Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 5 วัสดุและเครื่องมือช่างพื้นฐาน

บทที่ 5 วัสดุและเครื่องมือช่างพื้นฐาน

Published by saiijenjira, 2018-07-18 09:45:23

Description: บทที่ 5 วัสดุและเครื่องมือช่างพื้นฐาน
- วัสดุในชีวิตประจำวัน
- เครื่องมือช่างพื้นฐาน

Keywords: computer

Search

Read the Text Version

5บทท่ี • วสั ดใุ นชวี ิตประจาวนั • เคร่อื งมือช่างพน้ื ฐานจดุ ประสงค์ของบทเรยี น วเิ คราะห์สมบตั ิของวสั ดแุ ละเคร่ืองมอื ชา่ ง เลอื กใช้วัสดแุ ละเคร่ืองมือช่างได้เหมาะสม

วัสดุและเคร่อื งมือช่างพืน้ ฐาน ประตูที่เราใชก้ ันทว่ั ไปสรา้ งจากวัสดุหลายประเภทเช่น ไม้ พลาสตกิ แต่ละส่วนของประตูจะสรา้ งวัสดุที่แตกตา่ งกัน เชน่ บานประตูทาจากไม้ ลกู บิดเปน็ โลหะทัง้ นเ้ี นอื่ งจากสมบัตขิ องวสั ดุทแ่ี ตกตา่ งกนั จงึ ทาให้มีความเหมาะสมในการนามาใช้งานทแ่ี ตกต่างกนัควรเลือกใช้ให้เหมาะสมกับประเภทของวัสดุและการทางานอย่างปลอดภยั

5.1 วัสดุในชวี ิตประจาวนัสง่ิ ของเครอื่ งใช้ตา่ งๆ สรา้ งขน้ึ จากวัสดหุ ลากหลายประเภท วัสดแุ ตล่ ะประเภทมีสมบตั ิและลักษณะท่แี ตกต่างกนัการเลือกใชว้ ัสดใุ หถ้ ูกต้องและเหมาะสมจงึ มีความสาคญั ต่อการออกแบบและสร้างสิง่ ของเครอ่ื งใช้

การเปรียบเทยี บสมบัติและการใช้งานเก้าอ้ี ทผ่ี ลติ จากวสั ดทุ ่ีแตกต่างกนั

วสั ดทุ ่ีนามาทาสงิ่ ของเครอ่ื งใช้ท่เี ราพบเจอในชวี ติ ประจาวัน เช่น ไม้ โลหะ พลาสติก ยาง มสี มบัตแิ ละการนาไปใชง้ านทแ่ี ตกตา่ งกันดงั น้ีไม้ (Wood) คอื วสั ดธุ รรมชาตทิ ี่ได้มาจากลาต้นของต้นไม้ส่วนใหญ่เป็นไมย้ นื ตน้ มีประโยชน์ไดห้ ลากหลายมคี วามแขง็ แรง ทนทาน ต้านทานไฟฟ้า ไม่เปน็ สนิมมีรปู รา่ งคงตวั มีผวิ เรยี บ มกี ล่นิ และลวดลายท่ีเปน็เอกลักษณ์

ไมแ้ บง่ ออกเปน็ 2 ประเภทคอื ไมธ้ รรมชาตหิ รอื ไมจ่ รงิ และ ไมป้ ระกอบ

ไม้ธรรมชาตหิ รอื ไม้จริง คือไม้ที่ได้มาจากลาต้นของต้นไม้โดยตรงแบง่ ได้2 ประเภท คอื ไม้เนื้อแข็ง และ ไมเ้ น้ือออ่ นไมป้ ระกอบ คอื ไม้ทีไ่ ด้จากการนาชิ้นสว่ นไม้มาต่อรวมกันดว้ ยกระบวนการตา่ งๆ ไมป้ ระกอบมหี ลายประเภทเช่น ไม้อดั ไมป้ าร์ตเิ กลิ บอร์ด

สมบตั แิ ละการใชง้ านของไมแ้ ต่ละประเภท

โลหะ (Metals) คือ วัสดทุ ่ไี ด้จากการถลุงสนิ แร่ตา่ งๆ โลหะท่ีนามาใช้จะผา่ นการปรบั ปรงุ สมบัตใิ ห้ดีขน้ึ กอ่ นนามาใชง้ าน โลหะเป็นวสั ดุทีใ่ ชป้ ระโยชน์ไดอ้ ย่างกว้างขวาง เชน่ เปน็ ตัวนาความร้อน เปน็ ตัวนาไฟฟา้ ไดด้ ี มคี วามแข็งแรงสูง มีความทนทาน ไมเ่ ส่ือมสลาย ไมเ่ ปลย่ี นแปลงสภาพงา่ ย เปน็ วสั ดุทึบแสง สามารถปอ้ งกันไม่ใหแ้ สงผา่ นและมคี วามสวยงามเปน็ มนั วาว สามารถตีเป็นแผน่ หรือดงึ ให้เปน็ เสน้ ลวดได้ โลหะแบ่งไดเ้ ป็น 2 ประเภท คอื โลหะกลุ่มเหล็ก และ โลหะนอกกลุ่มเหล็ก

โลหะกลมุ่ เหลก็ คอื โลหะทมี่ เี หล็กเป็นส่วนประกอบหลักแบง่ ออกเปน็ เหล็กกลา้ และเหล็กหล่อ ซ่งึ มีธาตุคาร์บอนผสมอย่ใู นปรมิ าณทตี่ ่างกัน ซึง่ มผี ลตอ่ ความแขง็ และความต่อของเหล็ก โดยทัว่ ไปกลุ่มเหลก็ จะเกิดสนมิ มีสมบตั ิดดู ติดกบั แม่เหลก็ ได้ มีความแข็งแรงสงู สามารถปรับปรงุ คณุ ภาพและเปล่ยี นแปลงรูปทรง โดยการกลึง เจาะ ไส รีดเปน็ แผ่นบางได้ตามต้องการ

โลหะนอกกลุ่มเหลก็ คอื โลหะท่ไี ม่มเี หลก็ เปน็ สว่ นประกอบ ดังนน้ั โลหะประเภทนจี้ ะไมเ่ กิดสนิมและไมด่ ูดติดกับแมเ่ หล็ก เชน่ อลมู เิ นียม ทองแดง สงั กะสแี ละทองเหลอื งผลิตภณั ฑ์จากอลมู ิเนียม ผลติ ภณั ฑ์จากทองแดง ผลิตภัณฑ์จากทองเหลอื งผลติ ภัณฑ์จากสงั กะสี

สมบัตแิ ละการใชง้ านของโลหะแต่ละประเภท

พลาสติก คือ วสั ดุสงั เคราะห์ทมี่ นุษย์สรา้ งขึน้ สว่ นใหญ่เป็นผลผลิตท่ีได้จากการกล่นั น้ามนั ดิบปจั จุบนั พลาสติกนามาใชส้ ร้างสง่ิ ของเคร่ืองใชม้ ากมายและมบี ทบาทอย่างย่ิงตอ่ การดาเนนิชีวิตประจาวนั ของทุกคน พลาสตกิ แบ่งไดเ้ ป็น 2 ประเภท คอื โทโมพลาสตกิ และ เทอรโ์ มเซตตงิ พลาสตกิ

เทอร์โมพลาสติก ประเภทน้เี ม่ือได้รบั ความรอ้ นจะออ่ นตัวและเปลี่ยนรปู ร่างได้ เมื่อเย็นจะแขง็ ตวั ถ้าใหค้ วามร้อนอีกจะอ่อนตวัดังนน้ั จงึ สามารถทาใหก้ บั เปน็ รปู เดมิ หรอื เปลยี่ นรูปได้ทนต่อแรงดงึ ไดส้ งู เช่น อะครลิ คิ ไนลอน พอลิไวนีลคลอไรด์พอลิสไตรนี และพอลเิ อทิลีน เปน็ ตน้ผลติ ภณั ฑ์จากอะครลิ ิค ผลติ ภัณฑ์จากพอลไิ วนีลคลอไรด์ผลิตภัณฑ์จากพอลสิ ไตรีน ผลิตภณั ฑ์จากพอลเิ อทิลนี

เทอรโ์ มเซตติงพลาสติก พลาสตกิ ประเภทนมี้ ีความแข็งแรง ทนทานตอ่ การเปล่ยี นแปลงอุณหภมู แิ ละปฏิกริ ิยาเคมีได้ดี เมื่อไดร้ ับความร้อนจะไมอ่ ่อนตวั ไม่สามารถหลอมและนากลับมาขนึ้ รูปใหม่ถ้าอย่ใู นอุณหภมู ิสงู จะทาใหแ้ ตล่ ะไหมเ้ ปน็ ขเ้ี ถา้ สีดา ตัวอยา่ งเช่น เมลามีนและพอลีเอสเตอรเ์ รซน่ิผลติ ภณั ฑ์จากเมลามนี ผลิตภัณฑ์จากพอลีเอสเตอร์เรซิ่น

สมบัตแิ ละการใชง้ านของพลาสตกิ แต่ละประเภทยาง คือ วสั ดทุ ีม่ คี วามยืดหยนุ่ เมือ่ ออกแรงดึงหรือกดยางจะยืดหรอื ยุบและกลบั สู่สภาพเดมิ ได้ เม่อื ปลอ่ ยใหอ้ ยา่ งเปน็อสิ ระ ยางถกู นาไปแปรรูปเพ่ือใช้ประโยชน์ในการสรา้ งสิง่ ของเครื่องใชห้ ลายชนดิแบง่ ออกเปน็ 2 ประเภทคอื ยางธรรมชาตแิ ละยางสงั เคราะห์

ยางธรรมชาติ คอื ผลผลติ ท่ไี ด้จากต้นยางเช่น ตน้ ยางพารา เม่อื อยูใ่ นอณุ หภูมิต่าจะแขง็ กระดา้ งและเมอื่ อยใู่ นอุณหภมู สิ งู จะออ่ นนิ่ม ทนตอ่การฉีกขาดและการสกึ หรอ แต่ไมท่ นตอ่ ตวั ทาละลายพวกน้ามันปโิ ตรเลียมและมักเสื่อมสภาพเรว็ ภายใต้แสงแดดความร้อนและออกซเิ จน น้ายางดบิ จะแปรสภาพเป็น2 ลักษณะคือนา้ ยางขน้ ซึ่งเปน็วัตถดุ บิ ในการผลิตของใช้ต่างๆเชน่ ถุงมือยาง ยางรัดของ ลูกโปง่ ชน้ิ สว่ นอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์เครือ่ งมือทางการแพทย์ และอกี ลกั ษณะคอื ลกู ยางแห้งเชน่ ยางแผน่ รมควนั ยางแผน่ ผึ่งแห้ง ยางแท่ง ซึง่ ใชเ้ ป็นวัตถดุ บิ ในการผลติ รองเท้า ยางรถจักรยานและยางรถยนต์

ยางสงั เคราะห์ คอื อยา่ งทีไ่ ด้จากการสังเคราะห์ทางเคมี ขอ้ ดี คือ สามารถปรับปรุงสมบตั ิ เชน่ สภาพยืดหยุ่น ความทนทานตอ่ แรงดงึ และการฉีกขาด ความทนต่อเปลวไฟ สภาพอากาศ แสงแดด สารเคมแี ละนา้ มันไดต้ ามตอ้ งการ ยางสังเคราะหม์ หี ลายประเภทแต่ละประเภทมีสมบตั แิ ตกตา่ งกนั ไปตามความเหมาะสมของการใช้งาน สมบัติและการใชง้ านของยางแตล่ ะประเภท

ใบงาน เรื่อง ประเภทและสมบตั ขิ องวัสดุ คาชี้แจง เลือกส่งิ ของเคร่อื งใช้ภายในห้องเรยี น 3 อย่างและระบุวา่ สง่ิ ของเครอ่ื งใช้นั้นทามาจากวสั ดปุ ระเภทใดบา้ งพลาสติก โลหะประกอบไปดว้ ย พลาสตกิ และโลหะ



5.2 เคร่ืองมือชา่ งพ้ืนฐาน เครื่องมอื ช่างพน้ื ฐานเปน็ สง่ิ จาเป็นในการสรา้ งช้ินงานเพอื่ ชว่ ยในการผ่อนแรงชว่ ยให้ทางานได้รวดเร็ว ละเอียดแมน่ ยามากขึ้น การรู้จกั เลอื กใชเ้ คร่ืองมอื ใหเ้ หมาะสมกบังานใช้อย่างถกู ต้องและปลอดภัยจงึ มคี วามสาคญั ต่อผู้ปฏบิ ตั ิงานเองและความสาเรจ็ ของงาน เครอ่ื งมอื ช่างมีตั้งแต่เครือ่ งมอื งา่ ยไปจนถึงซบั ซอ้ นมีระบบไฟฟ้าอเิ ลก็ ทรอนิกส์เป็นสว่ นประกอบตอ้ งใช้ความรู้และทกั ษะมากขึน้ ในการใชง้ าน

เครอ่ื งมอื สาหรบั การวดั เครอื่ งมือในการวัดมหี ลายประเภท ขึ้นอยู่กบั ลกั ษณะของงาน เชน่ ไม้บรรทัด ตลับเมตร สายวดั ไมโ้ พรแทรกเตอร์1. วดั ความยาว 1.1 ไมบ้ รรทัดการใชง้ าน ใชว้ ดั ความยาวและขีดเสน้ ให้ตรงในระยะสน้ั ๆ มีหลายขนาดและทาจากวัสดหุ ลายประเภทเช่น พลาสติกไม้ อะลมู ิเนียมเหลก็ 1.2 ตลบั เมตรการใช้งาน ใชว้ ัดความยาวหรือระยะทางได้ถงึ 10 เมตรสายวดั ทาจากแผ่นเหลก็ บาง สามารถม้วนเก็บได้ข้อควรระวัง การม้วนสายเก็บควรใชม้ อื ช่วยตบั เพอ่ื ไมใ่ ห้สายวดั หมนุ เข้าตลับเร็วเกินไปเพราะอาจทาใหเ้ กิดอันตรายตอ่ ผู้ใช้ได้

2. วัดมุม 2.1 ไมโ้ ปรแทรกเตอร์การใชง้ าน อ่านคา่ มมุ จากการวางไม้โพรเทคเตอรท์ บั มุมท่ีต้องการวัดมีทั้งแบบครงึ่ วงกลมและสี่เหล่ียมผืนผ้า มีหน่วยเปน็ องศาเคร่อื งมอื สาหรับการตัด เครื่องมือท่ใี ชใ้ นการตัดมีหลายรปู แบบเช่น คัตเตอร์ กรรไกร เลื่อยมอื คมี ตัด1. คัตเตอร์การใชง้ าน ใชต้ ัดวสั ดปุ ระเภทกระดาษ พลาสตกิลกู ฟกู ไมบ้ ัลซาข้อควรระวงั มดี คัตเตอรเ์ ปน็ ของมีคมควรใช้งานอย่างระมดั ระวัง เมื่อใชเ้ สร็จควรเลื่อนมดี เกบ็ ใหเ้ รยี บรอ้ ย

2. กรรไกรการใชง้ าน ใชต้ ัดวัสดใุ ห้เปน็ เส้นตรง เส้นโค้งหรอื เส้นหยักกรรไกรมหี ลายประเภท เช่น กรรไกรตดั กระดาษกรรไกรตดั ผ้า กรรไกรตัดโลหะข้อควรระวงั ของควรเลอื กใช้กรรไกรใหเ้ หมาะกับประเภทของวัสดุท่ีต้องการตัด กรรไกรเป็นของมคี มควรใชง้ านดว้ ยความระมัดระวังทันตนเองและผู้อ่นื3 เลอ่ื ยมอื เลือ่ ยมอื มหี ลายประเภทขน้ึ อยกู่ บั ลกั ษณะของงานเช่น เลื่อยฉลุ เล่อื ยลนั ดา 3.1 เลอ่ื ยฉลุการใช้งาน เปน็ เครอ่ื งมอื สาหรบั งานไม้เหมาะสาหรับการหรอื ใช้ลกู ชนิ้ งานไมท้ ่ไี มห่ นาและไมใ่ หญ่มากขอ้ ควรระวัง เมอ่ื เลกิ ใชง้ านควรถอดใบเลื่อยออกจากโครงเลือ่ ยฉลุทนั ที

3.2 เล่อื ยลนั ดาการใชง้ าน เหมาะสาหรบั ตดั ไมท้ ว่ั ไป ทาจากเหลก็ สว่ นมือจับทาดว้ ยไม้หรือพลาสตกิขอ้ ควรระวงั เลือ่ ยเป็นของมคี ม ดังน้นั ควรใช้งานดว้ ยความระมดั ระวงั ทงั้ ต่อตนเองและผอู้ น่ื4. คมี ตดัการใชง้ าน ใช้ตัดวัสดุประเภทโลหะที่มีขนาดเลก็ และไมแ่ ขง็ มาก เชน่ สายไฟและเส้นลวดข้อควรระวงั ไม่ควรใช้คมี ตัดโลหะทีม่ ีขนาดใหญ่หรอืแขง็ เกินไป เม่อื เลกิ ใชง้ านควรหยอดนา้ มันและเกบ็ เขา้ ที่

วสั ดุและเคร่อื งมือสาหรบั การติดยึด วัสดแุ ละเครอ่ื งมอื ในการตดิ ยึด มีหลายประเภทซ่งึ ข้นึ อยู่กบั ประเภทและวสั ดแุ ละลักษณะของงานเช่น กาว ปืนกาว สกู ไขควง1. กาว กาวมีหลายประเภท เช่น กาวลาเท็กซ์ กาวร้อนกาวยาง กาวแทง่ การใช้งานข้ึนอยู่กบั วสั ดทุ ่ตี อ้ งการให้ตดิยดึ เข้าด้วยกัน 1.1 กาวลาเทก็ ซ์การใช้งาน สาหรับยดึ ตดิ วัสดุประเภทไม้ กระดาษ ผา้กาวชนดิ นแี้ ห้งช้า เม่อื ทาวสั ดุแล้วควรทิ้งไวซ้ ักระยะหน่งึสาหรับไม้ควรทิง้ ไว้ขา้ มคืน เม่อื กาวแห้งแลว้ จะยึดตดิ วัสดุได้แน่นมากข้อควรระวงั ใชง้ านเสร็จควรปดิ ฝาเพือ่ ปอ้ งกนั การแห้ง

1.2 กาวร้อนการใช้งาน ยดึ ตดิ วสั ดไุ ดเ้ กอื บทุกชนิด แหง้ เร็วมากเหมาะสาหรับวสั ดุประเภทยาง พลาสตกิ โลหะ เซรามิกข้อควรระวัง ไม่ควรให้สัมผัสกบั ผวิ หนงัหากสมั ผัสให้ล้างออกโดยเรว็ ด้วยน้าอนุ่ หรือน้ายาล้างเลบ็ ซ่ึงมสี ว่ นประกอบของอะซิโตนเปน็ ตวั ทาละลายทด่ี ี เมอื่ ใช้งานเสรจ็ ควรปดิ ฝาเกบ็ ใหม้ ิดชดิ

1.3 กาวยางการใชง้ าน ใชย้ ึดตดิ วัสดไุ ด้เกอื บทุกประเภทมีความเหลวเมอื่ ทากาวควรทิง้ ไว้อยา่ งน้อย 1 ชั่วโมง เหมาะสาหรบั งานเฟอรน์ ิเจอรห์ รอื งานซ่อมแซมตา่ งๆขอ้ ควรระวัง เม่ือโดนนก้ ลา่ วจะสูญเสียสมบตั กิ ารยดึ ตดิของกาว จงึ ไม่เหมาะกับการยดึ ติดวสั ดทุ ่ตี ้องใชก้ ลางแจง้หรือสัมผัสกบั นา้ หลงั ใชง้ านควรปดิ ฝาใหส้ นทิ 1.4 กาวแท่งการใช้งาน ใชย้ ดึ ตดิ วสั ดุประเภทกระดาษ เน้อื กาวมีลักษณะเหนยี วเปน็ กอ้ น จึงไม่ทาใหเ้ หลือในการใชง้ านและไมท่ าให้กระดาษย่นขอ้ ควรระวัง หลังใช้งานเสรจ็ควรปิดฝาใหเ้ รยี บร้อย

2. ปืนกาว ปนื กาวมีส่วนประกอบสาคญั2 ส่วน คอื ส่วนท่มี ีลักษณะคลา้ ยปนืมสี ายไฟตอ่ กบั ปล๊กั ไฟทาหนา้ ท่เี ปน็ ตัวใหค้ วามร้อนและส่วนท่ี 2 คอื กาว มีลกั ษณะเปน็ แท่ง เมอ่ื ใสก่ าวลงไปในปนืความรอ้ นจะทาให้กาวละลายและมคี วามเหนียวการใช้งาน ใชส้ าหรับงานยึดติดวัสดปุ ระเภทกระดาษไม้ ยาง พลาสติกขอ้ ควรระวงั ระหวา่ งการใช้งานไมค่ วรให้มือสัมผัสกาวท่ลี ะลาย เนือ่ งจากมคี วามร้อนสูง3. สกรู มีลักษณะคล้ายกบั ตะปแู ตม่ ีเกลียวโดยรอบจงึ มีชอื่ เรียกอกี อย่างวา่ ตะปูควงหรอื ตะปเู กลียว ใชย้ ึดวตั ถุ2 ช้ินเขา้ ด้วยกนั โดยใชเ้ กลียวเปน็ ตวั หมนุ เจาะเข้าไปในเนื้อวสั ดุ สกรมู ีหลายชนดิ ในทน่ี ี้จะยกตัวอยา่ งการใช้งานทว่ั ไป 2 ชนิดดังนี้

3.1 สกรเู กลยี วปลอ่ ย เปน็ สกูทป่ี ลายแหลมใชย้ ึดชิน้ งานท่ีตอ้ งการแรงยดึ ตรงึ สงู โดยสว่ นเกลียวจะเขา้ ไปฝังในเนอ้ื วสั ดุสามารถทนแรงดึงไดด้ ี หวั สกรมู ีหลายแบบ เช่น แบบหวักลม แบบหวั เรยี บ แบบหวั แฉก แบบหวั ผ่าการใช้งาน ใช้ยึดชนิ้ งานไมเ้ ข้าด้วยกนั โดยใช้ไขควงช่วยในการขันเกลยี วเข้าไปในเนื้อวัสดโุ ดยตรงขอ้ ควรระวัง การขันสกรูเขา้ และคลายออกหลายครง้ัอาจทาใหช้ ้ินงานเสยี หายได้3.2 สกรูและนอต เป็นสกรทู ่ีมปี ลายตัด ต้องใชร้ ว่ มกับน็อตที่มีขนาดเดยี วท่เี ข้ากนั ได้การใช้งาน ใช้ยดึ ชิ้นงานท่ีเปน็ โลหะเข้าดว้ ยกัน โดยตอ้ งเจาะรชู นิ้ งานขนาดพอดกี ับศตั รูข้อควรระวงั การขันเข้าสกรกู ับนอตตอ้ งวางตาแหนง่ ให้ตรงกันเพราะอาจทาให้เกีย่ วชารุดได้

4. ไขควง ใชข้ ันหรือคลายสกรไู ขควง ประกอบดว้ ยดา้ มจับลาตัวหรือกา้ นและปากไขควง โดยสามารถแยกประเภทของไขควงได้ 2 ประเภทคอื 4.1 ไขควงปากแบน มลี กั ษณะปากแบนเสน้ ตรงคลา้ ยคมมดี สาหรบั ใช้ขันหรอื คลายสกรูท่ีหวั สกรเู ปน็ ร่องเสน้ เดียวการใชง้ าน ใชข้ ันหรือคลายสกูทีม่ ลี ักษณะหวั ผ่าขอ้ ควรระวัง เลือกขนาดและประเภทของไขควงให้เหมาะสมกับหัวสกรู 4.2 ไขควงปากแฉก มลี ักษณะปากเป็น 4 แฉก ใชข้ นั สกรทู ่ีมีหัว 4 แฉกเวลาบดิ จะต้องใชแ้ รงกดท่ดี า้ มมากกว่าไขควงปากแบน เพ่อืไมใ่ หเ้ หลย่ี มของไขควงหลดุ ออกจากรอ่ งการใช้งาน ใชข้ ันหรอื คลายนอตท่ีมลี กั ษณะหัวแตกขอ้ ควรระวัง เลอื กขนาดและประเภทของไขควงให้เหมาะสมกับหัวสกรู

เคร่อื งมอื สาหรับการเจาะ เครอื่ งมือสาหรับการเจาะมหี ลายประเภทในทนี่ ้จี ะขอยกตวั อยา่ ง ไดแ้ ก่ ท่ีเจาะกระดาษ สวา่ นมอืและสว่านไฟฟ้า1. ทเี่ จาะกระดาษ ใชส้ าหรบั เจาะกระดาษมีหลายขนาด ทามาจากเหล็กการใชง้ าน ใชเ้ จาะรขู นาดเล็กบนกระดาษขอ้ ควรระวัง ไม่ควรเจาะกระดาษที่หนาวจนเกนิ ไป2. สว่านมอื ใชร้ ่วมกบั ดอกสว่าน มีเฟอื งเปน็ เคร่อื งผอ่ นแรงช่วยขับดอกสวา่ นให้หมุนเจาะรู ปลายดอกสวา่ นจะเป็นตัวเจาะวสั ดุและนาเศษวัสดุที่ถูกเจาะออกไปจากรูการใช้งาน ใชเ้ จาะรวู สั ดปุ ระเภทไม้ โลหะ พลาสตกิที่ชิ้นงานไมห่ นามากข้อควรระวัง การใช้ดอกสว่านควรจับยึดใหแ้ น่นเพ่ือไมใ่ หด้ อกสว่านหลุด

3. สวา่ นไฟฟ้า ใช้งานรว่ มกับดอกสว่าน ใช้สาหรับขับจากมอเตอรไ์ ฟฟ้า สว่านไฟฟา้ เป็นที่นยิ มใชก้ ันมากเพราะใช้งานไดส้ ะดวก รวดเรว็ ประหยดั เวลาการใช้งาน ใชเ้ จาะรวู ัสดุประเภทไม้โลหะพลาสติกขอ้ ควรระวงั ไมค่ วร ใชด้ อกสว่านผดิ ประเภท เช่น ดอกสว่านเจาะคอนกรตี ไม่ควรนาไปเจาะเหลก็ เพราะจะทาใหด้ อกสวา่ นชารุด

เครอ่ื งมือช่างพืน้ ฐานสาหรบั การวดั การตดั การยดึตดิ และการเจาะ เปน็ เครื่องมอื ที่ช่วยเพม่ิ ความสามารถในการทางาน ในการใชเ้ คร่ืองมือช่างพื้นฐานประเภทต่างๆต้องเลือกใช้ใหเ้ หมาะสมกับประเภทของงาน ใช้อย่างถกู ตอ้ งและคานึงถึงความปลอดภัยในการทางานเพ่ือปฏบิ ตั ิงานนอกจากต้องมคี วามรูอ้ ยา่ งดีจะตอ้ งเตรียมความพรอ้ มกอ่ นการลงมือปฏบิ ตั ิ โดยตรวจสอบความพรอ้ มของเคร่ืองมอื แตง่ กายใหเ้ หมาะสมกับงาน รวมท้งั สวมอุปกรณ์เพ่อื ป้องกันอนั ตรายดว้ ย ทง้ั นเ้ี พอื่ ใหส้ ามารถปฏบิ ัติงานได้อย่างปลอดภัยและชว่ ยให้การทางานมปี ระสทิ ธิภาพยงิ่ ขนึ้

ใบงาน 1 เร่อื ง เรียนรเู้ ครื่องมือชา่ งพื้นฐาน กับการใชง้ านในชวี ติ ประจาวนั คาชีแ้ จง จากภาพทกี่ าหนดใหใ้ ช้เครอื่ งมอื ชา่ งใดในการประกอบหรอื สร้าง เพราะเหตใุ ดจงึ ใชเ้ ครือ่ งมือชา่ งนน้ั และมลี ักษณะการใช้งานและข้อควรระวังในการใชอ้ ย่างไร

ใบงาน 2 เรอ่ื ง ช้นั วางหนงั สอื ของฉนั คาช้แี จง หากนกั เรียนตอ้ งการสร้างชนั้ วางท่ีสามารถ วางหนงั สือได้ 2 ช้ัน เพ่ือตัง้ บนโต๊ะในบา้ นนักเรยี นจะสรา้ งช้ันวางหนังสือแบบใด ลองออกแบบชนั้ วางหนงั สือ ของตวั เองและระบวุ ่าใช้วัสดแุ ละเครอื่ งมอื ชา่ งใด ในการสร้าง วัสดทุ ี่เลือกใช้มสี มบตั อิ ยา่ งไรเพราะเหตุใด จึงเลอื กใช้วัสดุและเครอ่ื งมอื ชา่ งนน้ั และข้อควรระวงั ในการใชเ้ ครือ่ งมอื ชา่ ง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook