Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี

บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี

Published by saiijenjira, 2018-06-20 10:17:12

Description: วิชาเทคโนโลยี(การออกแบบและเทคโนโลยี)
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี
- การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี
- การวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี

Keywords: วิชาเทคโนโลยี(การออกแบบและเทคโนโลยี),computer

Search

Read the Text Version

บทท่ี • การเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี • การวเิ คราะหก์ ารเปลยี่ นแปลงของ เทคโนโลยี จุดประสงคข์ องบทเรยี น วเิ คราะหส์ าเหตหุ รือปจั จัยทีส่ ่งผลต่อการเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยี

บทท่ี 2 การเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี ปัจจุบันเทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและมีความหลากหลายมากข้ึน ตัวอย่างเช่น เทคโนโลยีท่ีเก่ียวกับการสื่อสารท่ีใช้ในการส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์แทนการส่งไปรษณีย์ การค้นหาเส้นทางโดยใช้สมาร์ทโฟนแทนการใช้แผนท่ีกระดาษ การเรียกใช้บริการแท็กซี่ผ่านทางApplication แทนการโทรนัดหมาย การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีช่วยให้เราทางานได้สะดวกรวดเร็วและง่ายข้ึน ความเข้าใจสาเหตุและปัจจัยท่ีส่งผลให้เทคโนโลยีเกิดการเปล่ียนแปลงช่วยให้เราเข้าใจความเป็นมาของการออกแบบและสร้างเทคโนโลยี เพ่ือเป็นแนวทางในการเลือกใช้และช่วยต่อยอดแนวคิดในการพฒั นาเทคโนโลยีต่อไป

2.1 การเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยี ต้ังแต่สมัยโบราณมนุษย์รู้จักประดิษฐ์สิ่งของเคร่ืองใช้หรือคิดวิธีการเพ่ือแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการในการดารงชีวิตซึ่งสิ่งของเคร่ืองใช้หรือวิธีการน้ันได้รับการพัฒนาอย่างต่อเน่ืองให้เหมาะสมกับแต่ละยุคสมัย เช่น การเก็บเกี่ยวข้าวในอดีตมนุษย์ใช้เคร่ืองมือเก็บเกี่ยวอย่างง่ายโดยใช้แรงงานคนจานวนมาก ต่อมามีการประดิษฐ์เคร่ืองเก่ียวข้าว เครื่องสีข้าว ทาใหผ้ ลิตข้าวได้มากขึ้นใช้เวลาน้อยลง วิถีเกษตรกรรมต้องเปล่ียนไปเมื่อผลิตเข้าเกินความต้องการมนุษย์จึงคิดแปรรูปข้าวเป็นแป้งและประดิษฐ์เคร่ืองโม่แป้งขึ้นทาให้เกิดผลิตภัณฑ์แปรรูปจากข้าวมากมาย เทคโนโลยีเหล่านี้ทาให้มนุษย์สามารถทางานไดส้ ะดวกรวดเร็วและมคี ุณภาพชวี ติ ดีข้ึน

ในอดตี เสือ้ ผ้าต้องตัดเย็บด้วยมือ จึงผลิตได้น้อย ต่อมามีเคร่ืองจักรเย็บผ้าทาให้ผลิตเส้ือผ้าได้รวดเร็วและเกิดโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ที่ผลิตเสื้อผ้าได้จานวนมากส่งผลให้ต้นทุนต่าและราคาถูกลง เกิดการผลิตเพื่อจาหน่ายไปทั่วโลก วัฒนธรรมการแต่งกายของคนเราจึงเปลี่ยนไปจากเดิม นิยมใช้เสื้อผ้าท่ีผลิตจากโรงงานแทนเสอื้ ผ้าทตี่ ดั เย็บดว้ ยมอื ผลิตภัณฑ์หรือวิธีการท่ีเราใช้และความเห็นในปัจจุบันหากศกึ ษาย้อนกลับไปในอดีตจะพบว่ามีการเปลี่ยนแปลงในหลายด้านเชน่ วิธกี ารใช้งาน ความสะดวกสบายในการใชง้ านวัสดแุ ละวิธีการผลิตตัวอย่าง เช่น การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการทาความสะอาดเส้ือผ้า ดังนี้

ในอดีตผู้คนจะนาเส้ือผ้าไปยังแหล่งน้าใกล้ๆ 1วางผ้าไว้บนก้อนหินแล้วใช้ไม้ตีผ้าหรือขย้ีผ้าด้วยมือเมื่อขจดั คราบสกปรกออกมาซึ่งต้องใช้แรงงานคนโดยที่ยังไม่มีการใช้ผงซักฟอกหรือสบู่ช่วยในการขจัดคราบสกปรก ทาให้เกิดความเม่ือยล้าและต้องนาผ้า การใช้ไมต้ ีผา้ กับก้อนหินไปซกั ที่แหลง่ นา้ 2 ต่อมามีการคิดค้นกระดานซักผ้า โดยเรียน แบบการซักผ้าด้วยมือ กระดานซักผ้าจะมีลักษณะ เป็นรูปคล่ืน เพ่ือชว่ ยผอ่ นแรงในการขจดั คราบสกปรก ด้วยการขย้ีผ้า แม้จะลดเวลาในการซักผ้าลงและช่วย แก้ไขข้อจากัดเกี่ยวกับสถานที่ซักผ้าได้ แต่ยังคงใช้กระดานซกั ผา้ แรงงานคนในการซกั ผ้าเหมอื นเดมิ 3 จากกระดานซักผ้าได้พัฒนาเป็นเคร่ืองซักผ้า เครือ่ งซักผ้าแบบมีกา้ นโยกแบบนี้ก้านโยก โดยใช้ผ้าลงไปในด้านล่างของกระบะบรรจุน้า จากนั้นนาก้อนหินใส่ลงไปในตะแกรงส่ีเหล่ียม แล้วโยกก้านโยกเพ่ือให้ก้อนหินทาหน้าท่ีขย้ีผ้าและขจัดคราบสกปรกออกจากผ้า ยังคงใช้คนเป็นหลักแตช่ ่วยลดระยะเวลาในการซักผ้าใหน้ อ้ ยลง 4 จากนั้นมีการเพิ่มกลไกให้กับเครื่องซักผ้า ซึ่งกลไกดังกล่าวช่วยในการป่ันผ้าและบีบผ้าให้แห้ง ช่วยเพิ่มความสะดวกในการซักผา้ แต่ยังใช้แรงงานคน ในการขบั เคลอ่ื นกลไกและตักน้าใส่เคร่ืองซกั ผ้าเคร่อื งซักผา้ แบบมีกลไก

เ มื่ อ มี ก า ร ส ร้ า ง แ ล ะ พั ฒ น า ม อ เ ต อ ร์ ไ ฟ ฟ้ า 5จึงทาให้เคร่ืองซักผ้าเปล่ียนจากการใช้แรงงานคนในการขับเคล่ือน ไปเป็นการใช้มอเตอร์ซึ่งช่วยลดการใช้แรงงานคนและลดระยะเวลาในการทางาน แต่ยังคงใช้แรงงานคนในการควบคุมการทางาน การตักน้าใส่เครือ่ งซักผา้ การทาให้ผา้ แหง้ 6 เครอ่ื งซักผ้ามอเตอร์ไฟฟา้ ต่อมาได้มีการสร้างท่อปั๊มน้าเข้าสู่เคร่ืองซัก ผ้าและสร้างถังปั่นแห้ง ซึ่งช่วยลดเวลาและเพ่ิม ประสิทธิภาพในการทางาน แต่ยังคงใช้แรงงานคน ย้ายผ้าจากถังซักไปยังถังปั่นแห้ง นอกจากน้ีเครื่องซัก ผ้ายงั มีขนาดใหญ่และจุกผ้าได้น้อยเคร่อื งซักผา้ แบบมีท่อป๊มั น้า 7 และถงั ป่นั แห้ง เ มื่ อ มี ก า ร พั ฒ น า ร ะ บ บ ก ล ไ ก ใ ห้ ส า ม า ร ถ เคร่อื งซักผ้าแบบถงั เดยี วทางานได้ซับซ้อนขึ้น เคร่ืองซักผ้าจึงได้มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบโดยการรวมถังซักผ้าและถังป่ันแห้งอยู่ภายในตัวถังเดียวกัน รวมทั้งมีระบบควบคุมการทางานอัตโนมัติในเครอ่ื งซักผา้ เคร่อื งซักผ้า 8ทใ่ี ช้ระบบควบคมุ ซบั ซอ้ นขนึ้ เครอื่ งซกั ผ้าได้มีการพัฒนามาโดยเพิ่มความจุ ของถังซักให้ซักผ้า มีโปรแกรมการซักผ้าท่ีสามารถ เลือกชนดิ ของเน้ือผ้าได้ สว่ นประกอบของเครอื่ งซักผ้า ใช้วัสดุที่เบาและแข็งแรง มกี ารออกแบบวิธีการใช้งาน รูปทรงและสีสันของเครื่องซักผ้าให้ตอบสนองความ ต้องการของผใู้ ชใ้ ห้มากท่สี ดุ

จากตัวอยา่ งการเปล่ยี นแปลงของเทคโนโลยีการทาความสะอาดเสื้อผ้า ตัง้ แต่การซกั ผ้าด้วยมือไปจนถึงการประดิษฐเ์ คร่ืองซกั ผา้ จะพบวา่ มนษุ ย์ไดพ้ ัฒนาระบบกลไกควบคุมการทางาน วธิ กี ารใช้งาน รปู ทรงความสวยงาม วัสดแุ ละวิธกี ารผลติ เพ่อื ช่วยในการแก้ปัญหาหรอื สนองความต้องการของมนุษยต์ ลอดมา กจิ กรรมเรือ่ ง การเปล่ยี นแปลงของเทคโนโลยีการทาความสะอาดเสอื้ ผา้ คาช้แี จง ใหน้ ักเรยี นตอบคาถามต่อไปน้ี 1. ให้ผูเ้ รยี นระบสุ าเหตุที่ทาใหเ้ กดิ เทคโนโลยกี ารซักผา้ และวเิ คราะห์สาเหตหุ รอื ปัจจัยทท่ี าให้เกิด การเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยีการซักผ้า 2. ถา้ ในปจั จบุ ันเราไม่มีเคร่อื งซกั ผา้ แต่ยงั คงใช้กระดาน ซักผ้ากนั อย่กู ารดาเนนิ ชวี ิตของเราจะเป็นอยา่ งไร 3. ในอนาคตเคร่อื งซกั ผ้าจากเปน็ อยา่ งไร

เกร็ดน่ารู้กว่าจะมาเป็ น “กงั หนั น้าชยั พฒั นา” การแก้ปั ญหาน้าเสียในระยะแรก พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดชพระราชทานพระราชดาริ ใหใ้ ช้วิธีการทางธรรมชาติโดยใชน้ า้ คณุ ภาพดีไลน้ า้ เสีย และวิธีกรองนา้ เสียดว้ ยผักตบชวา แต่เม่ือเวลาผ่านไป นา้ เน่าเสียมีอัตราแนวโน้มสงู ขึ้นการใชว้ ิธีทางธรรมชาติอาจช่วยบรรเทาน้าเสียไดไ้ ม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร จึงพระราชทานพระราชดาริใหป้ ระดิษฐเ์ ครื่องกลเติมอากาศแบบประหยดั ค่าใชจ้ ่ายแบบ “ไทยนาไทยใช”้ โดยทรงไดแ้ นวคิดเบ้ืองตน้จาก “หลกุ ” ซ่ึงเป็ นอปุ กรณว์ ิดนา้ เขา้ นาแบบภมู ิปัญญาชาวบา้ น เครื่องกลเติมอากาศน้ีไดร้ ับการศึกษา วิจัยและพัฒนาจนกลายเป็ น “กังหันน้าชัยพัฒนา” และได้รับการจดสิทธบัตรในพระปรภิไธยพระบามสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเมอื่ วนั ท่ี 2 กมุ ภาพนั ธ์ 2536

อีกตัวอยา่ งหนึ่งท่ีน่าสนใจ คือ การเปล่ยี นแปลง ของเทคโนโลยกี ารเพาะเหด็ ในอดตี เราเก็บเหด็ ท่ีเจริญเตบิ โตขึน้ เองตามธรรมชาติ ซึ่งเหด็ แต่ละชนิด จะเจริญเตบิ โตตามฤดูกาลที่เหมาะสมแตกตา่ งกนั ไป แตเ่ มื่อความตอ้ งการในการบรโิ ภคเห็ดเพิม่ มากขนึ้ มนุษย์จงึ เร่มิ เพาะปลูกเห็ดในโรงเรือน เพ่อื ให้มเี หด็ ไวบ้ รโิ ภค นอกฤดูกาล โดยจดั สภาวะแวดลอ้ มเลียนแบบธรรมชาติ ทเ่ี หมาะสมสาหรบั การเจริญเตบิ โตของเห็ดแตล่ ะชนดิและควบคุมดูแลโดยใช้แรงงานคนซงึ่ อาจเกดิ ข้อผิดพลาดและไมแ่ ม่นยาใน การปรับสภาวะใหเ้ หมาะสมกับการเจรญิ เติบโตของเห็ด ต่อมาเมื่อเทคโนโลยกี ้าวหน้ามากขึ้นจงึ เกดิ ฟารม์ เหด็ อจั ฉริยะ ซึง่ ในการติดต้งั เซ็นเซอร์ตรวจจับอุณหภูมแิ ละความชืน้ ในโรงเพาะเหด็

การเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยกี ารเพาะเห็ด1 2 โรงเพาะเห็ด การเก็บเหด็ ตามฤดกู าล จดั สภาวะแวดลอ้ มเรยี นแบบ ตอ้ งอาศัยปัจจยั ความอุดมสมบรู ณ์ ธรรมชาตโิ ดยต้องคอยฉดี นา้ ให้เห็ด ของอาหารและความช้นื ที่ เพอ่ื ใหไ้ ด้อุณหภูมแิ ละความชนื้ เหมาะสมทท่ี าให้เหด็ เจริญเติบโต ในชว่ งทเ่ี หด็ แตล่ ะชนิดตอ้ งการ3 ฟารม์ อจั ฉริยะนาระบบอิเลก็ ทรอนิกสแ์ ละการเช่อื มโยงการทางาน ผา่ นอินเตอรเ์ นต็ และแอพพลเิ คชน่ั บนสมารท์ โฟนเขา้ มาควบคมุ ดูแล สภาวะแวดลอ้ มในโรงเพาะ ให้เอ้ือตอ่ การเจรญิ เติบโตของเห็ดระบบควบคมุ การเปิดปดิ อินเทอรเ์ น็ตพดั ลมและป๊ัมนา้ อัตโนมัติ (Internet)ด้วยเซนเซอรต์ รวจจับอณุ หภูมแิ ละความชืน้ในอากาศแสดงผลและส่ังการควบคุมผ่านแอพพลเิ คชนั่ บนสมาร์ทโฟน



2.2 การวเิ คราะห์การเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยี การศกึ ษาและวิเคราะห์การเปลีย่ นแปลงของส่ิงของเคร่อื งใชห้ รือวธิ กี ารน้นั ทาให้เราเรยี นร้ถู ึงสาเหตุหรอื ปจั จัยท่ีทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเพื่อให้สิ่งของเคร่ืองใช้หรือวธิ ีการสามารถแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการหรือเพ่ิมความสามารถในการทางานของมนุษย์การเปลี่ยนแปลงสิ่งของเครื่องใช้หรือวิธีการสะท้อนให้เห็นถึงองค์ความรู้ท่ีมนุษย์ค้นพบมากขึ้นและนามาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาเทคโนโลยีอย่างต่อเน่ืองและส่งผลต่อการดารงชีวิตและสงั คมของมนุษยอ์ ย่างชดั เจนดังตวั อย่างต่อไปนี้

การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยเี ตา • มนุษยร์ ู้จักสงั เกตวา่ ดินท่อี ยู่ใต้ กองไฟเปน็ เวลานานจะมีความ • ได้รับอิทธพิ ลมาจากจีน แขง็ และละลายนา้ ไดย้ ากกวา่ • มรี ูปทรงท่ที าใหใ้ ช้งานสะดวก ดินโดยรอบจงึ นาดนิ มาปัน้ ขึ้น และสามารถเคลื่อนยา้ ยได้• ใช้ก้อนหินสามกอ้ นเพ่อื ให้ รปู รอบกองไฟเพือ่ ไม่ให้ความ ระหว่างการใช้งานได้ • ใช้ฟนื เป็นเช้อื เพลิงซง่ึ หาได้ง่ายสามารถตงั้ ภาชนะและมี ร้อนกระจายโดยรอบช่องสาหรบั ใสไ่ มห้ รือฟนื • สวยงามกวา่ เตา่ ก้อนเส้า ในบางชุมชนไม่สามารถควบคุมความรอ้ น ไม่สามารถเคล่ือนย้าย เกิดเขม่าควนั ไม่สามารถเคลอ่ื นย้าย ระหวา่ งการใช้งาน ใชเ้ วลานานในการกอ่ ไฟ ระหวา่ งการใชง้ านเตาก้อนเสา้ เตาฟนื เตาองั้ โล่

• เกดิ การประยุกตใ์ ช้ความรู้ทาง • เกิดการประยุกตใ์ ชค้ วามรู้ วิทยาศาสตร์ เร่อื งการ ทางวิทยาศาสตร์ในการ เหน่ยี วนาสนามแม่เหลก็ ความ เปล่ยี นพลงั งานไฟฟ้าเปน็ ร้อน จงึ เกิดขึ้นท่ภี าชนะเท่านั้น• เมื่อมนษุ ยค์ ้นพบวิธีการนา ความรอ้ น โดยใช้ขดลวดนา ไม่มคี วามรอ้ นบริเวณผวิ เตาแก๊สมาใชเ้ ป็นเชอ้ื เพลิงจงึ ไฟฟา้ ที่อยภู่ ายในเตา ทาให้ปลอดภัยในการใช้งานประดษิ ฐแ์ ละคิดคน้ เตาแกส๊ จงึ ไมม่ เี ปลวไฟ • ทาความรอ้ นได้เร็ว ใชไ้ ฟน้อยให้ใชง้ านได้สะดวกราคา • มีความสวยงาม • ใชง้ านง่าย สะดวก สวยงามถูกลงและปลอดภัยมากขน้ึ • มักใชใ้ นคอนโดหรอื หอพัก และกะทัดรดัตอ้ งใช้งานอยา่ งระวังและ ความรอ้ นที่ผวิ เตา สามารถสมั ผัสผิวเตาได้ดูแลอปุ กรณเ์ ป็นประจาเพือ่ ทาใหเ้ กดิ อนั ตรายได้ โดยไมเ่ กดิ ความร้อนมือ ปอ้ งกนั การรว่ั ของแกส๊เตาแก๊ส เตาไฟฟา้ เตาแมเ่ หลก็ ไฟฟ้า

การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีเครือ่ งมือเตรียมดนิ เพื่อทานาไถ รถไถนาเดินตาม • ชาวนาใช้ไถหรือเครือ่ งใช้ในการ • ต่อมามนุษ ย์นาความ รู้เก่ียวกับ พลกิ หนา้ ดนิ และกลบวชั พืชเพ่ือ เ ค รื่ อ ง ย น ต์ ม า ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ช้ ใ น ก า ร เ ต รี ย ม ดิ น เ พ า ะ ป ลู ก โ ด ย ใ ช้ ประดิษฐ์รถไถนาเดินตามแทนการใช้ แรงงานสัตว์ เช่น วัว ควายใน แรงงานสัตว์ การลากไถ • ช่วยประหยัดแรงและเวลาในการ• ใชเ้ วลานานในการเตรยี มดินใช้ เตรยี มดนิ แรงงานคนในการควบคุมและบงั คบั คนั ไถ • ทางานได้ตลอดเวลาตราบเท่าท่ีมี นา้ มันเช้ือเพลงิ • ใช้แรงงานคนในการควบคุม และบงั คับไถ

การเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยีเครือ่ งมือเตรยี มดนิ เพื่อทานารถไถนาน่งั ขับ รถไถอเนกประสงค์• เกิดจากการพัฒนารถไถนาโดย • เกิดจากการใช้ความรู้ทาง นั่งควบคุมบนรถไถนา แทนการ วิศวกรรมในการออกแบบวิจัย เดนิ ตามรถไถ และพัฒนาสร้างพาหนะ เพ่ือ ช่วยทุ่นแรงมนุษย์ในการเตรียม• เกดิ ความสะดวกสบายมากขึ้น ดินเพาะปลูกตามข้ันตอนต่างๆ• ทางานไดเ้ ร็วขึน้ ตั้งแต่การไถ คราด ยกร่อง พรวนดนิ ดนั ดนิ• ไถพรวนดินได้อย่างเดียว • ช่วยประหยัดแรงและเวลาใน การทางานมากยิ่งข้ึน

การเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยีการถนอมอาหารประเภทนมโดยใช้ความรอ้ น• วิธีการอย่างง่าย โดย • ใช้อุณหภูมิไม่ต่ากว่า 72C เป็นเวลาไม่ ใช้ความร้อนในการ ฆ่ า เ ชื้ อ จุ ลิ น ท รี ย์ น้อยกว่า 15 นาทีแล้วทาให้เย็นลงทันที แ ต่ ยั ง ฆ่ า เ ช้ื อ ไ ม่ ไ ด้ ทั้งหมด ท่อี ณุ หภูมติ า่ กวา่ 5C • ไม่ทาลายสารอาหารและรสชาตขิ องนม • ลดปริมาณเช้อื จุลนิ ทรยี ์เก็บรกั ษานมไดไ้ ม่นาน ยงั คงมีเชอื้ จลุ นิ ทรยี ์หลงเหลืออยู่ ถ้าเก็บไว้นานเกนิ กาหนดอาจทาให้นมเสียได้

• ใช้อุณหภูมิไม่ต่ากว่า 100C • ใช้อุณหภูมิไม่ต่ากว่า 133C เปน็ เวลานาน เปน็ เวลาประมาณ 2-3 วินาที• ท า ล า ย เ ช้ื อ จุ ลิ น ท รี ย์ แ ล ะ • การสูญเสียวิตามินการเปลี่ยนสี เอนไซม์ต่างๆท่ีทาให้นมเสียได้ แ ล ะ ก ล่ิ น ข อ ง น ม น้ อ ย ก ว่ า วิ ธี ท้งั หมด เก็บรักษาได้นานถึง 12 สเตอริไลส์ อายุการเก็บรักษา เดอื น โดยไมต่ อ้ งเก็บในตู้เยน็ ประมาณ 6 ถึง 8 เดือน ไม่ต้อง เกบ็ ไวใ้ นตู้เยน็การใชค้ วามรอ้ นสงู เป็นเวลานาน • ใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์และทาให้นมสญู เสยี วิตามินบางชนิดและเปลย่ี นเปน็ สเี หลืองเลก็ นอ้ ย เทคโนโลยี ในการระเหยน้าออกจาก มีกลนิ่ เฉพาะตวั น้านมท่ีพน่ ออกมาเป็นละอองอย่าง รวดเรว็ ทาใหน้ มกลายเปน็ นมผง • ไม่ทาลายสารอาหาร • ง่ายต่อการขนสง่ และเก็บรักษา

การเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยีขยายพันธุ์กล้วย การเพาะเมลด็ และการแยกหนอ่ • ใชเ้ มล็ดและขดุ แยกหนอ่ ที่เกิดจากตน้ แมแ่ ลว้ นาไปปลูกใหม่ • การเพาะเมล็ดใช้เวลานานในการเจริญเป็นต้นอ่อน เนื่องจากเมล็ดของกล้วยมีเปลือกหุ้มท่ีหนาและแข็ง วิธีการนี้จึงเหมาะสาหรับกล้วยพันธุ์ท่ีสามารถเพาะเมล็ด ได้เท่านัน้ • การขยายพันธ์ุโดยใช้หน่อท่ีเกิดจากต้นแม่จะได้ต้นใหม่ จานวนน้อย ขน้ึ กบั จานวนหนอนทเี่ กิดจากตน้ แม่

การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีขยายพันธุ์กลว้ ย การผา่ หน่อ • เม่ือความต้องการผลผลิตมีเพิ่มมากข้ึน จึงนาเอาหน่อกล้วย มาผ่าแบ่งเป็นช้นิ และนาไปชาใหเ้ กิดรากเพ่อื ปลูกต่อ • ไดต้ น้ ออ่ นทเ่ี จรญิ เร็ว • ขยายพนั ธไุ์ ด้มากกว่า 1 ตน้ • ต้นทนุ ในการขยายพันธ์ุต่า • จานวนหน่อของกล้วยแต่ละต้นมีจากัดจึงไม่สามารถ ขยายพนั ธุ์กลว้ ยไดจ้ านวนมาก • หน่อพันธุท์ ี่ขุดจากต้นอาจมโี รคและแมลงที่ระบาดติด มา ส่งผลให้เติบโตไม่เต็มท่ีและแพร่เชื้อระบาดไปยัง ตน้ อื่นได้

การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีขยายพันธ์ุกลว้ ย การเพาะเลยี้ งเนือ้ เยอื่ • เกิดจากการประยุกต์ใช้ความรู้วิทยาศาสตร์ โดยการ นาเนื้อเย่ือจากหน่อกล้วยมาเพาะเลี้ยงในอาหาร สงั เคราะห์ ทาให้ได้ตน้ อ่อนท่ีมีลักษณะเหมือนแม่พันธ์ุ จานวนมากตามที่ต้องการ • ไดต้ ้นพันธทุ์ ี่สะอาดปราศจากโรคและแมลง • เหมาะสาหรับการลงทุนเพ่ือการค้าและส่งออก เนื่องจากได้ต้นปลูกที่มีขนาดสม่าเสมอจานวนมาก และเก็บเกย่ี วผลจานวนมากได้พรอ้ มกัน

ใบงาน

ใบง

งาน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook