แสงสวา่ งชนดิ เกดิ ความร้อนน้อยทีด่ วงโคม เชน่ หลอดฟลูออเรส-เซนต์ ลด ความรอ้ นจากหลอดไฟฟา้ แสงสวา่ งโดยไม่จาเปน็ 10) ใชอ้ ุปกรณ์นวัตกรรม คือ บลั ลาสต์อิเลก็ ทรอนิกส์ กบั หลอดฟลูออเรสเซนต์เพ่ือยดื อายุการ ใช้งานของหลอดไฟ และประหยัดคา่ ไฟฟา้ รวมท้ังใช้ครอบโลหะสะท้อนแสงเพ่ือช่วยเพิม่ ความสว่างแกห่ ลอดไฟ 2 – 3 เท่า โดยใชจ้ านวนหลอดไฟเท่าเดิม 3. กลยุทธ์ อ. 3 อุปนิสยั ประหยดั ไฟฟา้ กลยุทธ์ อ. 3 คอื อุปนิสัยประหยัดไฟฟา้ เปน็ การปลูกจิตสานึกและอปุ นสิ ัยให้คนไทยโดยเฉพาะ อยา่ งยิ่งเยาวชนไทย ใช้พลังงานอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ซง่ึ มีแนวปฏบิ ตั ิหลกั ในการประหยัดพลงั งานไฟฟ้าใน ครัวเรือน ดังนี้
1) ปิดและถอดปลั๊กทกุ คร้ังหลังเสรจ็ สน้ิ การใชง้ านเคร่ืองใช้ไฟฟ้า 2) หม่นั ทาความสะอาดเครื่องใช้ไฟฟ้าอย่างสม่าเสมอ 3) เลอื กขนาดของใช้เคร่ืองใช้ไฟฟ้าใหเ้ หมาะสมกบั การใช้งาน ท้ังนี้เครื่องใชไ้ ฟฟ้าแต่ละชนดิ มีวิธกี ารใช้งานเพื่อประหยดั พลงั งานไฟฟา้ ท่ีแตกต่างกัน เรื่องท่ี 2 การเลือกซือ้ เลือกใช้ และดแู ลรักษาเคร่ืองไฟฟ้าในครวั เรือน โดยท่ัวไปเครื่องใช้ไฟฟ้าภายในครัวเรือน มักมีการใช้พลังงานไฟฟ้าสูงเกือบทุกชนิด เพื่อเป็นการ ประหยัดและคมุ้ คา่ ผ้ใู ชจ้ ึงควรมคี วามรเู้ กีย่ วกบั การใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าอย่างถูกวิธี ในท่ีนี้จะกล่าวถึงเคร่ืองใช้ไฟฟ้า ท่ีมีใช้ทั่วไปในครัวเรือน เช่น เคร่ืองทาน้าอุ่นไฟฟ้า กระติกน้าร้อนไฟฟ้า พัดลม โทรทัศน์ เตารีด ไฟฟา้ ตเู้ ย็น เปน็ ตน้ 1. เครื่องท่านา่้ อุน่ ไฟฟา้ เครื่องทาน้าอุ่นไฟฟ้า เป็นอุปกรณ์ท่ีทาให้น้าร้อนข้ึน โดยอาศัยการพาความร้อนจากขด ลวดความร้อนขณะที่กระแสน้าไหลผ่าน ส่วนประกอบหลักของเครื่องทาน้าอุ่นไฟฟ้า คือ ขดลวดความร้อน หรือ เรียกว่า ฮีตเตอร์ และอุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิ หรือเรียกว่าเทอร์โมสตัท ซ่ึงส่วนประกอบแต่ละส่วนมีหน้าที่ แตกตา่ งกัน ดงั น้ี 1) ขดลวดความร้อน มีหนา้ ท่ีให้ความรอ้ นกับนา้ 2) อุปกรณค์ วบคมุ อุณหภูมิ มีหนา้ ทตี่ ัดกระแสไฟฟา้ เมือ่ อุณหภูมิของนา้ ถึงระดบั ที่ตัง้ ไว้ ภาพสว่ นประกอบของเคร่ืองทานา้ อุ่นไฟฟา้ การใช้เครือ่ งทา่ น้า่ อนุ่ ไฟฟ้าอย่างถูกวธิ ีและประหยัดพลังงาน 1) เลือกเครอ่ื งทานา้ อนุ่ ไฟฟ้าใหเ้ หมาะสมกับการใช้งาน เคร่ืองทาน้าอนุ่ ท่ีใชโ้ ดยท่วั ไปควรมีขนาด ไม่เกนิ 4,500 วตั ต์ 2) ต้งั อณุ หภูมินา้ ใหอ้ ยู่ในช่วง 35 – 45 C 3) ใชห้ วั ฝกั บวั ชนิดประหยดั น้า จะประหยัดน้าได้ถงึ ร้อยละ 25 – 75 4) ใช้เครื่องทานา้ อนุ่ ไฟฟ้าที่มีถังนา้ ภายในตัวเครื่องและมีฉนวนห้มุ เพราะสามารถลดการใช้พลงั งาน ได้มากกวา่ ชนิดท่ีไมม่ ีถงั นา้ ภายในรอ้ ยละ 10 – 20 5) ปดิ วาล์วนา้ ทกุ คร้ังขณะฟอกสบู่หรอื สระผม 6) ปดิ วาลว์ น้าและสวติ ชท์ นั ทเี มื่อเลิกใช้งาน การดูแลรักษาเครื่องทาน้าอุน่ ไฟฟ้าให้มีอายุการใช้งานนานขน้ึ ลดการใช้พลังงานและปอั งกันอุบตั เิ หตุ หรืออันตรายทีอ่ าจจะเกิดขน้ึ มีข้อควรปฏบิ ัตดิ งั นี้ 1) หม่ันตรวจสอบการทางานของเคร่ืองอย่างสมา่ เสมอ ให้มสี ภาพพร้อมใช้งานโดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ระบบความปลอดภยั ของเคร่ือง 2) ตรวจดูระบบท่อน้าและรอยต่อ ไมใ่ หม้ ีการรวั่ ซึม
3) เมอื่ พบความผิดปกติในการทางานของเครื่อง ควรใหช้ า่ งผชู้ านาญตรวจสอบ 4) ตอ้ งมีการตอ่ สายดิน 2. กระติกน้่าร้อนไฟฟา้ กระติกน้ารอ้ นไฟฟา้ เปน็ อุปกรณใ์ นการต้มน้าให้ร้อน ประกอบด้วยขดลวดความร้อน อยู่ด้านล่าง ของกระติก และอุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิเป็นอุปกรณ์ควบคุมการทางาน เม่ือกระแสไฟฟ้าไหลผ่านขดลวดจะเกิด ความร้อน และถ่ายเทไปยังน้าภายในกระติก ทาให้น้ามีอุณหภูมิสูงข้ึนจนถึงจุดเดือด จากน้ันอุปกรณ์ควบคุม อุณหภูมิจะตัดกระแสไฟฟ้าในวงจรหลักออกไป แต่ยังคงมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านขดลวดความร้อน และแสดง สถานะนีโ้ ดยหลอดไฟสัญญาณอ่นุ จะสว่างขนึ้ เมือ่ อณุ หภูมขิ องนา้ รอ้ นภายในกระตกิ ลดลงจนถึงจุด ๆ หน่ึงอุปกรณ์ ควบคมุ อณุ หภูมจิ ะทางานโดยปล่อยให้กระแสไฟฟ้าผา่ นขดลวดความร้อนเต็มที่ทาใหน้ า้ เดือดอีกคร้งั การใชก้ ระติกน่า้ ร้อนไฟฟ้าอย่างถูกวธิ ีและประหยดั พลังงาน 1) เลอื กซื้อร่นุ ที่มตี รามาตรฐานอตุ สาหกรรม (มอก.) 2) ใสน่ ้าให้พอเหมาะกับความต้องการหรือไม่สูงกวา่ ระดับท่ีกาหนดไว้ เพราะจะทาให้กระติกเกดิ ความเสียหาย 3) ระวงั ไม่ให้น้าแหง้ หรือปลอ่ ยให้ระดับน้าต่ากว่าขีดท่ีกาหนด เพราะจะทาให้เกิดไฟฟ้าลัดวงจรใน กระติกน้ารอ้ น 4) ไมค่ วรเสียบปล๊ักท้ิงไว้ตลอดเวลา ควรถอดปลัก๊ เม่อื เลกิ ใชน้ า้ ร้อนแลว้ เพอื่ ลดการสิ้นเปลือง พลังงาน 5) ไม่นาสิง่ ใด ๆ มาปดิ ชอ่ งไอน้าออก 6) ตรวจสอบการทางานของอปุ กรณค์ วบคุมอณุ หภมู ิใหอ้ ยูใ่ นสภาพใช้งานได้เสมอ 7) ไม่ควรตงั้ ไว้ในห้องที่มีเครือ่ งปรับอากาศ การดูแลรกั ษากระตกิ นา้ ร้อนไฟฟ้าใหม้ ีอายกุ ารใช้งานนานข้ึน ลดการใช้พลังงานลงและป้องกันอุบัติเหตุ หรือ อันตรายท่ีอาจจะเกิดข้ึน มขี ้อควรปฏบิ ตั ิ ดงั นี้ 1) หมน่ั ตรวจสายไฟฟ้าและขว้ั ปล๊กั ให้อย่ใู นสภาพพร้อมใช้งานอยเู่ สมอ 2) ควรใช้น้าสะอาดสาหรบั ตม้ เพื่อป้องกันการเกิดคราบสนมิ และตะกรนั ท่ีผวิ ดา้ นในกระติกน้าร้อน ไฟฟ้า 3) หมน่ั ทาความสะอาดด้านในกระติกน้ารอ้ นไฟฟ้าไม่ใหม้ ีคราบตะกรัน เนอื่ งจากตะกรันจะเปน็ ตัว ตา้ นทาน การถ่ายเทความรอ้ นจากขดลวดความร้อนไปสู่น้า ทาให้เวลาในการต้มน้าเพ่ิมขน้ึ เปน็ การสูญเสีย พลังงานโดยเปล่าประโยชน์ 4) การทาความสะอาดส่วนตา่ ง ๆ ของกระติกนา้ ร้อนไฟฟา้ ภาพกระตกิ นา้ ร้อนไฟฟ้า 3. พดั ลม พัดลม เป็นอปุ กรณท์ ่ชี ่วยในการหมนุ เวยี นอากาศ และระบายความร้อนภายในบา้ นซง่ึ ในปัจจุบันพัด
ลมท่ใี ช้มหี ลากหลายลักษณะและประเภทขน้ึ อยู่กับการใชง้ าน สว่ นประกอบหลักของพดั ลม ได้แก่ ใบพัด ตะแกรง หน้า ตะแกรงหลงั มอเตอร์ไฟฟา้ สวิตชค์ วบคมุ การทางาน และกลไกควบคุมการหมนุ และสา่ ย ดงั ภาพ ภาพส่วนประกอบหลักของพัดลม การใชพ้ ดั ลมอย่างถูกวธิ ีและประหยดั พลังงาน 1) เลือกใชค้ วามแรงของลมให้เหมาะกบั ความต้องการ ความแรงของลมย่งิ มากย่งิ ใช้ไฟฟา้ มาก 2) ปดิ พัดลมทันทเี ม่ือไมใ่ ช้งาน 3) ในกรณที ่ีพดั ลมมรี ะบบรีโมทคอนโทรล ไม่ควรเสยี บปลกั๊ ทิ้งไว้ เพราะจะมีไฟฟ้าเลยี้ งอุปกรณ์ ตลอดเวลา 4) ควรวางพัดลมในทีท่ ี่มอี ากาศถ่ายเทสะดวก เพราะพดั ลมใช้หลกั การดูดอากาศจากบริเวณ ดา้ นหลงั ของตวั ใบพดั แล้วปล่อยออกสู่ดา้ นหน้า การดูแลรักษาพัดลมอยา่ งสม่าเสมอ จะชว่ ยใหพ้ ัดลมทางานไดเ้ ต็มประสิทธิภาพ และยงั ชว่ ยยืดอายุ การทางาน มีข้อควรปฏบิ ัติ ดงั นี้ 1) ทาความสะอาดเป็นประจา โดยเฉพาะ ใบพดั ตะแกรงครอบใบพัด และช่องลมตรงฝาครอบ มอเตอร์ ไม่ให้มีฝนุ่ ละอองและคราบน้ามัน 2) ดูแลใหม้ สี ภาพดอี ยเู่ สมอ ไม่ใหแ้ ตกหกั ชารุด หรือโคง้ งอผิดสว่ น จะทาให้ลมทอี่ อกมามคี วามแรง ของลมลดลง ภาพพัดลม 4. โทรทัศน์ โทรทศั น์ เปน็ อุปกรณ์ท่ีแปลงสัญญาณคล่นื แม่เหล็กไฟฟา้ เปน็ ภาพด้วยวงจร อเิ ล็กทรอนิกส์ท่ีมีความ ซับซอ้ น สว่ นประกอบของโทรทัศนท์ เ่ี หน็ ไดช้ ดั เจนมดี ังนี้ 1) สว่ นประกอบภายนอก คือ ตวั โครงท่ีหอ่ หุ้มอปุ กรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์ จอภาพปุม่ หรือสวติ ชต์ ่าง ๆ และช่องต่อสายอากาศ เปน็ ต้น 2) ส่วนประกอบภายใน คือ อปุ กรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ ตัวรบั – เปล่ียนสญั ญาณเปน็ ภาพและเสยี งท่มี า ในรูปของคลนื่ แม่เหล็กไฟฟา้ ส่วนประกอบของจอภาพและระบบเสยี งรวมทั้งลาโพง เปน็ ตน้
ภาพการส่งสญั ญาณโทรทศั น์มายงั เคร่ืองรบั โทรทัศน์ การดแู ลรักษาและใช้โทรทัศนใ์ ห้ถูกวธิ ี นอกจากจะช่วยใหโ้ ทรทศั นเ์ กิดความคงทนภาพที่ได้คมชัด และมีอายุการใช้งานยาวนานขึ้น ควรมขี ้อปฏิบตั ิ ดงั น้ี 1) ควรวางโทรทัศนไ์ ว้ในจุดท่มี กี ารถ่ายเทอากาศได้ดี เพื่อใหเ้ คร่อื งสามารถระบายความร้อนได้ สะดวก 2) หมัน่ ทาความสะอาดจอภาพเปน็ ประจา เพอ่ื ลดปริมาณฝนุ่ ละออง โดยใช้ผ้านมุ่ เช็ดตัวเครื่อง โทรทศั น์ สว่ นจอภาพควรใช้ผงซักฟอกอยา่ งอ่อน หรอื น้ายาล้างจานผสมกับน้าเชด็ เบา ๆ จากนั้นเช็ดด้วยผา้ นุม่ ให้ แหง้ และทส่ี าคัญต้องถอดปล๊ักก่อนทาความสะอาดทุกครงั้ วดั ตามเส้นทแยงมุม ชนขอบดา 5. เตารีดไฟฟ้า เตารีดไฟฟา้ เป็นเครอ่ื งใช้ไฟฟ้าที่มีใชก้ ันแทบทุกครวั เรือน หากเปรยี บเทยี บกับเคร่ืองใชไ้ ฟฟ้าชนดิ อน่ื เตารีดจดั เป็นเครอื่ งใช้ไฟฟา้ ที่ใชก้ าลงั ไฟฟ้าสูง การเลือกซอื้ และใชง้ านอยา่ งถกู วิธจี ะสามารถลดการใช้ไฟฟา้ ลง ได้ เตารีดไฟฟ้าสามารถแบ่งได้ 3 ลกั ษณะ คือ เตารดี แบบธรรมดา แบบไอนา้ และแบบกดทับเตารีดไฟฟา้ แต่ละ ประเภทมสี ่วนประกอบสาคญั 3 สว่ น คือ 1) ไส้เตารีด ทามาจากโลหะผสมระหวา่ งนิกเกลิ และโครเมยี ม ทาหน้าท่ีให้กาเนดิ ความร้อนเมื่อได้รับ กระแสไฟฟา้ โดยความร้อนจะมากหรอื น้อยขึ้นกับสว่ นผสมของโลหะและ 2) อปุ กรณ์ควบคุมอุณหภมู ิ ทาหนา้ ท่ปี รับความร้อนของไส้เตารดี ให้เทา่ กบั ระดบั ท่ีได้ต้ังไว้ 3) แผน่ โลหะดา้ นล่างของเตารดี ทาหน้าที่เป็นตวั กดทับเวลารดี และกระจายความร้อนการใช้เตารดี ไฟฟ้าอย่างถูกวธิ แี ละประหยัดพลังงานในการใชเ้ ตารดี ไฟฟ้าอยา่ งประหยดั พลังงาน ไม่ควรลดปรมิ าณความร้อนที่ ใชใ้ นการรดี ลง แตค่ วรใช้เตารีดไฟฟ้ารีดผ้าอยา่ งรวดเร็วที่ระดับความร้อนทีเ่ หมาะสมกบั ความหนาและชนดิ ของผ้า รวมทัง้ ควรปฏบิ ัติ ดังน้ี 1) เก็บผา้ ท่ีรอรีดใหเ้ รียบร้อย และใหผ้ ้ายับน้อยทส่ี ุด 2) แยกประเภทผ้าหนาและผา้ บาง เพอ่ื ความสะดวกในการรดี 3) รวบรวมผา้ ทีจ่ ะรดี แต่ละครัง้ ให้มากพอ การรีดผา้ ครง้ั ละชุดทาใหส้ ้นิ เปลืองไฟฟ้ามาก 4) ไม่ควรพรมน้ามากจนเกนิ ไป เพราะจะทาให้สญู เสียความรอ้ นจากการรดี มาก
5) เร่มิ รดี จากผา้ บาง ๆ หรอื ตอ้ งการความร้อนน้อยก่อน จากนั้นจงึ รดี ผา้ ทตี่ ้องการความรอ้ นสงู และ ควรเหลอื ผ้าทตี่ อ้ งการความร้อนนอ้ ยส่วนหนึ่ง ไวร้ ีดในตอนทา้ ย 6) ถอดปลัก๊ ก่อนเสร็จส้ินการรดี 3 – 4 นาที การดูแลรกั ษาเตารดี ไฟฟ้า การดแู ลรักษาเตารีดไฟฟ้าอย่างสมา่ เสมอจะช่วยให้เตารดี ทางานได้เต็มประสทิ ธิภาพและช่วยยดื อายุการทางาน มีขอ้ ควรปฏบิ ัตดิ ังน้ี 1) หากพบคราบสกปรกบนหน้าสัมผัสเตารดี ใหใ้ ช้ฟองน้าชุบนา้ ยาทาความสะอาดโดยเฉพาะของ เตารีดไฟฟา้ หรือนา้ ยาล้างจานเช็ดออก เพราะคราบสกปรกจะเปน็ ตวั ตา้ นทานความร้อน ทาใหส้ ิ้นเปลอื งไฟฟา้ มาก ข้นึ ในการเพม่ิ ความรอ้ น 2) สาหรบั เตารีดไฟฟา้ ไอน้า น้าท่ีใชค้ วรเปน็ น้ากลั่นเพ่ือปอ้ งกันการเกดิ ตะกรนั ซึ่งตะกรันจะเปน็ สาเหตุของการเกดิ ความตา้ นทานความร้อน 3) ควรตรวจหรอื เปลี่ยนสายไฟซ่ึงอาจชารดุ หรอื เสื่อมสภาพ เมือ่ ใช้เตารดี ไฟฟ้ามาเปน็ ระยะ เวลานาน 6. ต้เู ยน็ ตู้เยน็ เปน็ อปุ กรณท์ าความเย็นเพื่อถนอมอาหารโดยการลดอุณหภูมิ ท่ีใช้พลังงานตลอด 24 ชั่วโมง ดังน้นั การเลอื กและใชต้ ู้เยน็ อย่างเหมาะสมจะชว่ ยประหยดั พลงั งานไดม้ าก การใช้ต้เู ยน็ อย่างถูกวธิ แี ละประหยัดพลงั งาน 1) ไม่ควรเปิด – ปิดตู้เย็นบ่อยครั้ง และไม่ควรเปิดตู้เย็นทิ้งไว้ เนื่องจากความร้อนภายนอกจะไหล เข้าตเู้ ย็น ทาให้คอมเพรสเซอรต์ อ้ งทางานหนักมากข้ึน เพื่อรักษาอณุ หภูมิภายในตู้เย็นให้คงเดมิ ตามทีต่ ้ังไว้ 2) ไมค่ วรติดต้ังตู้เยน็ ใกล้กบั แหลง่ กาเนิดความรอ้ น หรือรับแสงอาทติ ยโ์ ดยตรงเน่อื งจากปริมาณ ความรอ้ นจะถูกถ่ายเทเขา้ ไปในต้เู ย็นมากขึน้ เป็นการเพมิ่ ภาระให้กับระบบทาความเยน็ 3) ไมเ่ กบ็ อาหารในตูเ้ ยน็ มากเกนิ ไป เพราะจะทาให้อณุ หภูมใิ นตู้เย็นไม่สม่าเสมอควรให้มชี ่องว่าง เพ่ือให้อากาศภายในไหลเวียนได้สม่าเสมอ 4) ไม่ควรนาอาหารร้อนแช่ในตเู้ ย็น เพราะจะทาให้อาหารทีอ่ ยู่ในบริเวณเดียวกันเส่ือมคุณภาพหรือ เสยี คอมเพรสเซอร์มอี ายุการใชง้ านส้นั ลง และสูญเสยี พลงั งานไฟฟ้ามากข้ึน 5) ไม่ควรเสียบปลก๊ั ใหม่ทนั ที เพราะจะสง่ ผลให้มอเตอรข์ องคอมเพรสเซอร์ทางานหนกั และเกดิ การ ชารดุ หรอื อายุการใช้งานสัน้ ลง
ใบความรู้ครงั้ ท่ี 16 วิชาโครงงานเพ่อื พัฒนาทกั ษะการเรียนรู้ รหัสวิชา ทร02006 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เรอ่ื ง โครงงาน โครงงาน คอื อะไร โครงงานเป็นการศกึ ษาค้นควา้ เกี่ยวกับส่งิ ใดส่งิ หนึง่ หรือหลายๆสงิ่ ที่อยากรู้คาตอบให้ลึกซึ้ง หรือเรียนรู้ใน เร่ืองน้นั ๆให้มากขน้ึ โดยใช้กระบวนการ วิธกี ารทศ่ี ึกษาอย่างมีระบบ เป็นขั้นตอน มีการวางแผนในการศึกษาอย่าง ละเอียด ปฏิบัติงานตามแผนทีว่ างไว้ จนไดข้ อ้ สรุปหรือผลสรปุ ที่เป็นคาตอบในเรือ่ งนน้ั ๆ การจดั การเรียนการสอนแบบโครงงาน คือการจัดประสบการณ์ในการปฏิบัติงานให้แก่เด็กเหมือนกับ การท่างานในชีวิตจริง เพื่อให้เด็กมีประสบการณ์ตรง เด็กจะได้เรียนรู้วิธีการแก้ปัญหารู้จักรู้จักการท่างาน อยา่ งมีระบบ รู้จักการวางแผนในการท่างาน ฝึกการคิดวิเคราะห์และเกิดการเรยี นรูด้ ้วยตนเอง โครงงานจัดเป็นการเรียนรู้รูปแบบหนึ่งท่ีทาให้ผู้เรียนรู้เรียนรู้ด้วยตนเอง โดยใช้กระบวนการทาง วิทยาศาสตรอ์ ย่างเป็นข้นั ตอนและใช้ความรู้ทต่ี นเองไดม้ าบรู ณาการ ประเภทโครงงาน แบ่งออกเปน็ ๒ ประเภท ได้แก่ ๑. โครงงานตามสาระการเรียนรู้ เปน็ การใช้บรู ณาการร่วมกับการเรียนรู้ ทักษะและเป็นพ้ืนฐานในการ กาหนดโครงงานและปฏบิ ัติ ๒. โครงงานตามความสนใจ เป็นโครงงานท่ผี ูเ้ รยี นกาหนดข้ันตอน ความถนัด ความสนใจ ความต้องการ โดยใชท้ ักษะความรู้ จากกลุ่มสาระการเรียนรู้ตา่ งๆมาบรู ณาการเปน็ โครงงานและปฏบิ ัติ สามารถแบ่งได้ ๔ รูปแบบ ตามวัตถปุ ระสงค์ 1. โครงงานทีเ่ ปน็ การสารวจ รวบรวมขอ้ มูล 2. โครงงานทเ่ี ปน็ การค้นควา้ ทดลอง 3. โครงงานทเี่ ปน็ การศึกษาทฤษฎี หลักการ หรือแนวคดิ ใหม่ๆ 4. โครงงานท่ีเปน็ การประดิษฐ์ คดิ ค้น โครงงานที่เปน็ การสา่ รวจ รวบรวมข้อมูล โครงงานประเภทน้ี เปน็ โครงงานทีม่ วี ตั ถปุ ระสงคใ์ นการรวบรวมขอ้ มลู เรือ่ งใดเร่ืองหนึ่ง แล้วนาขอ้ มูลนน้ั มาจาแนกเปน็ หมวดหมู่ ในรปู แบบทีเ่ หมาะสม เช่น แบบสอบถาม แบบสมั ภาษณ์ แบบบันทกึ เปน็ ต้น โครงงานท่ีเป็นการคน้ คว้า ทดลอง เป็นโครงงานที่มีวัตถปุ ระสงค์ เพือ่ การศึกษาเรื่องใดเรอ่ื งหนึ่งโดยเฉพาะ โดยออกแบบในรปู ผลการทดลอง เพ่ือศกึ ษาตัวแปรหน่งึ จะมผี ลต่อตัวแปรทีต่ ้องการศึกษาอย่างไร ดว้ ยการควบคุมตัวแปร โครงงานที่เปน็ การศึกษาทฤษฎี หลักการหรือแนวคิดใหม่ๆ เปน็ โครงงานที่มีวตั ถปุ ระสงคเ์ พื่อเสนอความรู้ หรอื หลักการใหม่ๆ เกี่ยวกับเรื่องใดเรอ่ื งหนง่ึ ท่ยี งั ไม่มใี ครเคย เคยคดิ หรอื ขัดแย้ง หรอื ขยายจากของเดมิ ท่มี ีอยู่ ซง่ึ ต้องผา่ นการพิสูจนอ์ ย่างมีหลักการก่อน โครงงานทเ่ี ป็นการ ประดิษฐ์ คดิ ค้น
เปน็ โครงงานท่ีมวี ัตถปุ ระสงค์ คือ การนาความรทู้ ฤษฎี หลักการ มาประยุกต์ใช้ โดยประดิษฐ์เปน็ เครือ่ งมือ เครื่องใชต้ ่างๆ เพื่อประโยชน์ตา่ งๆ หรืออาจเปน็ การประดิษฐข์ ึ้นมาใหม่ หรอื ปรบั ปรุงของเดมิ ให้ดีขน้ึ กไ็ ด้ ขนั้ ตอนการทาโครงงาน ขั้นตอนที่ ๑ การคดิ และเลอื กหัวเร่อื ง เปน็ การหาหัวข้อในการทดลอง ในการทจี่ ะอยากรูอ้ ยากเหน็ ข้นั ตอนท่ี ๒ การศึกษาเอกสารท่ีเก่ยี วข้อง รวมไปถึงการขอคาปรึกษา หรอื ข้อมูลต่างๆจากผทู้ รงคุณวุฒิท่ีเกี่ยวข้อง ขั้นตอนท่ี ๓ การเขยี นเคา้ โครงของโครงงาน โดยทั่วไปเคา้ โครงของโครงงานจะมีหวั ข้อดังต่อไปน้ี หวั ข้อ/รายการ รายละเอียดทต่ี อ้ งระบุ 1.ชอ่ื โครงงาน 1. ทาอะไร กับใคร เพื่ออะไร 2.ชื่อผู้ทาโครงงาน 2. ผู้รบั ผดิ ชอบโครงงานน้ี 3.ชื่อท่ีปรึกษาโครงงาน 3. ผ้ทู รงคณุ วุฒิตา่ งๆ 4.ระยะเวลาดาเนนิ การ 4. ระยะเวลาดาเนินงานโครงงานตั้งแต่ตน้ จนจบ 5.หลักการและเหตผุ ล 5. เหตุผลและความคาดหวัง 6.จุดหมาย/วตั ถปุ ระสงค์ 6. สิ่งที่ต้องการให้เกิดเมื่อส้นิ สดุ การทาโครงงาน 7.สมมติฐานของการศึกษาโครงงาน 7. สิ่งทคี่ าดวา่ จะเกดิ เม่อื สิ้นสุดการทาโครงงาน 8.ขั้นตอนการดาเนนิ งาน 8. ขั้นตอนการทางาน เครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์ สถานท่ี 9.ปฏบิ ตั ิโครงงาน 9. วัน เวลา และกิจกรรมดาเนินงานตา่ งๆตัง้ แตต่ ้นจนเสร็จ 10. ผลทค่ี าดวา่ จะไดร้ ับ 10. สภาพของผลที่ต้องการให้เกิดทง้ั ท่ีเปน็ ผลผลิต กระบวนการ 11. บรรณานุกรม และผลกระทบ 11. ชอ่ื เอกสารข้อมูล ที่ได้จากแหลง่ ตา่ งๆ ข้นั ตอนท่ี ๔ การปฏิบตั ิโครงงาน เปน็ การดาเนนิ งานตามแผน ทไ่ี ดก้ าหนดไว้ในเคา้ โครงของ โครงงาน และต้องมีการจดบันทกึ ข้อมูลตา่ งๆได้อย่างละเอียด และตอ้ งจดั ทาอยา่ งเปน็ ระบบ ระเบยี บ เพื่อท่ีจะได้ใชเ้ ปน็ ข้อมลู ต่อไป ขั้นตอนที่ ๕ การเขยี นรายงาน ควรใชภ้ าษาทเ่ี ขา้ ใจงา่ ย กระชบั ชัดเจน และครอบคลุมประเดน็ สาคญั ของโครงงาน โดยสามารถเขียนให้อยู่ในรูปตา่ งๆ เชน่ การสรปุ รายงานผล ซ่งึ ประกอบไปด้วยหวั ข้อ ต่างๆ เช่น บทคัดย่อ บทนา เอกสารทเ่ี กย่ี วข้อง เป็นต้น ข้นั ตอนท่ี ๖ การแสดงผล การแสดงผลงาน เป็นการนาเสนอผลงาน สามารถจัดได้หลายรปู แบบ เชน่ การจัดนิทรรศการ หรือทาเป็นส่ิงตีพิมพ์ การสอนแบบเพื่อนสอนเพ่ือน ตามแต่ความเหมาะสมของ โครงงาน
การวางแผนโครงการ เปน็ การเลือกหวั ข้อโครงการโดยครแู ละนักเรยี นร่วมกัน หวั ขอ้ โครงการมาจากความสนใจของนักเรยี นเปน็ หลกั แต่ ครูก็ต้องมีส่วนในการแนะนาการเลือกหวั ข้อโครงการโดยครูพจิ ารณาเกณฑ์ในการเลือกหัวขอ้ โครงการ ดังน้ี 1.เปน็ เรื่องทม่ี ีอยู่จรงิ และเปน็ ไปได้ มีคณุ คา่ ตอ่ การเรยี นรขู้ องนกั เรยี น 2.เปน็ เรื่องทนี่ กั เรยี นสนใจ 3.นักเรียนพอมีประสบการณ์เกย่ี วกับเร่ืองนัน้ อย่บู ้าง 4.เป็นเรอ่ื งทน่ี กั เรยี นมโี อกาสได้เรียนรู้จากประสบการณต์ รง 5.มแี หล่งทรัพยากรในการเรียนรเู้ ก่ยี วกับเรอื่ งนั้น 6.เปน็ เรื่องทีเ่ ปิดโอกาสให้นักเรยี นร่วมมอื กนั ในการทาโครงการ 7.เป็นเร่อื งทเ่ี ปิดโอกาสนักเรียนไดส้ รา้ งสงิ่ ต่างๆและมโี อกาสเลน่ สมมุติ 8.นักเรียนไดพ้ ฒั นาการครบถ้วนทกุ ดา้ นตามจุดมุ่งหมายของหลักสตู ร 9.เป็นเรอ่ื งทนี่ ักเรยี นสามารถนาความรู้และทักษะที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในการทากิจกรรมอื่นๆ 10.เป็นเร่อื งทผี่ ู้ปกครองมโี อกาสเขา้ มามีสว่ นร่วมในโครงการ 11.เปน็ เรอ่ื งที่ไม่กว้างเกินไป จนทาใหไ้ มส่ ามารถศึกษาลกึ ลงไปในรายละเอียดได้ ข้นั ที่ 1เริ่มตน้ โครงการ ขนั้ น้เี ป็นการทบทวนความรเู้ ดมิ ของนักเรยี นทม่ี เี ก่ียวกับหัวข้อของโครงการแลว้ แลกเปลย่ี นประสบการณ์ ความรู้นั้นแก่นักเรียนคนอนื่ ๆ และเป็นการสรา้ งความสนใจใคร่ร้เู กีย่ วกบั หัวข้อโครงการในรายละเอยี ดลึกลงไป ครูอภปิ รายร่วมกบั นักเรยี นเกีย่ วกบั หัวขอ้ โครงการและชว่ ยกระตุ้นให้นักเรียนนาเสนอความร้แู ละประ สบการณ์ เดิมของตน นกั เรยี นแลกเปลย่ี นประสบการณค์ วามรูเ้ ดิมเกี่ยวกับโครงการกับเพื่อนๆโดยการอภปิ ราย และนาเสนอผา่ นส่ือ ตา่ งๆ เชน่ การวาดภาพระบายสี การทางานศลิ ปะอื่นๆ การเขยี น การทาแผนภมู ิ ครูตรวจสอบและบันทกึ ความรู้ประสบการณ์ทน่ี ักเรยี นมีอยู่เดิม ครูช่วยนักเรียนตัง้ คาถามเก่ียวกบั หวั ขอ้ ของโครงการเพื่อทาการศึกษาอยา่ งลึกและละเอยี ดต่อไป ครจู ดบนั ทึกคาพูด คาถามของนักเรียนแล้วเลอื กนามาจัดแสดงในห้องเรียนเพื่อชว่ ยใหน้ กั เรยี นไดต้ รวจสอบ ประเดน็ คาถามทน่ี กั เรียนต้องการศกึ ษา ข้ันท่ี 2 พัฒนาโครงการ ในขั้นนีน้ ักเรยี นจะได้ทางานภายใตก้ ารดูแลแนะนาของครู เปน็ ทงั้ การทางานเดี่ยว งานกล่มุ เลก็ ๆของคนท่ี มคี วามสนใจตรงกันหรือกลุม่ ใหญ่ งานทที่ าเป็นการนาเสนอการเรียนรู้ทเี่ ป็นผลของการศึกษาหาคาตอบตาม คาถามในข้นั ท่ี 1 โดยแสดงออกในรปู ของการสร้างส่งิ ตา่ งๆ งานศลิ ปะ การเลน่ สมมตุ ิ และเปน็ ขนั้ ทน่ี ักเรียนจะได้ ออกไปศึกษาข้อเทจ็ จรงิ โดยการมปี ระสบการณ์ตรงกบั ส่งิ น้ันๆ
ครดู าเนนิ การให้นักเรยี นได้ออกไปศึกษาจากแหล่งความรู้จริงๆ ใหม้ โี อกาสไดส้ ัมผสั กับแหลง่ ความรทู้ ีเ่ ปน็ สิ่งของ สถานที่กระบวนการหรอื บุคคลด้วยตนเอง ให้เกิดประสบการณ์ตรง นักเรยี นเขา้ ไปสารวจ สงั เกตและสมั ภาษณ์ อย่างใกลช้ ดิ ค้นหาคาตอบที่ต้องการ และต้งั ประเดน็ คาถามเกี่ยวกบั เร่ืองนน้ั ขึ้นใหมใ่ ห้ไดร้ ายละเอียดลึกซึ้งยิง่ ข้นึ ครูจดั เตรียมแหลง่ ความรู้ต่างๆสนบั สนุน เช่น หนังสือ ของจรงิ ห่นุ จาลองเพ่ือที่นกั เรียนจะได้ตรวจสอบความรู้ ของตน และครูเตรยี มวสั ดุอุปกรณ์ต่างๆสาหรบั การออกไปแสวงหาความรใู้ หน้ กั เรียน นกั เรยี นนาความร้ใู หม่ท่ีได้มานาเสนอในรปู แบบตา่ งๆ เช่น การสรา้ งแบบจาลอง การวาดภาพระบายสี การทา แผนภมู ิ การทาหนงั สอื การเลน่ สมมตุ ิ ขั้นท่ี 3 รวบรวมสรุป ข้นั นีค้ รูจัดเตรียมสถานการณ์เพ่อื รวบรวมผลการศึกษาตามโครงการจัดนาเสนอแก่คนอน่ื ๆ เช่น นกั เรียน ในชัน้ เรยี นอื่นๆ บคุ ลากรในโรงเรียน ผู้บริหารโรงเรยี น ผู้ปกครอง ครูชว่ ยนกั เรยี นเลอื กและจัดเตรยี มผลงานทีจ่ ะนาเสนอ นักเรยี นประเมนิ ผลงานของตนเองและเลอื กผลงานท่ีจะนาเสนอ ครแู นะนาให้นักเรียนนาความรใู้ หม่ท่ีได้นาเสนอในรปู แบบต่างๆเชน่ งานศลิ ปะ การแสดงละคร เพลง แตง่ เป็น นทิ านหรอื ทาหนังสอื ครูอาจจะชว่ ยนักเรียนตัง้ ประเดน็ ความสนใจขึ้นใหม่สาหรบั โครงการต่อไป
ใบความรู้คร้ังที่ 17 วิชาโครงงานเพ่อื พัฒนาทักษะการเรยี นรู้ รหัสวิชา ทร02006 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เร่อื ง ขอ้ มูลและสารสนเทศ 1.ข้อมลู และสารสนเทศ ข้อมูล (data) หมายถึง ข้อเท็จจริง (fact) ที่อยู่ในรูปแบบตัวอักษร ตัวเลข สัญลักษณ์พิเศษ รูปภาพ ภาพเคลือ่ นไหว และเสียง ซึ่งสามารถบันทึกไว้อย่างต่อเน่ืองและมีความหมายอยู่ในตัว เช่น ช่ือนักเรียน อายุ เพศ จานวนประชากร ปริมาณฝน เป็นต้น ข้อมูลจะมีอยู่จานวนมาก และจะถูกนาไปประมวลผลเพ่ือใช้ประโยชน์ใน เรอื่ งตา่ ง ๆ ไดม้ ากมาย ข้อมูลมีความสาคัญมาก หากข้อมูลท่ีป้อนให้คอมพิวเตอร์ผิด ผลลัพธ์ที่ได้จากคอมพิวเตอร์จะผิดด้วยหรือ เรียกว่า ปอ้ นขยะเขา้ ยอ่ มไดข้ ยะออกมา (garbage in – garbage out) การประมวลผล (processing) หมายถึง การกระทาของเครื่องคอมพิวเตอร์กับข้อมูล เช่น การรวบรวม เปน็ แฟ้มข้อมูล การคานวณ การเปรียบเทยี บ การเรยี งลาดับ การจัดกลุ่มขอ้ มลู การจัดทารายงาน เปน็ ต้น สารสนเทศ (information) หมายถึง ส่ิงที่ได้จากการนาข้อมูลท่ีเก็บรวบรวมไว้มาประมวลผลเพื่อนามาใช้ ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ต่าง ๆ หรืออาจกล่าวได้ว่าสารสนเทศ คือ ข้อมูลท่ีผ่านการเลือกสรรให้เหมาะสมกับ การใช้งาน ทนั ตอ่ เวลาและอยู่ในรูปแบบท่ใี ช้ได้สะดวก ซึ่งสารสนเทศที่ดีต้องมาจากขอ้ มูลทีด่ ี การจัดเก็บข้อมูลและสารสนเทศจะต้องมีการควบคุมดูแลเป็นอย่างดี เช่น อาจจะมีการกาหนดให้ผู้ใดบ้าง เป็นผู้มีสิทธิใช้ข้อมูลได้ ข้อมูลที่เป็นความลับจะต้องมีระบบขั้นตอนการควบคุมกาหนดสิทธ์ิในการแก้ไขหรือการ กระทากับข้อมูลว่าจะกระทาได้โดยใครบา้ ง นอกจากน้ีข้อมลู ท่ีเกบ็ ไว้แล้วต้องไม่เกิดการสูญหายหรือถูกทาลายโดย ไมไ่ ดต้ ้ังใจ ภาพแสดงการประมวลผลขอ้ มลู ให้เปน็ สารสนเทศ ชนิดและลักษณะข้อมูล การแบง่ ประเภทของข้อมูลข้ึนอยู่กบั - ความต้องการของผู้ใช้ - ลักษณะของข้อมลู ท่ีนาไปใช้ - เกณฑ์ท่ีนามาพจิ ารณา สามารถแบ่งชนิดและลกั ษณะของข้อมูลไว้ 4 รูปแบบ ดังนี้
1. การแบง่ ข้อมูลตามลักษณะของขอ้ มลู เปน็ การแบ่งข้อมลู โดยพิจารณาจากการรบั ข้อมลู ของประสาทสมั ผสั ของรา่ งกาย ไดแ้ ก่ - ขอ้ มลู ภาพทไ่ี ดร้ ับจากการมองเห็นด้วยดวงตา - ขอ้ มลู เสียงท่ีได้รบั จากการฟงั ดว้ ยหู - ข้อมลู กลิ่นทไี่ ดร้ บั จากการสดู ดมดว้ ยจมูก - ขอ้ มลู รสชาติที่ได้รบั จากการรับรสชาติดว้ ยล้ิน - ขอ้ มลู สมั ผัสท่ีได้รับจากความร้สู กึ ด้วยผวิ หนงั 2. การแบ่งข้อมูลตามแหล่งข้อมูลทไ่ี ดร้ ับ โดยพิจารณาจากลักษณะของทมี่ าหรือการไดร้ บั ข้อมูล ไดแ้ ก่ - ขอ้ มูลปฐมภูมิ (Primary Data) คือ ขอ้ มูลทีไ่ ด้จากการเก็บรวบรวมหรอื บนั ทึกจากแหลง่ ข้อมูล โดยตรง ด้วยวธิ ีต่างๆ เช่น จากการสอบถามการสมั ภาษณ์การสารวจการจดบันทึกตวั อย่างขอ้ มลู ปฐมภูมิ ได้แก่ ขอ้ มูลการ มาโรงเรียนสายของนักเรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 1 ซงึ่ ได้จากการจดบนั ทึกในรอบ 1 เดอื นท่ผี ่านมา - ข้อมูลทุติยภมู ิ (Secondary Data) คือ การนาข้อมลู ทผี่ ้อู ื่นได้เกบ็ รวบรวมหรอื บนั ทึกไวม้ าใชง้ าน ผใู้ ชไ้ ม่ จาเปน็ ตอ้ งเก็บรวบรวมและบันทึกดว้ ยตนเอง จัดเปน็ ข้อมูลทเี่ กิดขึน้ ในอดตี มักผา่ นการประมวลผลแล้ว ตัวอยา่ ง ข้อมลู ทุตยิ ภูมิ ไดแ้ ก่ สถติ ิการมาโรงเรียนสายของนกั เรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 ในปีพ.ศ.2550 3. การแบ่งข้อมูลตามการจัดเก็บในในสอื่ อเิ ล็กทรอนิกส์ มีลกั ษณะคลา้ ยการแบ่งขอ้ มลู ตามลักษณะของข้อมลู แต่มกี ารแยกลักษณะข้อมลู ตามชนดิ และนามสกุล ของข้อมลู น้ัน ๆ ไดแ้ ก่ - ขอ้ มูลตัวอักษร เชน่ ตัวหนงั สือ ตวั เลข และสัญลกั ษณ์ ข้อมลู ประเภทนีม้ กั มีนามสกลุ ต่อท้ายช่ือไฟล์ เป็น .txt และ .doc - ขอ้ มูลภาพ เช่น ภาพกราฟิกต่าง ๆ และภาพถ่ายจากกลอ้ งดิจทิ ลั ข้อมลู ประเภทนี้มักมนี ามสกลุ ต่อท้าย ช่อื ไฟลเ์ ป็น .bmp .gif และ .jpg - ขอ้ มูลเสยี ง เชน่ เสียงพูด เสยี งดนตรี และเสียงเพลง ข้อมลู ประเภทนีม้ ักมีนามสกุลตอ่ ท้ายช่ือไฟลเ์ ปน็ .wav .mp3 และ .au - ข้อมูลภาพเคลื่อนไหว เช่น ภาพเคลื่อนไหว ภาพมวิ สิกวดี ีโอ ภาพยนตร์ คลิปวดิ ีโอ ขอ้ มูลประเภทนี้ มกั มนี ามสกลุ ตอ่ ทา้ ยชือ่ ไฟลเ์ ป็น .avi 4. การแบ่งข้อมูลตามระบบคอมพิวเตอร์ มลี กั ษณะคล้ายและใกล้เคียงกับการแบง่ ขอ้ มูลตามการจดั เก็บในส่อื อเิ ล็กทรอนิกส์มาก แต่มงุ่ เนน้ พิจารณา การแบง่ ประเภทตามการนาข้อมลู ไปใช้งานในระบบคอมพิวเตอร์ ได้แก่ - ขอ้ มูลเชิงจ่านวน มีลกั ษณะเป็นตวั เลขทส่ี ามารถนามาคานวณดว้ ยคอมพวิ เตอรไ์ ด้ เช่น จานวนเงินใน กระเป๋า จานวนคา่ โดยสารรถประจาทาง และจานวนนกั เรียนในห้องเรยี น - ขอ้ มูลอกั ขระ มลี ักษณะเปน็ ตัวอกั ษร ตวั หนังสอื และสัญลกั ษณ์ ต่างๆ ซ่ึงสามารถนาเสนอข้อมูลและ เรียงลาดบั ไดแ้ ต่ไมส่ ามารถนามาคานวณได้ เช่น หมายเลขโทรศัพท์ เลขท่ีบา้ นและช่ือของนักเรยี น - ขอ้ มูลกราฟิก เปน็ ข้อมลู ทเี่ กดิ จากจดุ พกิ ัดทางคอมพวิ เตอร์ ทาให้เกิดรปู ภาพหรือแผนที่ เช่น เครอ่ื งหมาย การค้า แบบก่อสร้างอาคาร และกราฟ - ข้อมูลภาพลกั ษณ์ เป็นข้อมลู แสดงความเขม้ และสีของรปู ภาพท่เี กิดจากการสแกนของสแกนเนอร์เป็น หลัก ซ่ึงสามารถนาเสนอข้อมลู ย่อหรอื ขยาย และตัดต่อได้ แต่ไม่สามารถนามาคานวณหรือดาเนินการ อยา่ ง อืน่ ได้
2.การคิดอยา่ งเป็นระบบ (System Thinking) การคิดถึงสง่ิ หนึง่ สิ่งใดทีม่ องภาพรวมอยา่ งเป็นระบบ มเี หตุมผี ล ทาใหผ้ ลของการคิด หรือผลของการ แก้ปญั หาที่ไดน้ ้ันมีความถูกต้อง แม่นยา และรวดเรว็ การคิดอย่างเป็นระบบ จะต้องมีคณุ สมบัติ ดังน้ี 1.การคิดแบบมีความเปน็ องค์รวม (Holistic) หรือ Wholeness เป็นการประเมินองค์ประกอบ ของ สถานการณ์หรือสภาพปัญหาของหน่วยงาน ในภาพรวมทงั้ หมด 2.การคิดเป็นเครือข่าย (Networks) เป็นการคดิ เชอื่ มโยงปฏสิ ัมพันธข์ องระบบตา่ งๆ ท่ีประกอบกัน ข้ึนมา เป็นเครือขา่ ยของระบบ 3.คิดเป็นลาดับชัน้ (Hierarchy) ระบบหนงึ่ ๆ อาจจะมาจากระบบยอ่ ยๆ หลายระบบทปี่ ระกอบกนั ข้นึ มา และในระบบย่อยเองกม็ คี วามสมั พนั ธ์ของสว่ นต่างๆ ท่เี ป็นองคป์ ระกอบของระบบ 4.คดิ แบบมีปฏิสัมพันธต์ ่อกัน (Interaction) ระหวา่ งระบบดว้ ยกัน ท้ังระบบย่อยกบั ระบบยอ่ ยด้วยกัน ระบบใหญ่กับสภาพแวดล้อม ซ่ึงการเปลีย่ นแปลงของระบบยอ่ ยจะมผี ลต่อ ระบบใหญด่ ว้ ย 5.คดิ อยา่ งมีขอบเขต (Boundary) ระบบหนง่ึ ๆ มาจากระบบย่อยหลายระบบ และระหว่างระบบยอ่ ย และระบบใหญ่ต่างมีขอบเขตทแี่ สดงใหเ้ ห็นว่า ระบบนั้นๆ ครอบคลุมอะไรบ้าง และอะไรบา้ ง ทอ่ี ย่นู อกเขตแดน ซง่ึ ในความเปน็ จรงิ ระบบก็ไม่ไดแ้ ยกเขตแดนกนั อยา่ งเดด็ ขาด แต่มีการทับซอ้ น (Overlap) กนั อยู่ 6.คดิ อยา่ งมีแบบแผน (Pattern) ระบบจะต้องมีความคงท่ีแน่นอน เพื่อเป็นหลกั ประกนั วา่ กระบวนการ ทางานทุกอย่างในทุกๆ ขนั้ ตอน จะไม่เบ่ียงเบนไปจากเป้าหมายโดยรวมของระบบ 7.คิดอยา่ งมีโครงสรา้ ง (System Structure) แตล่ ะส่วนท่ีประกอบเป็นระบบมีความเป็นตัวของตัวเอง มี ความเป็นอิสระ แต่ก็มีความเช่ือมโยงกนั อย่างเหมาะสมทาหนา้ ทอี่ ยา่ งสัมพันธ์กนั ทางานเสริมประสานกนั กบั ส่วน อ่นื ๆ เพื่อให้บรรลเุ ป้าหมายของระบบโดยรวม 8.คิดอยา่ งมีการปรับตวั ตอ่ การเปล่ยี นแปลง (Adaptation) ระบบตา่ งๆ จะมกี ารปรับตวั และพยายาม สรา้ งสภาวะสมดลุ และคงความสมดลุ นั้นไว้ ด้วยการจัดระบบภายในตนเอง (Self Organize) คิดเป็นวงจร ป้อนกลับ (Feedback - Loops) เปน็ การคิดในลักษณะเป็นวง (Loops) มากกว่าจะเปน็ เสน้ ตรง ทกุ ส่วนต่างมีการ เช่ือมต่อ ทงั้ โดยตรงและโดยอ้อม 3.ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เป็นทักษะการคิดของนักวิทยาศาสตร์ท่ีน่ามาใช้ในการศึกษาค้นคว้า สบื เสาะหาความรู้ และแกป้ ญั หาต่างๆ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ได้แบ่งออกเป็น 13 ทักษะ 1. การสังเกต ( observation ) หมายถึง การใช้ประสาทสัมผัสอย่างใดอย่างหน่ึงหรือหลายอย่าง รวมกัน ได้แก่ ตา หู จมูก ล้ิน และผิวกาย เข้าไปสัมผัสโดยตรงกับวัตถุหรือเหตุการณ์เพื่อค้นหาข้อมูล ซ่ึง เปน็ รายละเอียดของสงิ่ นัน้ โดยไม่ใสค่ วามเห็นของผสู้ งั เกตลงไปดว้ ย ขอ้ มลู ท่ไี ด้จากการสงั เกต ประกอบดว้ ย 1. ขอ้ มูลเก่ียวกบั รูปรา่ ง ลกั ษณะและสมบัติ 2. ข้อมูลเชิงปรมิ าณ 3. ข้อมูลที่เก่ียวกบั การเปลีย่ นแปลงท่สี งั เกตเห็นจากวตั ถุหรือเหตุการณน์ ั้น ผู้ท่มี ที กั ษะการสงั เกต ตอ้ งมคี วามสามารถท่แี สดงให้เหน็ ว่าเกดิ ทกั ษะนีป้ ระกอบด้วย 1. การช้ีบ่งและการบรรยายสมบัติของวัตถุได้ โดยการใช้ประสาทสัมผัสอย่างใดอย่างหน่ึงหรือ หลายอย่าง 2. บรรยายสมบตั เิ ชิงปริมาณของวัตถุได้ โดยการกะประมาณ 3. บรรยายการเปล่ียนแปลงของส่ิงท่ีสงั เกตได้ 2. การวัด ( measurement ) หมายถึง ความสามารถในการเลือกใช้เคร่ืองมือในการวัดอย่าง เหมาะสม และใช้เครื่องมือน้ันหาปริมาณของส่ิงต่างๆ ออกมาเป็นตัวเลขได้ถูกต้องและรวดเร็วโดยมีหน่วย กากบั ตลอดจนสามารถอา่ นคาทีว่ ดั ไดถ้ กู ต้องและใกล้เคยี งกับความเป็นจรงิ
ผู้ทมี่ ีทกั ษะการวัด ตอ้ งมคี วามสามารถที่แสดงให้เหน็ วา่ เกิดทกั ษะน้ีประกอบดว้ ย 1. เลอื กเคร่ืองมอื ทเี่ หมาะสมในการวัดปรมิ าณต่าง ๆ ของสง่ิ ทศี่ ึกษา 2. ใชเ้ ครื่องมอื วดั ปริมาณตา่ งๆ ได้อย่างถกู ต้อง แม่นยา รวดเร็ว 3. คดิ วธิ กี ารทจี่ ะหาค่าปรมิ าณตา่ งๆ ได้ ในกรณที ีไ่ มอ่ าจใช้เครื่องมอื วัดปริมาณน้ันได้โดยตรง 4. เลอื กหนว่ ยที่มคี ่ามาก ๆ หรือน้อยๆ นยิ มใชค้ าอุปสรรคแทนพนคุ ูณปริมาณน้ัน ๆ 5. บอกความหมายของปริมาณซึ่งได้จากการวัดได้อย่างเหมาะสม กล่าวคือ ปริมาณท่ีได้จากการ วัด ละเอยี ดถงึ ทศนิยมหนึ่งตาแหนง่ ของหนว่ ยย่อยทีส่ ุดเท่านัน้ 6. บอกความหมายของเลขนยั สาคญั ได้ 3. การจ่าแนกประเภท ( classification ) หมายถึง การจัดแบ่งหรือเรียงลาดับวัตถุหรือส่ิงท่ีอยู่ใน ปรากฏการณ์ต่างๆ ออกเป็นพวกๆ โดยมีเกณฑ์ในการจัดแบ่ง เกณฑ์ดังกล่าวอาจใช้ความเหมือน ความ แตกต่าง หรือความสัมพนั ธ์อย่างใดอย่างหน่ึงกไ็ ด้ ผู้ทีม่ ที กั ษะการจาแนกประเภท ต้องมคี วามสามารถทแี่ สดงใหเ้ หน็ วา่ เกดิ ทกั ษะนี้ ประกอบดว้ ย 1. เรียงลาดบั หรอื แบ่งพวกส่งิ ต่าง ๆ จากเกณฑท์ ีผ่ อู้ นื่ กาหนดให้ได้ 2. เรยี งลาดับหรือแบง่ พวกสง่ิ ตา่ ง ๆ โดยใช้เกณฑ์ของตนเองได้ 3. บอกเกณฑท์ ีผ่ อู้ น่ื ใชเ้ รียงลาดับหรือแบ่งพวกได้ 4. การหาความสัมพนั ธ์ระหวา่ งสเปชกบั สเปช และสเปชกับเวลา ( space/space relationships and space/time relationships ) สเปชของวัตถุ หมายถึง ท่ีว่างท่ีวัตถุน้ันครองที่ ซ่ึงจะมีรูปร่างลักษณะเช่นเดียวกับวัตถุนั้น โดยทั่วไป แล้วสเปชของวัตถจุ ะมี 3 มิติ คอื ความกว้าง ความยาว และความสงู ความสัมพันธ์ระหว่างสเปชกับสเปชของวัตถุ ได้แก่ ความสัมพันธ์ระหว่าง 3 มิติ กับ 2 มติ ิ ความสมั พันธ์ระหว่างตาแหนง่ ท่อี ยู่ของวัตถหุ นงึ่ กับอีกวัตถหุ นึ่ง ผทู้ มี่ ีทกั ษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปชกับสเปชของวัตถุ ต้องมีความสามารถท่ีแสดงให้เห็นว่าเกิด ทักษะน้ปี ระกอบดว้ ย 1. การชีบ้ ง่ รปู 2 มติ ิ และวตั ถุ 3 มิติทก่ี าหนดได้ 2. สามารถวาดภาพ 2 มิติ จากวัตถุ หรือภาพ 3 มติ ทิ ่ีกาหนดได้ 3. บอกช่ือของรปู และรูปทรงเรขาคณิตได้ 4. บอกความสมั พนั ธร์ ะหว่าง 2 มติ ิ กบั 3 มิตไิ ด้ 4.1 ระบุรูป 3 มติ ิ ทเี่ ห็นเน่ืองจากการหมุนรปู 2 มติ ิ 4.2 เมือ่ เหน็ เงา ( 2 มิติ ) ของวตั ถุสามารถบอกรูปทรงของวตั ถตุ น้ กาเนดิ เงา 4.3 เมอ่ื เหน็ วตั ถุ ( 3 มติ ิ ) สามารถบอกเงา ( 2 มติ ิ ) ทจ่ี ะเกิดขนึ้ ได้ 4.4 บอกรปู ของรอยตดั ( 2 มิติ ) ที่เกิดจากการตดั วัตถุ ( 3 มติ ิ ) ออกเปน็ 2 สว่ น ความสัมพันธ์ระหว่างสเปชกับเวลา ได้แก่ ความสัมพันธ์ระหว่างการเปล่ียนตาแหน่งที่อยู่ของวัตถุกับ เวลา หรือความสมั พันธ์ระหว่างสเปชของวตั ถทุ ่ีเปล่ียนไปกับเวลา ผู้ที่มีทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปช กับสเปชกับเวลา ตอ้ งมคี วามสามารถที่แสดงใหเ้ ห็นว่าเกิดทักษะนป้ี ระกอบด้วย 1. บอกตาแหนง่ หรอื ทิศทางของวัตถุได้ 2. บอกไดว้ า่ วตั ถอุ ยู่ในตาแหนง่ หรอื ทศิ ทางใดของอีกวตั ถุหนึง่ 3. บอกความสัมพันธ์ระหวา่ งการเปลย่ี นแปลงตาแหน่งท่อี ยู่ของวตั ถุกับเวลาได้ 4. บอกความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งของที่อยู่หน้ากระจก และภาพที่ปรากฏในกระจกว่าเป็นซ้ายหรือ ขวาของกนั และกนั ได้ 5. บอกความสมั พันธร์ ะหวา่ งการเปลย่ี นแปลงขนาด หรือปรมิ าณของสิง่ ตา่ ง ๆ กบั เวลาได้
5. การค่านวณ ( using numbers ) เป็นการนาค่าที่ได้จากการสังเกตเชิงปริมาณ การวัด การ ทดลอง และจากแหล่งอื่น ๆ มาจัดกระทาให้เกิดค่าใหม่ โดยนับและนาตัวเลขที่แสดงจานวนที่นับได้มาคิด คานวณโดยการ บวก ลบ คณู หาร และหาค่าเฉล่ยี ยกกาลังสองหรอื ถอดราก เพอื่ ใชใ้ นการสื่อความหมาย ให้ชัดเจนและเหมาะสม ผ้ทู ี่มีทักษะการคานวณ ตอ้ งมีความสามารถท่แี สดงให้เห็นว่าเกดิ ทักษะน้ีประกอบดว้ ย 1. หาผลลพั ธ์ของการบวก และการลบปริมาณทีไ่ ดจ้ ากการวดั ได้อยา่ งถูกตอ้ ง 2. หาผลลพั ธข์ องการคูณและการหาปรมิ าณที่ได้จาการวัดได้อยา่ งถกู ต้อง 3. หาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรจากข้อมูล โดยใช้ความรู้คณิตศาสตร์ในเร่ืองการแปรผัน การ สร้างสมการ มาสรา้ งเป็นสูตรได้ 4. คานวณเกี่ยวกบั ปรมิ าณทีม่ คี าอปุ สรรคประกอบหน่วยได้อย่างถูกต้อง 6. การจัดกระทา่ และการสื่อความหมายขอ้ มูล (organizing data and communication) หมายถงึ การนาข้อมลู ดิบที่ไดจ้ ากการสงั เกต การวัด การทดลอง หรือจากตาแหน่งอ่ืน ๆ มาจดั กระทาเสีย ใหม่ โดยอาศยั วิธกี ารต่าง ๆ เชน่ การหาความถี่ การเรียนลาดับ การจดั แยกประเภท การคานวณหาค่า ใหม่ เป็นต้น การส่ือความหมายข้อมลู หมายถงึ การนาข้อมูลท่ีจัดกระทานั้นมาเสนอหรือแสดงให้บุคคลอน่ื เขา้ ใจ ความหมายของขอ้ มลู ชุดน้นั ดีขน้ึ อาจนาเสนอในรูปของตาราง แผนภมู ิ แผนภาพ ไดอะแกรม วงจร กราฟ สมการ เขียนบรรยาย หรือย่อความพอสังเขป เป็นตน้ ผทู้ ่มี ีทกั ษะการจดั กระทาและการสื่อความหมายข้อมูล ต้องมคี วามสามารถที่แสดงให้เหน็ วา่ เกิดทักษะนี้ ประกอบดว้ ย 1. เลือกรปู แบบท่จี ะใชก้ ารเสนอข้อมูลไดเ้ หมาะสม 2. บอกเหตุในการเลือกรปู แบบท่จี ะใชใ้ นการเสนอขอ้ มูล 3. ออกแบบการเสนอขอ้ มลู ตามรปู แบบทีเ่ ลือกไวไ้ ด้ 4. เปลย่ี นแปลงข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบใหม่ที่เข้าใจดีขน้ึ 5. บรรยายลักษณะสง่ิ ใดส่ิงสิ่งหน่งึ ด้วยข้อความทเ่ี หมาะสม กะทัดรดั สื่อความหมายให้ผู้อ่ืน เข้าใจได้ 7. การลงความเห็นจากข้อมูล ( inferring ) ท่ีแสดงให้เห็นว่าเกิดทักษะน้ีคือ สามารถอธิบายหรือ สรุป โดยเพิ่มความคิดเห็นให้กับข้อมูล โดยใช้ความรู้หรือประสบการณ์เดิมมาช่วยหมายถึง การเพ่ิมความ คิดเห็นให้กับข้อมูลท่ีได้จากการสังเกตอย่างมีเหตุผล โดยอาศัยความรู้ หรือประสบการณ์เดิมมาช่วย ข้อมูลนี้ อาจจะไดม้ าจากการสังเกต การวัด หรอื การทดลอง การลงความเห็นจากข้อมูลชุดเดียวกัน อาจลงความเห็น หรือมีคาอธิบายได้หลายอย่างทั้งน้ีเน่ืองจากประสบการณ์ และความรู้เดิมต่างกัน แต่อย่างไรก็ตาม การลง ความเห็นนัน้ ต้องเปน็ ไปอยา่ งสมเหตุสมผลกับปรากฏการณ์ที่เกิดขน้ึ หรือข้อมูลท่ีสงั เกตได้ การลงความเห็นต่างจากข้อมูล ต่างจากการทานายในแง่ท่ีว่า การลงความเห็นจากข้อมูลไม่ได้บอก เหตุการณใ์ นอนาคต เปน็ แคเ่ พียงการอธิบาย หรือหาความหมายของข้อมลู โดยอาศัยความรู้หรือประสบการณ์ เดมิ มาชว่ ยเท่านั้น ผู้ท่ีมีทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล ต้องมีความสามารถที่แสดงให้เห็นว่าเกิดทักษะนี้คือ สามารถ อธบิ ายหรือสรปุ โดยเพมิ่ ความคดิ เห็นให้กับขอ้ มลู โดยใชค้ วามรูห้ รือประสบการณ์เดิมมาช่วย 8. การพยากรณ์ ( prediction ) เป็นการคาดคะเนคาตอบหรือส่ิงที่จะเกิดล่วงหน้า โดยอาศัยข้อมูล ท่ไี ด้จากการสังเกตหรือข้อมลู จากประสบการณท์ เ่ี กิดขนึ้ ซ้า ๆ หลักการ กฎ หรือทฤษฎีในเร่ืองนั้นมาช่วย การ ทานายท่ีแม่นยาเป็นผลจากการสังเกตที่รอบคอบ การวัดที่ถูกต้อง การบันทึกและการกระทากับข้อมูลอย่าง เหมาะสม
การทานายเกี่ยวกับตัวเลข ได้แก่ ข้อมูลท่ีเป็นตารางหรือกราฟทาได้ 2 แบบ คือ การทานายภายใน ขอบเขตของข้อมูลท่มี อี ยู่ ( interpolating ) และการทานายภายนอกขอบเขตขอ้ มูลท่ีมีอยู่ ( extrapolating ) ผทู้ ี่มที กั ษะการพยากรณ์ ตอ้ งมีความสามารถทีแ่ สดงให้เหน็ ว่าเกิดทักษะน้ปี ระกอบดว้ ย 1. พยากรณ์ผลทจ่ี ะเกิดข้นึ จากข้อมูลท่เี ป็นหลักการ กฎ หรอื ทฤษฎีทม่ี ีอยู่ได้ 2. พยากรณ์ผลท่จี ะเกดิ ข้นึ ภายในขอบเขตข้อมูลเชงิ ปริมาณท่มี ีอยู่ได้ 3. ทานายผลที่จะเกิดข้นึ ภายนอกขอบเขตของข้อมูลเชิงปรมิ าณท่มี ีอยู่ได้ 9. การต้ังสมมติฐาน ( formulating hypotheses ) หมายถึง การคิดหาคาตอบล่วงหน้า ก่อนจะ กระทาการทดลองโดยอาศยั การสงั เกต ความรู้ ปละประสบการณ์เดิมเป็นพ้ืนฐาน คาตอบที่คิดหาล่วงหน้าน้ียัง ไม่เป็นหลักการ กฎ หรือทฤษฎีมาก่อน สมมติฐานหรือคาตอบท่ีคิดไว้ล่วงหน้ามักกล่าวไว้เป็นข้อความท่ีบอก ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต้น ( ตัวแปรอิสระ ) กับตัวแปรตาม สมมติฐานท่ีตั้งไว้ อาจถูกหรือผิดก็ได้ซึ่งจะ ทราบภายหลังการทดลองเพ่ือหาคาตอบสนับสนุน หรือคัดค้านสมมติฐานที่ต้ังไว้ นอกจากนี้การต้ังสมมติฐาน ควรต้งั ใหม้ ขี อบเขตกวา้ งขวาง ครอบคลุมประเด็นต่าง ๆ ทเ่ี ก่ยี วข้องกับปญั หาใหม้ ากทีส่ ดุ เท่าทจ่ี ะเปน็ ไปได้ ผู้ท่ีมที กั ษะการต้ังสมมติฐาน ต้องมีความสามารถทแ่ี สดงใหเ้ ห็นวา่ เกิดทกั ษะน้ี ประกอบดว้ ย 1. หาคาตอบล่วงหน้ากอ่ นการทดลอง โดยอาศัยการสังเกต ความร้แู ละประสบการณเ์ ดมิ ได้ 2. สร้างหรือแสดงให้เหน็ วธิ ที ี่จะทดสอบสมติฐานได้ 3. แยกแยะการสงั เกตทส่ี นบั สนนุ สมติฐานและไมส่ นับสนนุ สมติฐานออกจากกันได้ 10. การก่าหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ ( defining operationally ) หมายถึงการกาหนดความหมาย และขอบเขตของตัวแปรทอี่ ยู่ในสมติฐานทต่ี ้องการทดสอบใหเ้ ขา้ ใจตรงกันและสามารถสังเกตหรือวัดได้ นิยามเชงิ ปฏิบัติการมสี าระสาคญั 2 ประการคือ 1. ระบุส่งิ ทสี่ ังเกต 2. ระบกุ ารกระทาซง่ึ อาจได้จากการวัด ทดสอบ หรือจากการทดลอง สิ่งท่ีควรคานงึ ถึงในการใหน้ ยิ ามเชิงปฏิบตั กิ าร มดี ังนี้ 1. ควรใชภ้ าษาที่ชดั เจน ไม่กากวม 2. อธบิ ายถงึ ส่งิ ทสี่ ังเกตได้ และระบุการกระทาไวด้ ว้ ย 3. อาจมนี ิยามเชงิ ปฏบิ ตั ิการมากกว่า 1 นยิ ามก็ได้ขนึ้ อยู่กับสถานการณส์ ิง่ แวดล้อมและเนื้อหาใน บทเรียน ผูท้ ี่มที ักษะการกาหนดนิยามเชงิ ปฏบิ ัติการ ต้องมีความสามารถทแี่ สดงใหเ้ ห็นว่าเกดิ ทักษะนีป้ ระกอบดว้ ย 1. กาหนดความหมายและขอบเขตของคาหรือตัวแปรตา่ ง ๆ ใหส้ ามารถทดสอบหรือวัดได้ 2. แยกนยิ ามเชิงปฏบิ ัติการออดจากนิยามท่ีไมใ่ ช่นิยามเชิงปฏบิ ัติการได้ 3. สามารถบง่ ช้ีตัวแปรหรอื คาทต่ี อ้ งการใชใ้ นการใหน้ ยิ ามเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารได้ 11. การก่าหนดและควบคุมตัวแปร ( identifying and controlling variables ) หมายถึง การ บ่งชี้ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และตัวแปรท่ีต้องควบคุมในสมมติฐานหนึ่ง ๆ ในการศึกษาค้นคว้างทาง วิทยาศาสตร์ ไดแ้ บ่งตวั แปรออกเป็น 3 ประเภท ดงั นี้ 1. ตัวแปรต้น หรือตัวแปรอิสระ ( independent variable ) คือส่ิงท่ีเป็นสาเหตุท่ีทาให้เกิดผล ต่างๆ หรือสิง่ ทีเ่ ราต้องการทดลองดูว่าเป็นสาเหตทุ ก่ี อ่ ให้เกิดผลเช่นนัน้ จรงิ หรอื ไม่ 2. ตัวแปรตาม ( dependent variable ) คือสิ่งที่เป็นผลเนื่องจากตัวแปรต้น เมื่อตัวแปรต้น หรอื ส่งิ ทเี่ ปน็ สาเหตเุ ปลี่ยนไป ตัวแปรตามหรอื ส่งิ ที่เป็นผลจะเปลยี่ นตามไปดว้ ย 3. ตัวแปรควบคุม ( controlled variable ) คือส่ิงอ่ืน ๆ นอกเหนือจากตัวแปรต้นที่มีผลต่อการ ทดลองด้วย ซึ่งควบคุมให้เหมอื น ๆ กัน มิเช่นนน้ั อาจทาให้การผลการทดลองคลาดเคลอ่ื น
การควบคุมตัวแปร หมายถึง การควบคุมตัวแปรอ่ืน ๆ นอกเหนือจากตัวแปรต้น ซึ่งจะทาให้ผลการ ทดลองคลาดเคลือ่ น ถ้าหากไมค่ วบคมุ ใหเ้ หมือน ๆ กัน ผ้ทู ม่ี ที กั ษะการกาหนดและควบคมุ ตวั แปร ต้องมีความสามารถท่ีแสดงให้เหน็ ว่าเกดิ ทกั ษะนปี้ ระกอบด้วย 1. บ่งชี้ตัวแปรต่าง ๆ ซ่ึงอาจจะมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมหรือสมบัติทางกายภาพ หรือชีวภาพของ ระบบได้ 2. บ่งช้ตี วั แปรต้น ตัวแปรตาม และตวั แปรควบคมุ 3. สร้างวธิ กี ารทดสอบ หาผลที่เกดิ จากตวั แปรตนั หนง่ึ ตวั หรอื หลายตวั ได้ 4. บ่งชี้ได้ว่าตัวแปรใดที่ไม่ได้รับการควบคุมให้คงท่ีในการทดลอง ถึงแม้ว่าตัวแปรเหล่านั้นจะ เปลี่ยนแปลงไปในแบบเดียวกนั ในทุกกรณี 5. บอกได้ว่าสภาพการณ์อย่างไรท่ีทาให้ตัวแปรมีค่าคงท่ี และสภาพการณ์อย่างไรไม่ทาให้ค่าตัว แปรคงที่ 12. การทดลอง ( experimenting ) หมายถงึ การลงลงมือปฏิบัติการทดลองจริง และใช้อุปกรณ์ได้ เหมาะสมและถกู ตอ้ ง เพ่ือหาคาตอบเพ่อื ทดสอบสมมติฐานที่ตั้งไว้ประกอบด้วยกิจกรรม 3 ข้ันตอน คอื 1. การออกแบบการทดลอง หมายถงึ การวางแผนการทดสอบกอ่ นลงมือทดลองจรงิ เพื่อกาหนด 1.1 วธิ ีการทดลอง ซง่ึ เกยี่ วขอ้ งกับการควบคมุ ตวั แปร 1.2 อุปกรณ์ และ / หรอื สารเคมี ทตี่ อ้ งใช้ในการทดลอง 2. การปฏิบตั กิ ารทดลอง หมายถงึ การลงมือปฏิบัตกิ ารทดลองจริง ๆ และใชอ้ ปุ กรณ์ได้เหมาะสมและ ถกู ตอ้ ง 3. การบันทึกผลการทดลอง หมายถึงการจดบันทึกข้อมูล ซึ่งอาจจะเป็นผลจากการสังเกต การ วัด และอื่น ๆ ได้อย่างคล่องแคลว่ ชานาญและถูกตอ้ ง ผทู้ ่มี ที ักษะการทดลอง ต้องมคี วามสามารถท่แี สดงให้เห็นวา่ เกิดทักษะนี้ประกอบด้วย 1. กาหนดวิธีการทดลองได้อย่างเหมาะสม และสอดคล้องกับสมมติฐาน โดยคานึงตัวแปรต้น ตัว แปรตาม และตวั แปรทต่ี ้องควบคุม 2. ระบวุ สั ดอุ ปุ กรณ์ และ / หรือสารเคมี ทจี่ ะต้องใชใ้ นการทดลอง 3. ปฏบิ ตั ิการทดลอง และใช้อุปกรณไ์ ดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง คล่องแคล่ว และปลอดภัย 4. บันทกึ ผลการทดลองได้อยา่ งคลอ่ งแคล่ว และถูกต้อง 13. การตีความหมายข้อมูลและการลงข้อสรุป ( interpreting data conclusion ) หมายถึง การ แปลความหมายหรือบรรยายลักษณะข้อมูลท่มี ีอยู่ การตคี วามข้อมลู ในบางคร้ังอาจต้องใช้ทักษะกระบวนการอื่น ๆ ด้วย เช่น ทักษะการสังเกต ทักษะการคานวณ เป็นต้น การลงข้อสรุป หมายถึง การสรุปความสัมพันธ์ ของข้อมลู ท้ังหมด ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ส่วนใหญ่มักอยู่ในรูปของสัญลักษณ์ ตาราง รูปภาพ หรือกราฟ ฯลฯ ท่ี รวบรวมรายละเอียดต่าง ๆ ของข้อมูลไว้อย่างครบถ้วนและกะทัดรัด สะดวกต่อการนาไปใช้ และการนาข้อมูล ไปใช้จาเปน็ ต้องตคี วามหมายข้อมูลดังกล่าวให้อยู่ในรูปของภาษาพูด หรือ ภาษาเขียน ที่สื่อความหมายกับคน ทั่วๆ ไปไดโ้ ดยเป็นท่ีเขา้ ใจตรงกนั การตคี วามหมายข้อมลู แบ่งเป็น 1. การตีความข้อมลู จากกราฟ มรี ายละเอียดดงั น้ี 1.1 ควรใหร้ ายละเอียดที่ชัดเจนและเพียงพอต่อการนาไปใชป้ ระโยชน์ 1.2 รายละเอยี ดของข้อมลู จากกราฟบางสว่ นอาจแปลใหม้ าอยูใ่ นรปู ของตาราง เพ่ือให้เข้าใจ ง่ายขนึ้ 1.3 ผลที่ไดจ้ ากการตคี วามหมายข้อมลู ไปสู่การลงความเห็นได้
2. การตคี วามหมายข้อมูลจากกลุ่มตวั อย่าง 3. การตคี วามหมายจากแผนภาพหรือรปู ภาพ ผู้ที่มีทกั ษะการตคี วามหมายข้อมูล และการสรปุ ตอ้ งมคี วามสามารถที่แสดงใหเ้ ห็นวา่ เกดิ ทกั ษะน้ี ประกอบด้วย 1. แปลความหมายหรือบรรยายลกั ษณะข้อมูลท่ีมอี ยู่ได้ 2. อธิบายความหมายของข้อมูลที่จดั ไว้ในรูปแบบต่างๆ ได้ 3. บอกความสมั พนั ธ์ของขอ้ มูลหรอื ตวั แปรทม่ี ีอยู่ได้ การใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ในการแกป้ ญั หาจะเป็นดงั นี้ 1. ปญั หา 2. หาแนวทางแก้ปญั หา 3. ปฏบิ ตั ิการแกป้ ญั หาตามแนวทางทเ่ี ลือก 4. วเิ คราะห์ผลการปฏิบต้ ิ 5. การนาไปใช้
ใบความรู้ครัง้ ท่ี 17 วิชาโครงงานเพ่ือพัฒนาทกั ษะการเรียนรู้ รหสั วิชา ทร02006 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย เรอ่ื ง ทักษะการใช้ smart phone อะไรคอื สมาร์ทโฟน สมารท์ โฟน เปรยี บเสมือนคอมพิวเตอร์ขนาดพกพาในมือของทา่ น มีทกุ อยา่ งที่คอมพิวเตอร์มี เช่น CPU ความจาภายใน ฮารด์ ดิสก์ (ซ่ึงในโทรศัพท์เรียกว่า รอม) เป็นตน้ หากตอ้ งการติดตั้งระบบปฏบิ ตั กิ ารตา่ งๆ (ระบบ XP ในคอมพวิ เตอร์ ระบบแอนดรอยดใ์ นโทรศัพท์) ผู้ใช้สามารถเลอื กแอปพลเิ คช่นั ท่ีต้องการใชไ้ ด้ และสามารถ สมั ผสั กบั ประสบการณ์ความอัจฉรยิ ะใหมๆ่ ได้ แนน่ อนวา่ ปัญหาที่สามารถเกิดขนึ้ กบั คอมพวิ เตอรน์ ้ัน ก็สามารถ เกิดข้นึ ไดก้ บั สมาร์ทโฟนได้เชน่ กัน ถือเปน็ เหตกุ ารณป์ กติ เชน่ หากใช้คอมพิวเตอร์เปน็ ระยะเวลานาน ระบบต่างๆ ในคอมพวิ เตอร์กจ็ ะเริ่มทางานชา้ ลง การตดิ ต้งั แอพพลิเคชั่นทีไ่ ม่ได้มาตรฐานหรือมีพลังงานทไ่ี มเ่ พียงพอกส็ ามารถ ทาให้เคร่ืองคา้ งได้ หรือแม้กระทง่ั การตดิ ไวรสั กส็ ามารถส่งผลใหร้ ะบบหรือข้อมูลเสียหายไปได้ ดังนน้ั ผใู้ ช้ควรสรา้ ง ความเคยชินในการบารุงรกั ษา \"โทรศพั ท์\" ของทา่ น ความแตกต่างระหวา่ งสมารท์ โฟนและโทรศัพท์มือถือ โทรศัพท์มอื ถอื คือโทรศัพท์ที่ ถอื เอาคณุ สมบตั กิ ารโทรเป็นหลกั แตส่ มารท์ โฟนจะเน้นแอปพลิเคช่ันเป็น หลัก เช่นการเล่นเกมส์ การเข้าอนิ เตอร์เนต็ การจดั การไฟรล์เอกสารเปน็ ต้น ซง่ึ จะมีคุณสมบัตติ า่ งๆมากมาย ครอบคลุมในทุกๆด้าน กลา่ วโดยง่าย คอื สมาร์ทโฟนเป็น คอมพิวเตอรข์ นาดเลก็ ท่สี ามารถโทรศัพทไ์ ด้และเล่น อนิ เตอร์เน็ตไดน้ น่ั เอง ในปัจจุบัน โทรศัพท์มือถือ มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ด้วยเทคโนโลยีท่ีมีความทันสมัยเพิ่มมากขึ้นทาให้ สามารถผลิตเคร่ืองโทรศัพท์ท่ีมีความเร็ว และความจุเทียบเท่ากับเคร่ืองคอมพิวเตอร์ ทาให้สามารถนา ระบบปฏิบัติการลงไปใส่ในเครื่องโทรศัพท์ได้ และเป็นที่มาของโทรศัพท์ที่เรียกติดปากกันว่า Smart Phone ซ่ึง การใช้โทรศัพท์แบบ Smart Phone อย่างมีประสิทธิภาพจะเกิดประโยชน์ต่อผู้ใช้อย่างมากมาย เช่น ทาให้ ประหยัดเวลา ประหยัดค่าใช้จ่ายในการเดินทาง เกิดความสะดวก รวดเร็ว ช่วยในการดาเนินธุรกิจอย่างมี ประสทิ ธภิ าพ อกี ทง้ั ยงั สามารถสร้างความสมั พันธอ์ ันดี ระหว่างคนในสงั คมอกี ด้วย เพื่อให้ทราบถึงแนวทางการใช้โทรศัพท์แบบ Smart Phone ได้อย่างมีประสิทธิภาพและก่อให้เกิด ประโยชน์สูงสุด คณะทางานจึงได้จัดทาคู่มือการใช้งาน Smart Phone พ้ืนฐานขึ้น โดยเน้ือหาในคู่มือ ประกอบดว้ ย องคป์ ระกอบพน้ื ฐานของ Smart Phone การใชเ้ ครือ่ งมอื เบอื้ งตน้ สัญลกั ษณ์ตา่ งๆ เปน็ ต้น (1) ความรพู้ ้ืนฐานในการใชง้ านสมารท์ โฟน 1.ความแตกต่างระหวา่ งสมารท์ โฟนและโทรศัพท์มอื ถอื 2.องคป์ ระกอบของเครื่องสมาร์ทโฟน (Hardware)อปุ กรณต์ ่อพ่วง 2.1.สายชารต์ /สายข้อมูล 2.2. ปลกั๊ (Adapter) 2.3. หฟู ัง 3.ป่มุ และตวั ควบคมุ ภายนอก (2) การใช้งานสมาร์ทโฟนขั้นพืน้ ฐาน
1.การโทรออก/การรบั สาย 2.การปฏิเสธการรับสาย/การวางสาย 3. หน้าจอปกติพรอ้ มใช้งาน 4.ป่มุ โทรออก/รับสาย 5.หนา้ จอโทรออก 6.หนา้ จอสนทนา 7.หนา้ จอสายเข้า 8.แอพกลอ้ งถ่ายรูป 9.ปมุ่ กดถา่ ยรปู 10.ปุ่มแอพรูปภาพ 11.อัลบ้ัมรปู ภาพ 12.สถานะของแบตเตอร่ี ท่ีสามารถใชง้ านได้ 13.สถานะของแบตเตอรี่ ทต่ี อ้ งนาสมารท์ โฟนไปชารต์ ไฟ 5.ทกั ษะการน่าเสนอ ลักษณะการน่าเสนอท่ีดี นอกจากการเลือกรูปแบบของการนาเสนอ ให้ถูกต้องและเหมาะสม แล้ว จะต้องคานึงถึงลักษณะของการนาเสนอ ท่ีจะช่วยให้บรรลุผลตามวัตถุประสงค์ของการนาเสนอ ด้วย โดยทั่วไปลกั ษณะของการนาเสนอทดี่ ี ควรมีดังต่อไปนี้ 1. มวี ัตถปุ ระสงค์ทช่ี ดั เจน กลา่ วคือ มคี วามต้องการท่แี นช่ ดั วา่ เสนอเพ่ืออะไร โดยไม่ตอ้ งใหผ้ ู้รบั รับการนาเสนอตอ้ งถามวา่ ต้องการใหพ้ ิจารณาอะไร 2.มรี ปู แบบการนาเสนอเหมาะสม กลา่ วคอื มีความกระทดั รัดได้ใจความ เรยี งลาดับไม่สนใชภ้ าษา เข้าใจงา่ ย ใช้ตาราง แผนภูมิ แผนภาพ ช่วยให้พิจารณาข้อมูลได้สะดวก 3.เน้อื หาสาระดี กลา่ วคือ มีความน่าเชื่อถือ เท่ียงตรง ถูกต้อง สมบรู ณ์ครบถว้ น ตรงตามความ ต้องการ มขี ้อมูลท่เี ป็นปัจจบุ ันทนั สมัย และมเี น้อื หาเพยี งพอแกก่ ารพิจารณา 4. มขี ้อเสนอทด่ี ี กลา่ วคือ มีขอ้ เสนอท่สี มเหตูสมผล มขี ้อพจิ ารณาเปรยี บเทียบ ทางเลือกที่เห็นได้ ชดั เสนอแนะแนวทางปฏิบัติทีช่ ดั เจน คณุ สมบตั ิของผู้นาเสนอ ในการนาเสนอด้วยวาจา คุณสมบัติอันเป็นลักษณะประจาตัวของผู้นาเสนอ ถือได้ว่าเป็นส่วน สาคัญของความสาเร็จในการนาเสนอ เพราะคุณสมบัติของผู้นาเสนอจะมีอิทธิพลต่อการโน้นน้าวชักจูงให้เกิด ความสนใจ ความไว้วางใจ เชื่อถือ และการยอมรบั ไดม้ าก เท่ากับหรือมากกว่าเนอื้ หาทีน่ าเสนอ ผู้นาเสนอที่ประสพความสาเรจ็ ส่วนใหญ่ จะมคี ุณสมบัติดังตอ่ ไปน้ี 1.มีบคุ ลิกดี 2.มคี วามรู้อยา่ งถอ่ งแท้ 3.มคี วามน่าเชอ่ื ถอื ไว้วางใจ 4.มคี วามเช่อื ม่ันในตนเอง 5.มภี าพลกั ษณท์ ีด่ ี
6.มีน้าเสียงชดั เจน 7.มีจติ วิทยาโนน้ น้าวใจ 8.มีความสามารถในการใช้โสตทศั นอุปกรณ์ 9.มคี วามชา่ งสังเกต 10.มีไหวพริบปฏภิ าณในการคาถามดี 6.ทักษะการพัฒนาต่อยอดความรู้เรียนรู้ การต่อยอดความรู้ มีคนจัดประเภทความรู้ไว้สองลักษณะได้แก่ ความรู้ฝังลึก (tacit knowledge) กับ ความรู้ประจักษ์หรือชัดแจ้ง (explicit knowledge) โดยความรู้แบบฝังลึก (Tacit Knowledge) เป็นความรู้ ที่ไม่ สามารถอธิบายโดยใช้คาพูดได้ มีรากฐานมาจากการกระทาและประสบการณ์ มีลักษณะเป็นความเช่ือ ทักษะ และ เป็นอตั วิสยั (Subjective) ต้องการการฝึกฝนเพอ่ื ใหเ้ กดิ ความชานาญ มีลักษณะเปน็ เรื่องสว่ นบุคคล มีบริบทเฉพาะ (Contextspecific) ทาให้เป็นทางการและส่ือสารยากก เช่น วิจารณญาณความลับทางการค้า วัฒนธรรมองค์กร ทักษะความเชย่ี วชาญในเรอื่ งต่างๆ การเรียนรู้ขององค์กร ความสามารถในการชิมรสไวน์ หรือกระท่ังทักษะในการ สังเกตเปลวควันจากปล่องโรงงานว่ามีปัญหาในกระบวนการผลิตหรือไม่ เป็นความรู้ท่ี ใช้กันมากในชีวิตประจาวัน และมกั เป็นการใช้โดยไมร่ ตู้ ัว และความร้ปู ระจกั ษห์ รอื ชัดแจ้ง (explicit knowledge) เป็นความรู้ที่รวบรวมได้ง่าย จดั ระบบและถา่ ยโอนโดยใชว้ ิธีการดิจทิ ัล มีลกั ษณะเป็นวตั ถุดบิ (Objective) เปน็ ทฤษฏี สามารถแปลงเป็นรหัสใน การถ่ายทอดโดยวิธีการที่เป็นทางการ ไม่จาเป็นต้องอาศัย การปฏิสัมพันธ์กับผู้อ่ืนเพ่ือถ่ายทอดความรู้ เช่น นโยบายขององคก์ ร กระบวนการทางาน ซอฟต์แวรเ์ อกสาร และกลยทุ ธ์เป้าหมายและความสามารถขององค์กร ระดับของความรู้ หากจาแนกระดบั ของความรู้ สามารถแบง่ ออกได้เปน็ 4 ระดบั คือ 1.ความรู้เชิงทฤษฏี (Know-What) เป็นความรู้เชิงข้อเท็จจริง รู้อะไร เป็นอะไร จะพบในผู้ที่สาเร็จ การศึกษามาใหม่ๆ ท่ีมีความรู้โดยเฉพาะความรู้ท่ีจามาได้จากความรู้ชัดแจ้งซึ่งได้จากการได้เรียนมาก แต่เวลา ทางานก็จะไม่ม่ันใจมักจะปรึกษารุ่นพ่ีก่อน 2.ความรู้เชิงทฤษฏีและเชิงบริบท (Know-How) เป็นความรู้เชื่อมโยง กับโลกของความเป็นจริง ภายใต้ สภาพความเป็นจริงท่ีซับซ้อน สามารถนาเอาความรู้ชัดแจ้งที่ได้มาประยุกต์ใช้ ตามบริบทของตนเองได้ มักพบใน คนที่ทางานไปหลายๆ ปี จนเกิดความรู้ฝังลึกที่เป็นทักษะหรือประสบการณ์มาก ข้ึน 3.ความร้ใู นระดบั ที่อธบิ ายเหตุผล (Know-Why) เป็นความรู้เชิงเหตุผลระหว่างเร่ืองราวหรือเหตุการณ์ ต่างๆ ผลของประสบการณ์แก้ปัญหาท่ีซับซ้อน และนาประสบการณ์มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้อ่ืนเป็นผู้ทางาน มาระยะ หน่งึ แลว้ เกิดความรู้ฝังลกึ สามารถอดความร้ฝู ังลึกของตนเองมาแลกเปลี่ยนกับผู้อ่ืน หรือถ่ายทอดให้ผู้ อื่นได้พร้อม ทั้งรับเอาความรู้จากผู้อ่ืนไปปรับใช้ในบริบทของตนเองได้ 4.ความรู้ในระดับคุณค่าความเช่ือ (Care-Why) เป็น ความรู้ในลักษณะของความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ท่ีขับดันมาจากภายในตนเองจะเป็นผู้ที่สามารถสกัด ประมวล วิเคราะห์ความรู้ท่ีตนเองมีอยู่กับความรู้ที่ตนเอง ได้รับมาสร้างเป็นองค์ความรู้ใหม่ขึ้นมาได้ เช่น สร้างตัวแบบหรือ ทฤษฏีใหมห่ รอื นวตั กรรมขน้ึ มาใช้ในการทางานได้
ใบความรู้ครง้ั ท่ี 18 วชิ าการสอ่ื สารในชีวติ ประจ่าวัน รหสั วิชา พท33020 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย เร่ือง การใช้ภาษาในโอกาสต่าง ๆ การพดู ในชวี ิตประจาวนั ของคนเรานน้ั นอกจากจะส่ือความรูค้ วามเข้าใจเร่ืองราวตา่ ง ๆ แล้ว ยงั ต้องส่ือ อารมณ์ ความรู้สึกถ่ายทอดไปสู่กันและกันดว้ ย ฉะนนั้ การพูดจากันนอกจากจะพูดคุยกันตามปกตแิ ลว้ ยงั มีการพูด ในโอกาสพิเศษ เช่น การพูดในงามมงคล งานศพ การเข้าสมาคมในโอกาสต่าง ๆ จึงจาเปน็ สาหรับทกุ คนทต่ี อ้ ง ฝึกฝนการใช้คาพูดใหถ้ ูกต้องไพเราะเหมาะสม เหมาะกับเหตกุ ารณ์ การพดู ในโอกาสต่าง ๆ ท่ีควรทราบ เช่น การ พดู แนะนา การพดู แสดงความยินดี การพูดแสดงความเสยี ใจ การกล่าวขอบคุณ การกล่าวต้อนรับ การพูดอวยพร การพูดสนทนาทางโทรศพั ท์ การพูดเลา่ เรื่องหรือเหตุการณ์ตา่ ง ๆ 1. การพูดแสดงความยนิ ดี ในบางโอกาสผู้ที่เราพบปะหรือค้นุ เคยอาจจะประสบโชคดี มีความสมหวงั หรอื มีความเจริญก้าวหน้าใน ชีวติ และการงานเราควรจะต้องพูดแสดงความยินดีเพ่ือรว่ มช่ืนชมในความสาเร็จน้ัน วิธกี าร 1 ) ใชค้ าพดู ให้ถกู ต้องเหมาะสม 2 ) ใชน้ ้าเสียง ทา่ ทาง สภุ าพ นมุ่ นวล ใบหนา้ ย้มิ แย้มแจม่ ใส 3 ) พูดชา้ ๆ ชดั ถ้อยชดั คา พูดสัน้ ๆ ใหไ้ ดใ้ จความและประทบั ใจ ตวั อย่าง “ขอแสดงความยนิ ดีกบั คุณท่ีได้รับความไวว้ างใจจากชาวบา้ นในหมบู่ ้านของเรา เลอื กคุณด้วยคะแนน เสียงทว่ มทน้ มาก ขอให้คุณเป็นผนู้ าของพวกเรานาน ๆ สร้างความ เจรญิ แก่ชมุ ชนของพวกเราตลอดไปนะครับ ผม ดใี จดว้ ยและขอสนบั สนนุ อยา่ งเตม็ กาลัง ความสามารถเลยครับ” 2. การพูดแสดงความเสยี ใจ ในบางโอกาสญาติพ่นี ้องหรือคนทีเ่ รารูจ้ ักประสบเคราะหก์ รรมผิดหวงั เจบ็ ปว่ ย หรอื เสียชวี ิต เปน็ มารยาท ท่ดี ีทเ่ี ราควรพดู ปลอบใจใหก้ าลังใจแกผ่ ูป้ ระสบเคราะห์กรรมเหล่านั้น หรอื พดู ปลอบใจแก่ญาติพ่นี ้องของ ผู้เคราะห์ร้ายนน้ั เพื่อใหเ้ ขาเกิดกาลงั ใจต่อไป วิธกี าร 1 ) พดู ถึงเหตุการณ์ที่เกดิ ข้ึนให้เป็นเรอ่ื งปกติ 2 ) แสดงความรสู้ ึกหว่ งใยร่วมสขุ รว่ มทกุ ข์ดว้ ย 3 ) พูดดว้ ยนา้ เสียงแสดงความเศรา้ สลดใจ 4 ) พูดด้วยวาจาที่สภุ าพ 5 ) ให้กาลงั ใจและยนิ ดีท่จี ะช่วย ตัวอยา่ ง \"ดฉิ ันขอแสดงความเสียใจอย่างย่ิงที่ทราบว่าคุณพอ่ ของคณุ ถึงแก่กรรมอยา่ งปัจจบุ นั ทนั ด่วนอยา่ งนี้ ท่าน ไมน่ ่าจากเราไปรวดเร็วเลยนะ ดิฉันเหน็ ใจคุณจรงิ ๆ ขอให้คุณทาใจดี ๆ ไวค้ วามตายเป็นส่ิงท่ีไม่แน่นอนเลย จะให้ ดฉิ ันชว่ ยอะไรก็บอกมาเลยไม่ตอ้ งเกรงใจ ดฉิ นั ยินดีชว่ ยดว้ ยความเต็มใจจริง ๆ นะคะ” 3. การพูดแนะน่า การพบปะบคุ คลซง่ึ เคยรูจ้ ักกันมาก่อนและบุคคลอื่น ซ่งึ ไม่เคยรู้จกั กนั มาก่อน ก่อนที่จะรจู้ กั กนั ยอ่ ม จะตอ้ งมีการแนะนาให้ร้จู กั กนั เพอ่ื คุยเร่ืองอนื่ ๆ ตอ่ ไป การแนะนาให้รจู้ ัก กนั มีทง้ั การแนะนา ตนเองและแนะนา
ผู้อื่น การแนะนาตนเอง คือ การกลา่ วถึงตนเองให้ผูอ้ ื่นร้จู ัก โอกาสในการแนะนาตนเองมตี า่ ง ๆ ประกอบดว้ ย ใน การติดต่อกัน ในการประชมุ ชมุ นุมพเิ ศษหรืองานเล้ียงตา่ ง ๆ ในฐานะเป็นสมาชกิ ใหม่ของชุมชนหรอื สถาบนั ใน การเขา้ สอบสัมภาษณ์ ในการไปตดิ ต่อขอความช่วยเหลือจากผู้อน่ื วิธีการ 1 ) การกล่าวถึงเรื่องตอ่ ไปนี้ 1.1 คานาคอื กล่าวทักทายผูฟ้ ังและอารมั ภบท เช่น “ท่านประธานและทา่ น สภุ าพชนทกุ ท่าน” ทา่ นประธาน พธิ กี รและเพ่ือนสมาชิก” 1.2 ชอ่ื และนามสกลุ 1.3 ถ่นิ กาเนิด 1.4 การศึกษา 1.5 ความรคู้ วามสามารถพิเศษ 1.6 ตาแหน่งหน้าทก่ี ารงาน 1.7 งานอดิเรก (ถา้ มี) 1.8 หลกั หรอื แผนการในการดาเนินชีวิต 1.9 ทอ่ี ยปู่ จั จบุ นั การกลา่ วถงึ จะมากน้อย หรือจะตดั เร่ืองใดออกหรือพลกิ แพลง อย่างไรข้นึ อยกู่ บั สถานท่ีบคุ คล และโอกาสต่าง ๆ ดังกลา่ ว 2 ) แทรกเรื่องราวของชีวิตที่เด่นท่สี ุด ประทบั ใจท่สี ุด หรือเร่อื งทท่ี าให้เรอื่ งราวมรี สชาติ นา่ สนใจ และเปน็ ท่ปี ระทบั ใจผู้ฟัง 3 ) เรยี บเรยี งเร่อื งราวใหส้ มั พนั ธ์กันโดยไม่สับสน การลาดับเรอ่ื งราวเป็นเทคนิคเฉพาะตน 4 ) ขอ้ ความที่กล่าวจะต้องคานงึ ถึงความเหมาะสมของสถานท่ีบุคคลและโอกาสด้วย ตวั อยา่ ง “ทา่ นประธาน และสมาชิกชมรมพฒั นาชวี ิตทุกทา่ นดิฉนั ขอขอบคณุ พธิ ีกรมากคะ่ ท่ีให้โอกาสดฉิ ันได้ แนะนาตัวเอง ดฉิ ันนางสาวสมศรี รตั นสนุ ทร เกดิ ไกลหน่อยคอื อาเภอปัว จงั หวดั น่านค่ะ มาอยกู่ รงุ เทพฯ น่ี ๔ ปี แลว้ โดยดฉิ นั ทางานเป็นพนักงานขาย ทร่ี ้านใบแกว้ ดิฉันเรยี นจบช้ันมธั ยมปที สี่ ามทโ่ี รงเรยี นใกลบ้ ้าน นั่นเองคะ่ ความท่ีเป็นคนช่างพูด หลงั จากจบแล้วเพอ่ื นชวนมาทางานทีถ่ กู กับนสิ ัยก็เลยมา และเนื่องจากดิฉันไมม่ โี อกาสได้ เรียนตอ่ จึงเหน็ วา่ การศึกษาทางไกลนจี้ ะช่วยใหด้ ิฉันพฒั นาชวี ติ ไดด้ ียิ่งขึ้นแทนการศึกษาในโรงเรียน จงึ สมัครเป็น สมาชิก และต่อไปจะตง้ั ใจเรียน และรว่ มทากิจกรรมต่าง ๆ ทุกกิจกรรมค่ะ ปจั จุบันดิฉนั พักอยู่ทร่ี า้ นท่ดี ฉิ ันทางาน นั่นแหละค่ะถ้ามเี ร่อื งใดจะใหท้ าติดต่อได้ท่ีร้านนน่ั เลยสาหรับท่อี ย่ขู องรา้ น มอี ยู่ในทะเบยี นบัญชีรายชือ่ นกั ศกึ ษา แล้วค่ะ สวสั ดคี ่ะ การแนะนา่ ผ้อู ่ืน การแนะนาบุคคลที่ ๓ ให้บุคคลที่ ๒ ร้จู กั ในโอกาสต่าง เชน่ เดยี วกบั การแนะนาตนเอง วีการแนะนาผู้อนื่ ใช้หลกั การอย่างเดยี วกบั การแนะนาตนเองและคานึงถงึ เร่ืองต่อไปนีเ้ พมิ่ เติมคือ วิธกี าร 1 ) แนะนาสนั้ ๆ 2 ) แนะนาเฉพาะเร่ืองท่ีเป็นปมเดน่ เรื่องทีเ่ ปน็ ปมด้อยหรือเรอ่ื งที่ไม่เหมาะสมไมค่ วรกล่าวถึง เรื่องทแี่ นะนาควรไดร้ ับอนุญาตจากผถู้ กู แนะนาก่อน 3 ) การแนะนาระหวา่ งสุภาพบุรุษกับสภุ าพสตรี ต้องแนะนาให้สภุ าพบุรุษรจู้ กั สภุ าพสตรี โดย กลา่ วนามสภุ าพสตรี เชน่ “คุณสุดาครับ นค่ี ณุ พนัส รกั ความดี สมหุ บ์ ัญชธี นาคารออมสินสาขานนทบรุ ี คณุ พนัส นี่ คณุ สดุ า มณีแก้วครับ สมหุ ์บญั ชธี นาคารกรุงไทย สาขานนทบุรใี นการแนะนา ถ้าสภุ าพบุรษุ น่งั อยู่ควรยนื ข้ึน แต่
สุภาพสตรถี ้านงั่ อยู่และได้รบั การแนะนาไม่ต้องยนื ถา้ เปน็ การแนะนาหลายคนจะนั่งลงเมอ่ื แนะนาครบทุกคนแลว้ แนะนา่ ผู้อ่อนอาวุโสใหร้ ูจ้ ักผู้อาวุโส โดยเอ่ยนามผู้อาวุโสกอ่ น เช่น “คุณแมค่ ะ นีน่ ้องเพอื่ นของลูก” “ผ้จู ดั การคะ นคี่ ุณสมพงษ์ ใจซอ่ื ประชาสมั พันธ์โรงแรมลานทองค่ะ คุณสมพงษ์คะ นคี่ ุณสวสั ด์ิ เรอื งรอง ผจู้ ัดการ บรษิ ทั สมบูรณ์ที่คุณต้องการพบคะ่ ”ในเรื่องอาวุโสถอื ตามวัยวุฒิ บางโอกาสถอื ตามตาแหน่งหนา้ ท่ีการงานผู้แนะนา ตอ้ งคานึงตามโอกาสให้เหมาะดว้ ย แนะน่าบคุ คลต่อท่ีประชุมหรือชมุ ชนตา่ ง ๆ เอ่ยถึงกลุ่มชนก่อน เชน่ “ท่านผู้มเี กยี รติทั้งหลาย ผู้พดู ชว่ งเวลาตอ่ ไปนคี้ ือ คุณปราโมทย์ พงษ์ทอง ผูอ้ านวยการวิทยาลยั นานา ท่านจบการศกึ ษาระดับปริญญาตรี ทางด้านการศึกษาจากมหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ ประสานมติ ร และจบปรญิ ญาโททางด้านบริหารการศึกษา จากมหาวิทยาลัยเดียวกนั ประสบการณ์ของทา่ นเป็นผรู้ ิเริ่มก่อตง้ั วิทยาลัยนานาและทาหน้าทบี่ รหิ ารงานมา ๕ ปี แล้วผลติ บัณฑิตจนถึง ๔ รุ่น วันนที้ า่ นสละเวลาให้เกยี รติมาบรรยายเร่อื ง “การศึกษากบั การพัฒนาชนบท” เชิญ ทา่ นรับฟังแนวคิดของวิทยากรไดแ้ ล้วครบั แนะน่าบคุ คลรุ่นเดียวกนั เพศเดียวกนั จะแนะนาใครกอ่ นหลังก็ไดข้ ้อปฏบิ ัตสิ าหรบั การแนะนาเม่ือผา่ น การแนะนาแลว้ ผอู้ ่อนอาวุโสยกมือไหว้ผอู้ าวโุ ส และผ้อู าวุโสกว่ารับไหว้ ถา้ อาวโุ สเทา่ เทียมกนั กย็ กมือไหวพ้ ร้อม กัน แตป่ จั จบุ นั มักกม้ ศีรษะให้แกก่ ันพอเปน็ พธิ กี ็ได้ การแนะนาในทป่ี ระชุมเม่อื ผรู้ ับการแนะนาตอ่ ทีป่ ระชุมถกู เอย่ ชื่อ ควรยืนขึ้นคารวะต่อ ที่ประชุมและท่ีประชมุ ปรบมอื ต้อนรบั 4. การกล่าวขอบคุณ การกลา่ วขอบคุณอาจใช้ได้หลายโอกาส เชน่ การกลา่ วขอบคุณเม่ือผู้พูดหรือวทิ ยากรพูดจบ กล่าว ขอบคุณเม่ือมีผู้กลา่ วต้อนรับ กลา่ วขอบคณุ ผมู้ ารว่ มงานหรอื ในกิจกรรมกล่าวขอบคุณเม่ือมผี ูม้ อบของขวญั หรือ ของทีร่ ะลกึ ขอบคณุ แตล่ ะโอกาสดงั ตอ่ ไปน้ี การกล่าวขอบคุณผู้พูด เม่อื ผ้พู ูดพูดจบลงผู้กล่าวขอบคณุ หรือผู้ทีท่ าหนา้ ทพี่ ูดแนะนาควรจะกลา่ วสรปุ เนน้ ถึงประโยชนท์ ไี่ ดร้ บั จากการพดู คร้งั นี้อยา่ งสัน้ ๆ แลว้ จึงกลา่ วขอบคุณ การกล่าวขอบคุณเมื่อมีผกู้ ล่าวตอ้ นรบั หรอื การกล่าวตอบรับ เมือ่ ผ้กู ลา่ วตอ้ นรบั พดู จบแลว้ ผูก้ ลา่ วตอบ รบั ควรจะกล่าวตอบในลักษณะทแ่ี สดงความรูส้ กึ ท่ีมีต่อการต้อนรบั และเนอ้ื หา ในการกล่าวตอบรับจะต้อง สอดคล้องกบั การกลา่ วต้อนรับ ซ่ึงสว่ นใหญจ่ ะเปน็ การแสดงความสมั พันธ์ อันดีของท้งั สองฝ่ายที่มีตอ่ กนั ผกู้ ล่าว ขอบคุณควรจะเนน้ จุดสาคัญ และกล่าวเชื้อเชญิ ใหผ้ ู้ต้อนรบั ไปเยือนสถานทีข่ องตนบา้ ง การกลา่ วขอบคุณผ้มู ารว่ มในงานหรือในกจิ กรรม ในการกลา่ วขอบคุณผู้มาร่วมในงาน หรอื ในกจิ กรรมน้นั ควรแสดงไมตรจี ิตต่อแขกทม่ี าร่วมในงานแสดงความขอบคุณอยา่ งจรงิ ใจ และกล่าวขออภัยในความบกพร่อง ของ กจิ กรรมท่จี ัดขนึ้ การกลา่ วขอบคุณหรอื ตอบรับเมือ่ มผี มู้ อบของขวญั หรอื ของท่ีระลกึ ผูก้ ล่าวตอบรบั ควรจะได้แสดงความช่ืน ชมในสิ่งของที่ได้รบั มอบและกล่าวถึงความรสู้ ึกหลังจากไดร้ ับ มอบส่ิงของน้ันแล้ว วิธีการ 1 ) การขอบคณุ การพดู หรือขอบคุณ ใช้ในโอกาสท่ีมผี ู้อน่ื ไดช้ ว่ ยเหลอื หรอื มีบญุ คุณ แกเ่ ราถอื ว่าเปน็ มารยาทท่จี ะตอ้ งแสดงความยินดีและกล่าวขอบคณุ ในน้าใจของเขา คือ เปน็ การแสดงออกถึงการร้คู ุณผอู้ ่นื เปน็ วัฒนธรรมที่ดงี ามที่ควรรักษาไวอ้ ย่างยงิ่ 2 ) คาวา่ ขอบใจ นิยมใชพ้ ูดเพ่ือแสดงความขอบใจแก่คนที่มีอายนุ ้อยกว่าเราเชน่ พ่ีขอขอบใจ นอ้ งมากทีช่ ว่ ยยกกระเปา๋ ให้ 3 ) คาวา่ ขอบคุณ นิยมใชพ้ ูดเพ่อื แสดงความขอบคณุ สาหรบั ผทู้ ีเ่ สมอกันหรือผู้ทม่ี ีอาวโุ สกว่าผู้ พูด เชน่ ผมขอขอบคณุ คุณนิคมมากทม่ี าสง่ ผมที่สถานรี ถไฟวนั นี้ 4 ) หากตอ้ งการยกย่องเทิดทนู ผ้ทู ต่ี นเคารพนับถือมาก ที่ทา่ นกรุณาช่วยเหลอื เรา หรือใหส้ ่งิ ใด แก่เราก็ควรกลา่ ววา่ ขอบพระคุณ เชน่ ลูกขอกราบขอบพระคุณคณุ พอ่ คุณแม่มากท่ีซ้ือของมาฝาก
5 ) ควรพูดดว้ ยน้าเสียงนมุ่ นวล ชวนฟงั สุภาพ ไมร่ ีบรอ้ นจนเกินไป 6 ) ควรแสดงท่าทางท่เี ป็นมิตร นอบน้อม มใี บหนา้ ยม้ิ แย้มแจ่มใส 7 ) ควรพูดใหผ้ ฟู้ งั รู้สึกว่า เราซาบซึ้งในพระคุณและจะพยายามหาโอกาสทีจ่ ะตอบแทนใน โอกาสตอ่ ไป 8 ) หากเป็นการกลา่ วขอบคุณในนามตวั แทน หมู่คณะ ควรพูดใหช้ ดั เจนว่า กล่าวขอบคุณใน นามของหมู่คณะใด เนือ่ งในโอกาสอะไร ขอบคณุ ใคร พูดใหส้ นั้ กะทดั รดั ได้ความดี 9 ) โดยท่ัวไปแลว้ ถา้ เปน็ การขอบคุณผทู้ เี่ คารพนบั ถอื หรอื ผูม้ ีอาวโุ สมากกวา่ เราการกล่าว ขอบคุณมักจะกลา่ วพรอ้ ม ๆ กับยกมือไหว้ด้วยเสมอ ตวั อย่างการกล่าวขอบคณุ การกลา่ วขอบคุณผ้มู อี าวุโสกว่า ดิฉันรูส้ ึกซาบซ้ึงในความกรณุ าของท่านกานนั เป็นอย่างย่งิ ท่ไี ด้มอบโต๊ะ เกา้ อี้ จานวน 10 ชุด แกเ่ ดก็ นักเรียนในโรงเรยี นนี้ นับเปน็ บุญกุศลอนั ดยี งิ่ ที่เด็ก ๆ จะได้มโี ตะ๊ เกา้ อ้ีพอเพียงแก่ การศึกษาเลา่ เรียน ดิฉนั และเดก็ ๆ มีความยนิ ดีในเมตตาจติ ของ ท่านกานันเป็นอย่างมาก จึงขอกราบขอบพระคุณ ในความกรุณาของท่านกานัน ไว้ ณ ทนี่ ี้ ขอกราบขอบพระคุณค่ะ (พูดจบพร้อมกบั ยกมอื ไหว้) การกล่าวขอบคุณในนามหมูค่ ณะบคุ คล ผมในนามผูน้ าชาวบา้ นทา่ เวยี ง ขอขอบพระคุณเปน็ อยา่ งสงู ต่อ ทา่ นนายอาเภอ ตลอดจนเจา้ หนา้ ท่จี ากอาเภอทุกท่านที่ได้มาบริการความสะดวกสบายแกป่ ระชาชนในบา้ นท่า เวยี งโดยการนาอาเภอเคลอ่ื นท่มี าบริการวนั นี้หากมีสิ่งใดขาดตกบกพรอ่ งในการตอ้ นรับขับสูผ้ มและชาวบ้านกข็ อ อภยั มา ณ ที่น้ีด้วยผมและชาวบ้านทุกคนรู้สกึ ซาบซง้ึ และยินดีในความกรุณาของท่านนายอาเภอและเจ้าหน้าท่ีทุก ทา่ นผมในนามชาวบา้ นท่าเวยี งไม่มสี ิง่ ใดจะตอบแทนนอกจากจะขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสงู ไว้ ณ ท่นี ี้ (ยก มือไหว้) 5. การกลา่ วอวยพร การพูดอวยพร มักใช้ควบคู่ไปกบั การแสดงความยนิ ดีหรือแสดงความปรารถนาดี เพราะก่อนจะอวยพรมัก ต้องแสดงความยินดีมาก่อน หรือถ้าเป็นการกลา่ วแสดงความยนิ ดโี ดยแท้จริงก็มกั ลงท้ายด้วยการอวยพร การ อวยพรมีหลายโอกาส เชน่ ในงานมงคลสมรส งานวนั เกิด งานวนั ปใี หมข่ ้นึ บา้ นใหม่ ตลอดจนการอวยพรของผู้หลกั ผใู้ หญ่ ซึง่ มกั เรียกวา่ อานวยพร (อานวยอวยพร อวยชัยให้พร ใหศ้ ีลให้พร) แกล่ ูกหลาน ลูกศิษย์ ผูใ้ ต้บังคบั บญั ชา ฯลฯ ข้อปฏบิ ัติโดยทว่ั ไปในการพูดอวยพรมีดงั น้ี วธิ ีการ 1 ) พดู ดว้ ยท่าทีรา่ เริงเป็นการแสดงความยินดีไปในตวั 2 ) เร่มิ ต้นดว้ ยเสียงค่อนข้างดงั เล็กนอ้ ย เป็นการเรียกความสนใจเพราะงานชนิดน้ี มักมีเสยี ง รบกวนมาก ข้อความตอนต้นควรเป็นใจความง่าย ๆ สนั้ ๆ 3 ) ควรดาเนินเร่อื งให้เป็นไปตามความเหมาะสม เชน่ ถา้ เปน็ งานวันเกิด ควรกลา่ วถงึ ความสาคญั ในวันเกดิ แลว้ จงึ พูดถงึ คุณงามความดี และเกยี รตคิ ุณของเจา้ ภาพตามสมควร ถา้ เป็นการแต่งงาน ควร เร่ิมดว้ ยการบอกกลา่ ว ถึงความสัมพนั ธข์ องทา่ นกับค่สู มรสฝ่ายใดฝา่ ยหนงึ่ หรือท้ังสองฝ่าย ถา้ ผ้พู ดู รูจ้ กั ทงั้ คู่ ถา้ มี ประสบการณ์มากพอควรใหข้ ้อคิดในชวี ิตการสมรส แล้วกล่าวแสดงความยนิ ดีทีท่ ั้งสองฝ่ายได้สมรสกัน อันจะเป็น การก่อสร้างรากฐาน เป็นครอบครัวที่ดีต่อไป 4 ) ลงทา้ ยด้วยการกล่าวคาอวยพร ขอใหม้ ีความสุขความเจริญกา้ วหน้าสืบตอ่ ไปการพูดอวยพร ถือเปน็ การพดู ในงานมงคล ไม่ควรจะให้มีถ้อยคาซง่ึ ไม่น่าปรารถนา (ไมเ่ ปน็ มงคล) ในคากลา่ ว เชน่ ในงานวันเกิด ไมค่ วรมีคาวา่ “ตาย” “แก่” “เจบ็ ปว่ ย” ฯลฯ ในงานสมรสไม่ควรมีคาวา่ “แต่งงานใหม่” ฯลฯ อยู่ดว้ ยจะดีมาก ไมค่ วรพูดยดื ยาว ซ้าซาก ควรทักทายท่ีประชุมให้ถกู ต้องตามลาดับ คาขึน้ ตน้ ควรให้เร้าความสนใจตอนจบใช้ ถ้อยคา ให้ประทับใจ ในเรื่องจะกล่าวถงึ การกล่าวอวยพรเฉพาะงานมงคลทีใ่ ช้กนั อยเู่ สมอ คือ
การกลา่ วอวยพรในงานมงคลสมรส การกล่าวในพิธมี งคลสมรส จะใช้เวลาไม่เกนิ ๑๐ นาที โดยปกตจิ ะ ใช้เวลา ๕ – ๗ นาที นยิ มพดู ปากเปลา่ ซง่ึ มหี ลักการกล่าวท่คี วรยดึ เป็นแนวปฏิบตั ิ ดังน้ี - กลา่ วคาปฏิสนั ถาร - กล่าวถึงความร้สู ึกวา่ เปน็ เกียรติทีไ่ ด้ขน้ึ มาอวยพร - ความสมั พันธ์ของผู้พูดกบั คู่บ่าวสาว - ใหค้ าแนะนาในการดาเนนิ ชวี ิตและการครองรกั - อวยพรและเชญิ ชวนใหด้ ่มื อวยพร การกลา่ วอวยพรในวันขึ้นปใี หม่ การกล่าวคาอวยพรในวนั ข้นึ ปใี หมม่ ักจะพดู ปากเปล่า โดยมหี ลักทค่ี วร ยดึ เปน็ แนวปฏบิ ตั ใิ นการกลา่ วดังนี้ - กลา่ วคาปฏสิ ันถาร - กล่าวถงึ ชีวิตในปเี กา่ ท่ีผ่านมา - กลา่ วถงึ การเริ่มต้นชวี ติ ใหมใ่ นปีใหม่ - อวยพร การกล่าวอวยพรวนั คล้ายวันเกดิ การกล่าวในพิธดี งั กล่าวนิยมพูดปากเปลา่ มหี ลกั การที่ควรยดึ เป็นแนว การปฏบิ ตั ใิ นการกล่าวดังนี้ - คาปฏิสันถาร - กลา่ วรสู้ กึ เปน็ เกียรติที่มีโอกาสกล่าวคาอวยพร - การสรา้ งคุณงามความดี หรือพูดถึงความสัมพันธ์ที่ผู้พดู มตี อ่ ท่านผนู้ ้ัน - การเปน็ ท่ีพึง่ ของบุตรหลาน - อวยพรให้มคี วามสขุ วธิ ีการกล่าวอวยพร มีข้อปฏบิ ัตทิ ี่ควรจาดงั นี้ 1. ควรกลา่ วถึงโอกาสและวันสาคญั นั้น ๆ ท่ีได้มาอวยพรวา่ เป็นวนั สาคญั อยา่ งไรในโอกาสดอี ยา่ งไร มี ความหมายแก่เจ้าภาพหรือการจดั งานนนั้ อยา่ งไรบ้าง 2. ควรใชค้ าพูดที่สุภาพ ไพเราะ ถกู ต้อง เหมาะสมกับกลุ่มผู้ฟัง 3. ควรกลา่ วให้ส้นั ๆ ใชค้ าพดู งา่ ย ๆ ฟงั เข้าใจดี กะทัดรดั กระชบั ความ น่าประทับใจ 4. ควรกลา่ วถึงความสมั พนั ธ์ระหวา่ งผอู้ วยพรกับเจา้ ภาพ กลา่ วให้เกียรติ ชมเชยในความดีของเจ้าภาพ และแสดงความปรารถนาดีท่ีมตี อ่ เจ้าภาพ 5. ควรใช้คาพดู อวยพรใหถ้ ูกต้อง หากเปน็ การอวยพรผใู้ หญ่นยิ มอา้ งถึงส่ิงศกั ดส์ิ ทิ ธ์ทิ ี่เคารพนับถือมา ประทานพร ตัวอยา่ งการกลา่ วอวยพรวนั เกดิ วันน้ีเป็นวันอันเปน็ มงคลย่ิงคือวันเกิดของหลานรกั ของลุงลุงมคี วามยินดีอยา่ งยิ่ง ทีเ่ ห็นหลานโตวันโตคืน ตลอดเวลา๑๐กวา่ ปที ีผ่ า่ นมาลุงเฝา้ ดูความเจรญิ ของหลาน ด้วยความช่ืนใจ มาวันนคี้ รบรอบวนั เกิดปีที่ ๑๑ แล้ว ลุงขอใหห้ ลานรัก มีแตค่ วามสุข ความเจริญ มีอายมุ ั่นขวัญยืน เปน็ ทีร่ ักของปูย่ า่ ตายายตลอดไป ตัวอยา่ งการอวยพรคบู่ า่ วสาว สวัสด…ี …ท่านผูม้ เี กียรติทเี่ คารพทกุ ท่านผมรสู้ กึ มคี วามยนิ ดีเปน็ อยา่ งยิ่งทไี่ ด้รบั เกยี รติ จากเจ้าภาพให้ ข้ึนมากล่าวในวันนี้ ผมขอกลา่ วจากความรู้สึกท่ีไดม้ า พบเห็นงานมงคลสมรสในวันนี้ ผมประทบั ใจมากที่ได้เห็น ใบหน้ายม้ิ แย้มแจม่ ใส ของเจ้าบ่าวและเจา้ สาว ทั้งคู่มีความเหมาะสมกันดีมาก ทั้งผมเองก็เป็นผทู้ ีเ่ คย ทางาน รว่ มกนั มาท้ังสองคน รู้สึกชอบพออธั ยาศยั เปน็ อย่างดีและ เห็นว่าทั้งคู่ มคี วามเข้าอกเข้าใจ ซ่ือสัตย์ รักมัน่ ต่อกันมา นานปี เม่อื มางานมงคลสมรสคร้ังนี้ จึงมคี วามปลมื้ ปีตเิ ปน็ อย่างมากท่ีท้งั สองมคี วามสมหวังสมปรารถนาดว้ ยกนั ผมหวงั ว่าทงั้ สองจะครองรักกันใหม้ ั่นคงจีรังไดน้ านแสนนาน จงึ ขออวยพรให้คูบ่ ่าวสาว จงรกั กัน เข้าใจกนั ทะนุ
ถนอมน้าใจ มคี วามซ่อื สัตย์ จรงิ ใจต่อกนั และรู้จักให้อภัยต่อกัน ให้มีความร่มเย็นเป็นสุขทุกคนื ทุกวัน สวสั ดคี รับ …… 6. การกลา่ วตอ้ นรับ ในโอกาสที่มีผมู้ าใหม่ เชน่ เจา้ หนา้ ทีใ่ หม่ นกั ศกึ ษาใหม่ หรือผทู้ ่มี าเยี่ยมเพ่ือ พบปะชมกิจการ ในโอกาส เชน่ นีจ้ ะตอ้ งมกี ารกลา่ วตอ้ นรับเพื่อแสดงอธั ยาศัยไมตรีและแสดง ความยนิ ดี ผู้กลา่ วต้อนรบั ควรเป็นผู้มฐี านะ มี เกยี รตเิ หมาะสมกับฐานะผมู้ าเยอื น ถา้ เป็นการ กลา่ วตอ้ นรับนิสิตหรือนกั ศึกษาใหม่ก็มุง่ หมายที่จะให้ความอบอุ่น ใจ และใหท้ ราบถึง สงิ่ ท่คี วรปฏบิ ัติรว่ มกนั ในสถานศึกษานน้ั ๆ เป็นต้น วธิ ีการ 1 ) เรมิ่ ดว้ ยการกล่าวแสดงความยนิ ดที ่ีได้มโี อกาสต้อนรับผมู้ าใหม่ (ผมู้ าเยยี่ ม หรอื ผู้มา รว่ มงาน) 2 ) กลา่ วถงึ จุดม่งุ หมายในการเยีย่ มเยือน เพื่อใหเ้ ห็นวา่ ฝ่ายตอ้ นรับนัน้ เหน็ ความสาคญั ของการ เย่ียม ถ้าเปน็ ผู้รว่ มงาน ก็ควรกลา่ วถึงหนา้ ท่ีการงาน กิจการในปจั จบุ ันทมี่ คี วามสาคญั และเกี่ยวข้องกับผู้มาใหม่ ถ้า เปน็ นิสติ หรือนกั ศึกษาใหม่ ก็ควรชใี้ ห้เห็นคณุ คา่ และความจาเปน็ ท่จี ะต้องศึกษาวชิ าต่าง ๆ แนะนาใหร้ ู้จกั สถานศึกษา รวมท้งั ใหร้ ู้สึกภมู ิใจท่ีได้มาศึกษาในสถานศึกษาแหง่ นัน้ 3 ) แสดงความหวังว่าผ้มู าเย่ียมจะได้รับความสะดวกสบายระหว่างท่พี านกั อยใู่ นสถานทนี่ นั้ หรอื ระหวา่ งการเย่ยี มเยือนนั้น 4 ) สรปุ เปน็ ทานองเรียกร้องใหอ้ าคันตุกะกลบั มาเยย่ี มเยือนอีก ส่วนในกรณที เี่ ปน็ ผู้มาใหม่ก็ หวงั วา่ จะไดร้ ว่ มงานกนั ตลอดไปดว้ ยความราบรนื่ 7. การพูดสนทนาทางโทรศพั ท์ การตดิ ต่อสือ่ สารทางโทรศพั ท์นับเปน็ การส่ือสารท่ีรวดเร็ว สะดวก ประหยัดและแทบจะใช้ไดท้ ่ัวโลกอยา่ ง ไมจ่ ากัดพน้ื ท่ี จงึ เป็นการส่ือสารทน่ี ิยมกนั มากท่ีสุด การพูดโทรศัพท์มคี วามสาคัญและมบี ทบาทอย่างมากในการ ดารงชวี ิต ดงั นัน้ ควรตอ้ งระมัดระวงั การใชค้ าพูดในการติดต่อส่ือสาร นอกจากน้ีควรได้มีการศกึ ษาที่มคี วามเข้าใจ เก่ียวกบั มารยาท ประเพณีปฏิบัตทิ ่ีควรทาในขณะตดิ ต่อสอื่ สารทางโทรศพั ท์ ภาษาที่ใชใ้ นการพูดโทรศัพท์ การพูด โทรศัพท์ควรใชภ้ าษาให้เหมาะสมตามสถานการณต์ ่าง ๆ ดังน้ี 7.1 กล่าวทกั ทายเมือ่ รับโทรศพั ท์ด้วยคาวา่ “สวัสด”ี พร้อมทง้ั แจ้งหมายเลขโทรศัพท์ใหท้ ราบ และถาม ความประสงค์ของผ้ทู โ่ี ทรมาว่าต้องการติดต่อกับใคร เรอ่ื งอะไร แล้วรบี ตดิ ตอ่ ให้ทนั ที หากผู้ทีต่ ้องการตดิ ต่อไม่อยู่ กถ็ ามความประสงคข์ องผู้ท่โี ทรว่าตอ้ งการฝากข้อความ หรือเบอร์โทรศัพท์ท่สี ามารถตดิ ตอ่ กลบั ได้ภายหลงั หรอื ไม่ 7.2 กรณีทเ่ี ราเปน็ ผตู้ ดิ ต่อไป ควรตรวจสอบหมายเลขโทรศพั ท์ให้ถูกต้องเสียกอ่ น และระบุช่ือผู้รับให้ ชดั เจน หากต้องขอร้องให้ผู้รับสายไปตามให้ ตอ้ งขอบคณุ ผ้รู ับสายทนั ที ในกรณีท่ีตอ้ งฝากข้อความหรือเบอร์โทร กลบั ควรเปน็ ขอ้ ความท่ีชัดเจนและส้ันทีส่ ดุ 7.3 การพูดโทรศัพท์ควรใช้เวลาจากดั พูดคยุ เฉพาะเร่ืองทจี่ าเปน็ โดยเฉพาะโทรศัพทส์ าธารณะหรือ โทรศัพท์ท่มี ผี ใู้ ช้ร่วมดว้ ยหลายคน เช่น หน่วยงาน องค์การ บรษิ ทั และควรใชภ้ าษาน้าเสียงท่ชี ัดเจน สภุ าพและ เปน็ มติ ร 7.4 ใชถ้ อ้ ยคาทเี่ หมาะสม เลอื กคาทจี่ าเป็นมาใช้ เชน่ ขออภยั ขอโทษ ขอบคณุ กรุณา ฯลฯ 7.5 ในกรณีมผี ้โู ทรมาผิด ควรบอกสถานท่ีที่ถูกต้องให้ทราบหรอื ถา้ เราโทรไปผดิ ก็ควรจะกลา่ วคาขอโทษ อย่างสุภาพ 7.6 ในขณะโทรศัพท์หากมีความจาเปน็ ต้องหยุดพดู ชั่วขณะต้องบอกใหผ้ ู้ที่กาลังพูดโทรศัพท์อยู่ทราบ และขอใหร้ อ เชน่ กรณุ ารอสักครนู่ ะครับ 7.7 ไม่ควรวางหโู ทรศัพทก์ ่อนจบการพูดและไมค่ วรปล่อยใหผ้ โู้ ทรศพั ท์มาคอยนาน
7.8 ไมอ่ ม ขบเคย้ี วอาหารขณะโทรศัพท์ 7.9 ไมป่ ลอ่ ยโทรศัพทเ์ รียกสายนานเกินไป 8. การพดู ปฏเิ สธ โดยท่วั ไปไม่มีใครชอบฟังการปฏิเสธเขาอย่างรนุ แรง เชน่ พูดตอบวา่ “ฉันไม่”,“ไมเ่ อา”,“ไม่ตอ้ ง”,“ฉันไม่ ชอบ”,“ฉนั ไมท่ า”,“ฉนั ไม่ไป”หรือ“ทาไม่ได้”,“เปน็ ไปไม่ได้”,“ไม่ใช่”,“ไม่ถกู ”,“พูดเปน็ เลน่ ไป”,“พดู เปน็ ม้าไป ได้”,“พูดลอ้ เลน่ หรือเปล่า”,“ไมจ่ ริงมั้ง” หรือพดู ปฏิเสธอกี แบบหนงึ่ เช่น“ฉนั รูแ้ ลว้ ”หรอื พูดด้วยนา้ เสยี งแบบ หว้ นๆ หรอื ทาหนา้ ตาผดิ ปกติ หรอื ทาเฉย ทาเปน็ ไม่ไดย้ ิน ทาทองไมร่ รู้ ้อน เอาหูทวนลมหรอื เงยี บ ๆ ไม่รู้ไม่ช้ีอยา่ ง นีไ้ มด่ ี ควรแสดงดีกวา่ นเ้ี ราจึงตอ้ งฝึกหัดศกึ ษาคาพดู “เชิงปฏเิ สธอ้อมๆ”ฝกึ หัดทาหนา้ ตาเหรอหรา ทาทา่ ตกใจ ฯลฯ ฝึกไว้หลาย ๆ แบบเพ่ือจะไดใ้ ช้ในโลกน้ตี ามโอกาสเพราะว่าเราไมส่ ามารถรบั ปากรับคาและรบั ทาตามคาพดู ของทุกคนได้ จึงต้องหดั พูดปฏิเสธใหเ้ ปน็ ควรฝึกซ้อมเอาไว้กอ่ นวา่ เราจะพดู อย่างไรจึงจะเหมาะสมถงึ แมจ้ ะไม่ รบั คาแต่ฟังแล้วยงั ดูดีพอสมควร เช่น“ขอคดิ ดูก่อน”, “ขอเวลาพิจารณาอีกหน่อย”,“น่าสนใจ”,“เปน็ อยา่ งนัน้ เชียวหรือ”,“นา่ สนุกนะ”,“ท่าทางจะทายาก”,“ขอลองนิดหนอ่ ย” บางทกี เ็ ลยี่ งว่าเป็นเรื่องส่วนตัวเช่น กินไมไ่ ด้เพราะหมอห้าม ร้สู กึ ไมส่ บายวนั นี้ (ไม่สบายใจ)หรือบางทีก็ไม่ต้องไป อธิบายอะไรมากถ้าหากว่าจะเข้าเนื้อตนเองบางครั้งก็จาเปน็ ต้องหุบปากเงยี บทาหูทวนลมเหมือนกัน ควรพดู สาเนียงให้ชดั เจนเสียงไม่คอ่ ยเกินไป ไม่ดังเกนิ ไป ด้วยกริ ิยามารยาทเรียบร้อย หนกั แน่นไม่แสดงความรังเกยี จทาง กาย สายตา วาจา หรอื โมโหโทโสออกมา ถา้ จะต้องปฏิเสธที่เขาเสนอมาควรสนองอะไรกลับไปใหเ้ ขาบ้าง ไมใ่ ห้เขาว่าเรานน้ั ช่างแล้งนา้ ใจ มแี ต่ปฏเิ สธท่า เดยี วถา้ ยงั ไม่กล้าปฏเิ สธโดยตรงทันที กบ็ อกเขาวา่ ขอเวลาพิจารณากอ่ นแลว้ จะใหค้ าตอบในภายหลัง หรือทาทุก ครั้งทบ่ี อกไม่ไดน้ ะ ก็แลว้ แตป่ ฏภิ าณปญั ญาของท่านแต่อย่าพดู ในสง่ิ ที่ทาให้ตนเองเดือดร้อนในภายหลงั เช่น พดู แบบมดั ตวั เองอย่าใหส้ ัญญากับเขาโดยไมจ่ าเป็น อยา่ ไปรับประกนั กบั เขาอย่าพดู โอ้อวดเก่งเกนิ ตัวเองแลว้ ทาไม่ได้
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103