Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานเรื่องความจำระยะยาว

รายงานเรื่องความจำระยะยาว

Published by NALINTHIP HONGTHONG, 2022-01-23 14:03:49

Description: รายงานเรื่องความจำระยะยาว

Search

Read the Text Version

ก คานา รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหน่ึงในรายวิชา PG 2114-63 วิชาจิตวิทยาการรู้คิด โดยมีจุดประสงค์ เพื่อ การศึกษาเกี่ยวกับ ความจาระยะยาว โดยหาข้อมูลและทฤษฎีมาวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้รับมา วิเคราะห์ความ เปน็ มาขอทฤษฎี ศึกษาแนวคดิ และทฤษฎที ่เี กีย่ วขอ้ ง ผจู้ ัดทาได้คัดสรรและเลอื กหวั ขอ้ รายงานนี้ เนื่องจากเปน็ ความรู้ใหม่ และเปน็ ที่น่าสนในชีวิตประจาวัน เนื่องจากปัจจุบันการกระทาของทุกพฤติกรรมก็มีส่วนของด้านความจามาเก่ียวข้อง รายงานฉบับน้ี จะทาให้ เข้าใจถึงความจาระยะยาวท่ีแท้จริง เพ่ือในอนาคตจะมีการศึกษาความรู้ทางด้านวิชาชีพ รายงงานฉบับน้ีจะ สามารถนาไปปรับใชไ้ ด้ รายงานฉบับน้ี สาเร็จสมบูรณ์ด้วยดี คณะจัดทาขอขอบคุณ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ทัศนีย์ บุญแรง ผู้ให้ ความรู้และแนวทางการศึกษา คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างย่ิงว่า รายงานฉบับนี้ จะให้ความรู้และประโยชน์แก่ ผอู้ า่ น หากมขี ้อผดิ พลาดประการใด ขออภัย ณ ทน่ี ้ี คณะผู้จดั ทา

สารบญั 1 เร่ือง หน้า ทกั ษะความจาระยะยาว 1 ความจาระยะยาว แบบจาลองความจา 4 5 แบบจาลองของ Atkinson-Shiffrin แบบจาลองความจาใช้งาน 6 ประเภทความจา 6 การจดั ประเภทโดยประเภทขอ้ มูล 7 ความจาเชงิ ประกาศ ความจาเชงิ กระบวนวิธี 10 วธิ กี ารพฒั นาทกั ษะความจาระยะยาว 10 การฝกึ ฝน 10 ระยะเวลา บริบท 15 ทฤษฎีท่เี กย่ี วข้อง ทฤษฎคี วามจาสองกระบวนการ 16 งานวิจัยท่เี ก่ยี วขอ้ ง การวจิ ยั เร่ืองความสมั พันธ์ระหว่าง ความสามารถด้านความจากบั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน

1 ทกั ษะความจาระยะยาว ความจาระยะยาว ( Long-Term Memory ) ความจาระยะยาว (Long-Term Memory) เปน็ หนว่ ยความจาท่ีเปรียบเสมือนคลงั ข้อมูล สามารถ เก็บข้อมลู ได้ไมจ่ ากัด เปน็ ระยะเวลานาน ความจาชนดิ นี้สามารถแบ่งแยกย่อยได้อกี คือ ความจาท่ีสามารถเรียก คนื กลบั โดยอัตโนมัติ (Non-Declarative / Implicit Memory) ซงึ่ ได้มาจากการฝึกทาซ้าๆ เชน่ การปน่ั จกั รยาน, การขับรถ เป็นต้น ความจาอีกชนดิ คือ ความจาท่ีเรยี กคืนโดยใชค้ วามคดิ ระดบั สงู (Declarative / Explicit Memory) ซงึ่ ตอ้ งอาศยั ประสบการณ์และความเขา้ ใจของบคุ คลนัน้ ๆ เช่น การจดจาชอ่ื คนใน ครอบครวั , การหาของทีห่ าย, ความรรู้ อบตัว, การจดจาอดีตหรอื สิ่งทเี่ คยทา ได้เป็นเวลาหลายเดือนหรือหลาย ปี เป็นตน้ การทเ่ี ราจะสามารถจาขอ้ มูลตา่ งๆไดน้ นั้ เราต้องเลอื กสนใจ ใช้การจดจ่อกบั ข้อมลู นน้ั กอ่ นและต้องมี การนึกหรอื ทาซ้าๆ ข้อมลู น้ีจึงจะเกบ็ อย่ใู นความจาระยะยาว หากทักษะด้านความจาระยะยาว (Long-Term Memory) อ่อนหรือบกพร่อง จะทาให้ - นกึ ข้อมลู หรือคาศัพท์ไม่ค่อยออก - ตอ้ งอาศยั การทาซา้ หรือพูดซา้ ๆจึงจะจาได้ - มกั จะนกึ คาศัพท์ที่เฉพาะไม่คอ่ ยออก ตอ้ งใช้การอธิบาย มกั มีอาการ คาพูดตดิ อยู่ทปี่ ลายลน้ิ

1 การเกบ็ ความจาอาศยั ความรู้สกึ และความจาระยะสัน้ ท่วั ๆ ไปแล้วมีขนาดและระยะเวลาจากดั ซง่ึ ก็ หมายความวา่ ไม่สามารถรักษาข้อมูลไวไ้ ดต้ ลอดชัว่ กาลนาน โดยเปรยี บเทยี บแลว้ ความจาระยะยาวมีขนาด ใหญ่กว่าเพื่อบรรจขุ ้อมลู ที่อาจไม่จากดั เวลา (เช่นรักษาไวไ้ ด้จนตลอดชวี ติ ) ขนาดความจาระยะยาวมีขนาดใหญ่ จนวัดไม่ได้ ยกตวั อยา่ งเช่น ถ้าให้เลข 7 หลกั โดยส่มุ เราอาจจะจาไดเ้ พียงแค่ 2-3 วินาทกี ่อนที่จะลืม ซงึ่ บอก เป็นนยั วา่ เกบ็ อยใู่ นความจาระยะสัน้ ของเรา เปรยี บเทียบกับเบอรโ์ ทรศัพทท์ ่ีเราอาจจะจาได้เป็นเวลาหลาย ๆ ปผี ่านการทอ่ งและการระลึกถึงซา้ ๆ ขอ้ มลู นีจ้ งึ เรียกวา่ เก็บอยู่ในความจาระยะยาว เปรยี บเทยี บความจาระยะสนั้ ท่เี ขา้ รหสั ข้อมูลโดยเสยี งความจาระยะยาวเข้ารหัสข้อมลู โดยความหมาย (semantic) ในปี ค.ศ 1966 แบ็ดเดลีย์ พบว่า หลังจาก 20 นาที ผูร้ ่วมการทดลองมปี ญั หาในการจากลุ่มคาท่ีมี ความหมายคล้าย ๆ กัน (เช่นบ๊ิก ใหญ่ โต) ในระยะยาว ส่วนความจาระยะยาวอีกอย่างหนง่ึ ก็คือ \"ความจา อาศัยเหตุการณ์\" (episodic memory) \"ซ่งึ เปน็ การพยายามเก็บข้อมูลเก่ยี วกับ 'อะไร' 'เมื่อไร' และ 'ที่ไหน'\" เปน็ ความจาที่เราสามารถระลึกถงึ เหตุการณเ์ ฉพาะตา่ ง ๆ เช่นงานเล้ียงวนั เกดิ หรืองานแตง่ งาน ความจาระยะส้นั มมี ูลฐานเป็นรปู แบบการสอื่ สารในเซลลป์ ระสาทแบบช่ัวคราว โดยอาศัยเขตต่าง ๆ ในสมอง กลีบหนา้ (โดยเฉพาะ dorsolateral prefrontal cortex) และในสมองกลบี ขา้ ง เปรยี บเทียบกับความจาระยะ ยาว ซง่ึ อาศยั การเปลีย่ นแปลงทม่ี ีเสถยี รภาพและถาวรโดยการเช่อื มต่อทางเซลล์ประสาทท่ีกระจายไปอยา่ ง กวา้ งขวางในสมอง ฮิปโปแคมปัสเป็นส่วนทข่ี าดไม่ไดใ้ นการทาความจาระยะสั้นให้กลายเป็นความจาระยะยาว (ซง่ึ เป็นสง่ิ จาเป็นในการเรียนรู้ขอ้ มูลใหม่ ๆ) เป็นกระบวนการทีเ่ รยี กวา่ \"การทาความจาให้ม่นั คง\" (consolidation) แม้วา่ ตวั เองจะไม่ใช่เป็นส่วนท่ีเกบ็ ขอ้ มูลนน้ั ไว้เอง แต่ถ้าไม่มีสว่ นน้ีของสมอง ความจาใหม่ ๆ จะไมส่ ามารถเกบ็ ไวใ้ นความจาระยะยาว ดังทีพ่ บในคนไขเ้ ฮ็นร่ี โมไลสันหลงั จากท่ีเขาผ่าตัดเอาฮปิ โปแคมปัส ท้ังสองซีกออก และจะไม่สามารถใสใ่ จอะไรไดน้ าน ๆ (คือมีสมาธสิ ้นั ) นอกจากน้ันแลว้ สมองส่วนนอ้ี าจมี บทบาทในการเปลย่ี นการเชื่อมตอ่ ทางประสาทในชว่ งเวลา 3 เดือนหรอื มากกวา่ นนั้ หลงั จากเกดิ การเรียนรู้ เหตกุ ารณน์ ้ัน ๆ สงิ่ ที่เชื่อกันวา่ เปน็ หน้าท่หี ลกั ๆ ของการนอนหลบั ก็คือ ทาข้อมลู ท่ีได้เรียนรู้นน้ั ให้มัน่ คง (consolidation) ไดด้ ี ขึน้ เพราะว่า งานวจิ ัยหลายงานได้แสดงว่าความจาท่ดี ขี ึน้ อยู่กับการหลบั นอนทเ่ี พียงพอในชว่ งระหว่างการเรียน และการทดสอบความจา นอกจากน้นั แล้ว ข้อมลู ท่ีไดจ้ ากงานวิจัยหลายงานทใี่ ช้การสร้างภาพในสมอง (neuroimaging) แสดงรปู แบบการทางานในสมองในขณะนอนหลับท่ีเหมือนกับชว่ งการเรยี นรูง้ านนน้ั ๆ ในวัน ก่อน ซง่ึ บอกเปน็ นยั ว่า ความจาใหม่ ๆ อาจเกดิ การทาให้มั่นคงผา่ นการเลน่ ซ้า (rehearsal) งานวจิ ัยหน่งึ เสนอว่าการเก็บความจาระยะยาวในมนุษย์อาจจะมีการรักษาไว้โดยกระบวนการDNA methylation (เป็นกระบวนการชีวเคมที ีเ่ ติมกล่มุ Methyl หนึง่ ลงใน cytosine DNA nucleotides หรอื adenine DNA nucleotides) หรือผา่ นตัวพรีออน

1 แบบจาลองความจา แบบจาลองของความจาความจาหลายอย่างแสดงรูปแบบต่าง ๆ ทเี่ ชอื่ กันวา่ เปน็ กระบวนการทางาน ของความจา ต่อไปนเ้ี ป็นแบบจาลองต่าง ๆ ที่ไดร้ บั การเสนอโดยนักจติ วทิ ยาหลายท่าน แต่ก็มีข้อถกเถียงดว้ ย วา่ มีโครงสร้างตา่ ง ๆ ทางประสาทของความจาเหมือนแบบเหล่านจ้ี รงิ ๆ หรอื ไม่ แบบจาลองของ Atkinson-Shiffrin ในปี ค.ศ. 1968 ริชารด์ แอต็ กนิ สนั และริชารด์ ชรฟิ ฟรนิ ได้เสนอแบบจาลอง multi-store model (แบบจาลองความจามหี ลายที่เก็บ) หรอื Atkinson-Shiffrin memory model ซ่งึ ต่อมาไดร้ บั การวจิ ารณว์ ่า ง่ายเกินไป ยกตัวอย่างเชน่ ความจาระยะยาวเชื่อกันว่า ประกอบด้วยส่วนประกอบตา่ ง ๆ เชน่ ความจาอาศยั เหตกุ ารณ์ (episodic memory) และความจาเชิงกระบวนวธิ ี (procedural memory) นอกจากน้ันแล้ว แบบจาลองยงั เสนอว่าการฝึกซอ้ ม (rehearsal) เป็นกลไกเดียวทข่ี อ้ มลู ตา่ ง ๆ รบั การบันทกึ ในที่เก็บความจา ระยะยาว แต่กลับมหี ลักฐานท่ีแสดงวา่ เราสามารถจาส่ิงต่าง ๆ ไดโ้ ดยไม่ตอ้ งฝึกซ้อม (หรอื ทอ่ งจา) แบบจาลอง ยังแสดงด้วยว่า ที่เกบ็ ความจาทกุ ส่วนเป็นหน่วย ๆ เดยี วเปรยี บเทยี บกบั ผลงานวจิ ัยท่ีต่างไปจากน้ี ยกตวั อยา่ ง เชน่ ความจาระยะส้ันสามารถแบ่งออกเปน็ หน่วยต่าง ๆ เช่นขอ้ มูลการเหน็ และข้อมลู เสียง งานวจิ ัยในปี ค.ศ. 1986 พบวา่ คนไข้เรียกว่า 'KF' มคี วามสามารถที่ไม่เขา้ กับแบบจาลองของ Atkinson- Shiffrin คือคนไข้มีสมองเสยี หาย มีปญั หาหลายอยา่ งเก่ียวกับความจาระยะสน้ั คือ การรูจ้ าเสยี งต่าง ๆ เช่นที่ เกี่ยวกบั เลข อกั ษร คา และเสียงทค่ี วรจะระบไุ ด้อย่างง่าย ๆ (เช่นเสยี งกระด่ิงประตูและเสยี งแมวรอ้ ง) เกดิ ความเสยี หาย แต่ทีน่ า่ สนใจก็คอื ความจาระยะสน้ั เก่ยี วกบั การเหน็ ไม่เกิดความเสียหาย ซึ่งบอกเป็นนัยของ ความแยกออกเปน็ สองส่วนระหว่างความจาเกย่ี วกับการเห็นและเกย่ี วกับการไดย้ ิน

1 แบบจาลองความจาใช้งาน ในปี ค.ศ. 1974 แบ็ดเดลีย์และฮิตช์เสนอ \"แบบจาลองความจาใชง้ าน\" (working memory model) ซง่ึ แทนทห่ี ลักท่วั ไปของความจาระยะส้ันว่า เปน็ การรักษาขอ้ มูลอยา่ งแอ๊กถีฟในที่เกบ็ ความจาระยะสั้น ใน แบบจาลองน้ี ความจาใชง้ านมที ี่เก็บ 3 อย่าง คือ central executive (สว่ นบรหิ ารกลาง) phonological loop (วงจรเสียง) และ visuo-spatial sketchpad (สมุดร่างเกีย่ วกับการเห็น-พืน้ ท่ี) ในปี ค.ศ. 2000 แบด็ เด ลยี เ์ ติมส่วน multimodal episodic buffer (ที่พกั เหตุการณจ์ ากประสาทสมั ผัสต่าง ๆ) เข้าไปเพิ่ม - ส่วน central executive เปน็ ศูนยค์ วบคมุ การใสใ่ จ โดยทาหน้าทสี่ ง่ ข้อมลู ไปยงั สว่ นประกอบต่าง ๆ คือ phonological loop, visuo-spatial sketchpad, และ episodic buffer - ส่วน phonological loop เกบ็ ข้อมลู โดยฝึกซ้อมเสียงหรือคาตา่ ง ๆ เปน็ วงวนกนั อยา่ งต่อเน่ือง ซง่ึ ก็ คือ articulatory process (กระบวนการออกเสียง) ยกตวั อย่างเชน่ การทอ่ งเบอรโ์ ทรศัพท์ซ้าและซา้ อีก ดังนนั้ ข้อมูลมจี านวนไม่มากจึงงา่ ยกวา่ ท่จี ะจาได้ - ส่วน visuospatial sketchpad เกบ็ ขอ้ มลู ทางตาและเก่ียวกบั พื้นที่ ซึ่งต้องใช้ในการทางานเกี่ยวกับ พ้นื ที่ (เชน่ การกะระยะทาง) หรือเกีย่ วกับตา (เช่นการนบั จานวนหนา้ ตา่ งในบ้านหรอื ในการ จินตนาการภาพ) - สว่ น episodic buffer ทาหนา้ ทเี่ ช่ือมข้อมูลจากระบบตา่ ง ๆ เพ่ือรวมข้อมลู ทั้งทางตา ทางพนื้ ที่ ทางการพดู และทางลาดบั กาลเวลา (เช่น ความทรงจาเกย่ี วกับเหตุการณ์ของเรื่องหนึ่ง ๆ หรือ เก่ียวกบั ตอนหน่ึง ๆ ของภาพยนตร์) นอกจากน้ันแล้ว สว่ นน้ยี งั สมมตวิ ่า มีการเช่อื มต่อกันกบั ความจา ระยะยาว และความจาอาศัยความหมายอกี ด้วย แบบจาลองความจาใชง้ านสามารถใชอ้ ธิบายปรากฏการณ์หลายอย่างในชวี ิต เชน่ ทาไมจึงทางานสอง งานท่ีต่าง ๆ กัน (เชน่ งานหน่งึ เก่ียวกับการพดู และอีกงานหนงึ่ เกยี่ วกบั การเหน็ ) พรอ้ ม ๆ กนั ง่ายกว่า ทางานสองงานท่ีคล้าย ๆ กัน (เช่นเกย่ี วกับการเหน็ เหมือนกัน) และขนาดจากัดของความจาใช้งานดงั ท่ี กล่าวมาแล้ว อย่างไรก็ดี ไอเดยี เก่ียวกับ central executive ดงั ที่กล่าวมานี้ไดร้ ับคาวจิ ารณว์ ่ายงั ไม่ สมบูรณ์และคลมุ เครือเกินไป[ตอ้ งการอา้ งองิ ] ความจาใช้งานเปน็ ส่ิงทเี่ ชื่อว่าจาเป็นในการทากิจใน ชวี ติ ประจาวันที่ตอ้ งอาศัยความคิด เปน็ ระบบความจาท่ีตอ้ งใช้ในกระบวนการความคิด เป็นกระบวนการท่ี เราใชเ้ พื่อการเรียนรู้หรอื การคดิ หาเหตผุ ลเกี่ยวกับประเดน็ ตา่ ง ๆ

1 ประเภทความจา นักวิจยั แยกแยะระหว่างความจาโดยรู้จา (recognition memory) และความจาโดยระลกึ (recall memory) งานเกย่ี วกับความจาโดยรจู้ าจะใหผ้ ู้ร่วมการทดลองบอกว่าเคยไดพ้ บสงิ่ เร้าหนึ่ง ๆ เช่นรูปภาพหรอื คาศัพท์ มาก่อนหรือไม่ ส่วนงานเกย่ี วกบั ความจาโดยระลกึ จะใหผ้ ูร้ ่วมการทดลองค้นคนื ข้อมลู ที่ได้เรยี นรู้ มาแล้ว ยกตวั อย่างเชน่ อาจจะใหแ้ สดงพฤติกรรมตา่ ง ๆ ทไ่ี ด้เหน็ มาก่อน หรือกลา่ วถึงรายการคาศัพท์ที่ได้ยิน มาก่อน การจดั ประเภทโดยประเภทข้อมลู \"ความจาอาศยั ภูมิประเทศ\" (Topographic memory) เป็นความสามารถในการกาหนดตาแหนง่ ของตน ในพืน้ ที่ ในการรู้จาและดาเนินไปตามเส้นทาง หรือในการรจู้ าสถานทีท่ ีค่ นุ้ เคย การหลงทางเมื่อเดนิ ทางไปตาม ลาพงั เป็นตวั อยา่ งหนึง่ ข้อความลม้ เหลวของความจาอาศัยภูมปิ ระเทศ \"ความจาแบบหลอดแฟลช\" (Flashbulb memories) เป็นความจาอาศยั เหตกุ ารณ์ (episodic memory) ท่ีชดั เจนเกย่ี วกบั เหตกุ ารณท์ ่ีพเิ ศษและประกอบดว้ ยอารมณ์ความรู้สกึ สงู ตัวอย่างเชน่ การจาได้วา่ ตนอยูท่ ่ีไหนทาอะไรอยเู่ มื่อได้ยนิ ขา่ วการลอบสังหารประธานาธบิ ดจี อหน์ เอฟ. เคนเนดี หรือข่าววนิ าศกรรม 11 กันยายน พ.ศ. 2544 เปน็ ตวั อยา่ งของความจาแบบหลอดแฟลช ในปี ค.ศ. 1976 นักจิตวิทยาจอห์น รอเบริ ต์ แอนเดอร์สนั ได้แบง่ ความจาระยะยาวออกเปน็ ความจาเชิง ประกาศ (declarative หรอื explicit memory) และความจาเชงิ กระบวนวิธี (procedural หรอื implicit memory) ความจาเชิงประกาศ ความจาเชิงประกาศน้นั กาหนดดว้ ยการต้องระลึกถึงภายใตอ้ านาจจติ ใจ (เหนอื สานกึ ) คือมีกระบวนการ ประกอบดว้ ยความสานึกท่ีคน้ คนื ข้อมลู ทต่ี ้องการทจ่ี ะค้นคืน เป็นระบบทบี่ างครั้งเรียกวา่ ความจาชดั แจ้ง (explicit memory) เพราะเป็นข้อมลู ทีต่ อ้ งจาและค้นคืนอยา่ งเปดิ เผยชัดแจ้ง (ท้งั ต่อตนเองและผู้อน่ื ) ความจาชดั แจ้งสามารถแบ่งประเภทย่อย ๆ ออกเปน็ ความจาอาศยั ความหมาย (semantic memory) ซง่ึ เป็นความจาเก่ียวกับความจริงต่าง ๆ ทไ่ี มเ่ ก่ยี วกบั เหตุการณ์และสง่ิ แวดล้อม และความจาอาศัยเหตุการณ์ (episodic memory) ซ่งึ เปน็ ความจาเก่ียวกับข้อมูลท่ีเชือ่ มกับเหตุการณส์ ง่ิ แวดล้อมเชน่ เวลาและสถานท่ี ความจาอาศัยความหมายทาให้เกิดการเขา้ รหัสความรเู้ ชงิ นามธรรมตา่ ง ๆ เกยี่ วกบั โลกได้ เชน่ ความรวู้ ่า \"กรุง

1 ปารีสเปน็ เมืองหลวงของประเทศฝรัง่ เศส\"เปรียบเทยี บกับความจาอาศัยเหตุการณ์ซ่ึงใช้ในเร่ืองความจาเกยี่ วกับ ตนเอง เชน่ ความรสู้ กึ ทางประสาทสมั ผสั อารมณค์ วามรูส้ ึก และความสัมพันธ์ท่ีเป็นอัตวิสยั ของสงิ่ นัน้ กบั สถานท่ีและเวลาโดยเฉพาะ ๆ สว่ น \"ความจาอาศยั อตั ชีวประวตั \"ิ (Autobiographical memory) เปน็ ความจาสาหรบั เหตกุ ารณเ์ ฉพาะ ๆ ในชีวติ ของตน ซึง่ มองว่าเทียบเทา่ กับ หรอื เปน็ สว่ นของความจาอาศยั เหตกุ ารณ์ ส่วน \"ความจาทางตา\" (Visual memory) เปน็ สว่ นของความจาทเี่ ก็บลักษณะบางอยา่ งของความรูส้ ึกทางประสาทสมั ผัสเกี่ยวกับ ประสบการณ์ทางตา ดังนน้ั เราจงึ สามารถเก็บไว้ในความจาขอ้ มลู ที่เหมอื นกับวตั ถุ สถานท่ี สัตว์ หรือบคุ คล ตา่ ง ๆ ในรปู แบบของมโนภาพ (mental image) ความจาทางตาเปน็ เหตุของปรากฏการณ์ priming (คือการ รับรู้ทไ่ี วขน้ึ เมื่อเคยเห็นส่งิ น้ันมาก่อน แม้ว่าอาจจะเหน็ โดยไมม่ ีความสานึก) โดยมสี มมติฐานวา่ มีระบบทาง ประสาทท่ีเป็นตัวแทนสง่ิ ทร่ี ับรู้ (perceptual representational system) ทีเ่ ปน็ มลู ฐานของปรากฏการณ์น้ี ความจาเชงิ กระบวนวธิ ี โดยเปรียบเทยี บกนั แล้ว ความจาเชิงกระบวนวิธี (procedural memory) หรือความจาโดยปรยิ าย (implicit memory) ไม่ใชเ่ ป็นการระลึกถึงข้อมูลภายใต้อานาจจติ ใจ แต่เปน็ การระลึกถึงข้อมูลท่ไี ดเ้ รยี นรู้โดย ปรยิ าย (implicit learning) คือการเรียนรูท้ ่ีเกิดขึน้ โดยอัตโนมตั แิ ม้อาจจะจาเหตุการณ์เกยี่ วกับการเรยี นนั้น ไมไ่ ด้ ความจาเชิงกระบวนวธิ เี ป็นความจาที่ใช้ในการเรียนรู้ทกั ษะการเคลอ่ื นไหว (motor skill) และพจิ ารณา ว่า เปน็ ส่วนของความจาโดยปรยิ าย ความจานีจ้ ะปรากฏกต็ ่อเมื่อเราสามารถทางานหนึง่ ๆ ได้ดีขึ้นเพราะทา บ่อย ๆ แม้ว่าอาจจะไม่มคี วามจาชดั แจง้ เก่ียวกับการฝกึ ซ้า ๆ กนั นั้น เพราะการเข้าถงึ ทกั ษะที่ได้เรียนรู้ใน ประสบการณ์คร้ังก่อน ๆ เป็นไปโดยไม่ไดอ้ ยู่ใต้อานาจจติ ใจ ความจาเชิงกระบวนวิธที ีม่ ีบทบาทในการเรยี นรู้ ทกั ษะการเคลื่อนไหว ตอ้ งอาศัยสว่ นตา่ ง ๆ ในสมองรวมทั้งซีรเี บลลัมและ basal ganglia ลกั ษณะหนึง่ ของความจาเชิงกระบวนวธิ กี ค็ ือทกั ษะท่ีจาได้จะเปลี่ยนไปเป็นการกระทาอัตโนมตั ิ และดังน้ัน จึงเป็นระบบความจาทย่ี ากท่ีจะอธิบายหรอื กาหนด ตวั อยา่ งของความจาอย่างน้ีรวมทั้งความสามารถในการขี่ จักรยานหรือการผูกเชอื กรองเทา้ (ที่เมื่อชานาญแล้วสามารถทาไดโ้ ดยอัตโนมตั โิ ดยท่ีไม่ต้องใส่ใจในการกระทา โดยมาก)

1 วิธกี ารพัฒนาทกั ษะความจาระยะยาว เราสามารถพฒั นาทักษะดา้ นความจาระยะยาว (Long-Term Memory) ไดด้ ว้ ยโปรแกรมฝกึ สมอง ซง่ึ Brain and Life Center มโี ปรแกรมสาหรับการฝึกสมองท่จี ะชว่ ยเพิ่มประสทิ ธิภาพและสมรรถนะการ เรียนรู้ของสมองอย่างครอบคลุมในทุกๆดา้ น หลายคนอาจมีความทรงจาทไ่ี มด่ ใี นอดีตแต่ไม่อาจลมื ได้ หลายคนมคี วามทรงจาท่ดี ีๆ แต่ดนั ลมื ไปแล้ว หรอื อาจจะคลับคลา้ ยคลบั คลาว่าเคยมี ตอ้ งมีอะไรมากระตนุ้ หรอื ไปอยใู่ นเหตุการณ์ใดเหตกุ ารณห์ นง่ึ ถึงจาได้ เรือ่ งราวความทรงจาเหลา่ นีเ้ กยี่ วข้องกบั การทางานของสมองของเราโดยตรงท่ีออกแบบมาให้เพ่ือเรียนรู้และ จดจาสง่ิ ต่างๆ มากมายสารพัด เราในฐานะ UI designer เลยจงึ จาเปน็ ต้องรถู้ ึงเรอื่ งน้ีด้วยเพื่อออกแบบ interface ท่ีสอดประสานกบั การทางานของสมองของมนุษย์ โดยทัว่ ไป นกั จิตวิทยาจะแบ่งวธิ ีการทางานของสมองเรอื่ งการจดจาออกเป็น 2 แบบใหญ่ๆ คือ 1. การเรยี กความทรงจาจากหนว่ ยความจาระยะยาว (recall) 2. การเรียกความทรงจาจากหน่วยความจาระยะส้นั (recognition) การเรียกความทรงจาจากหนว่ ยความจาระยะยาว (recall) จะเปน็ การเรียกข้อมลู ความทรงจาทีจ่ าเป็นต่อการดารงชีวิตประจาวันหลกั หรอื เปน็ ข้อมูลที่เราต้องใช้ งานอยูบ่ ่อยครั้ง เชน่ ชอ่ื ตัวเอง, ทักษะอาชพี , ทอ่ี ยู่ เป็นต้น เราอาจบอกว่านค่ี ือ การจดจาได้

1 ส่วนการเรยี กความทรงจาจากหน่วยความจาระยะส้นั (recognition) จะเปน็ การเรียกความทรงจาจากเหตุการณ์ทเี่ พง่ิ ประสบผ่านมา หรอื เกดิ นานแล้วแต่ไม่ค่อยได้ใช้งาน ความทรงจานนั้ เช่น การพยายามนึกชื่อเพ่อื นรว่ มชัน้ สมยั ประถม การคุ้นหน้าคนที่เราเดินผา่ น เป็นต้น พฤติกรรมเช่นนี้กค็ ือ การนึกข้ึนได้ ในกระบวนการออกแบบ UI เราจะเลน่ กบั หน่วยความจาระยะสน้ั เปน็ ส่วนใหญ่ เพราะเราสนั นษิ ฐาน ว่า ผ้ทู ีเ่ ขา้ มาใชเ้ ว็บ/app ของเราในคร้งั แรกต้องสามารถใชง้ านไดห้ รือบรรลุวัตถปุ ระสงค์ในสิ่งทเี่ ค้าตอ้ งการ และเพราะเปน็ หน่วยความจาระยะสนั้ ทาให้การจดจาของยูสเซอรม์ ขี ีดจากัด (limited memory) หนว่ ยความทรงจาระยะสน้ั เป็นส่งิ ทม่ี นุษยเ์ ราสามารถนาขอ้ มลู ออกมาใชง้ านไดเ้ ร็วที่สุด แต่ใน ขณะเดยี วกันมันก็สามารถถกู ลมื เลอื นได้อย่างรวดเรว็ เช่นกัน เพราะมนั มีขดี จากัดในการจดจา ยกตัวเช่น หาก ให้เราทาข้อสอบ ก ข ค ง (ปรนยั ) กับ ข้อสอบเขียนตอบ (อตั นยั ) เราจะรู้สกึ ว่าข้อสอบปรนยั จะง่ายกว่า ข้อสอบอัตนัย เหตุเพราะ ข้อสอบปรนยั มีขอ้ มลู ท่ีจะไปชว่ ยกระตุน้ หน่วยความทรงจาระยะสน้ั (อ่านหนังสอื ก่อนสอบไงล่ะ) แต่หากเราจะทาข้อสอบอตั นยั ใหไ้ ด้ดี เรากต็ ้องฝึกทาโจทยบ์ ่อยๆ อ่านบ่อยๆ เพอ่ื ให้ขอ้ มูลไป เก็บไว้ท่ีหน่วยความทรงจาระยะยาว ใหม้ ันถูกเรียกใช้บ่อยๆ สรุปแลว้ หลกั เบอื้ งตน้ ของการจาสง่ิ ใดสิง่ หนึ่งไดด้ ีหรือไม่ ขึ้นอยู่กับปจั จยั หลกั ๆ 3 ข้อ ได้แก่ 1. การฝึกฝน (practice) 2. ระยะเวลา (recency) 3. บรบิ ท (context)

1 การฝกึ ฝน (practice) หากเรามกี ารใชห้ น่วยความจาน้นั อยู่บ่อยครั้ง กม็ ีโอกาสวา่ เราจะจดจาเร่ืองนั้นได้ดี เช่น การฝกึ วาด รปู เรยี นภาษา หากทาบอ่ ยๆ แล้วก็จะเกิดความชานาญจนกลายเป็นความถนัด เพราะทักษะไดฝ้ งั เข้าไปอยู่ใน หนว่ ยความจาระยะยาว แตก่ ารฝกึ ฝนไม่ใชแ่ คเ่ ราเปน็ คนกระทาเทา่ นั้น แต่ยงั หมายรวมถึงผู้อืน่ มากระทาต่อ เราด้วย เช่น เราสามารถจาชื่อเราได้ดี เพราะพ่อแม่เราเรยี กชือ่ เราบ่อยๆ ระยะเวลา (recency) เหตุการณ์ที่พงึ่ ผ่านไปได้ไมน่ าน เรามกั จะจดจาไดด้ ี และเมื่อเวลาผา่ นไปวนั สองวนั เราก็อาจจะลมื เลอื นเรื่องนนั้ ดงั นั้นเราจงึ ตอ้ งกระตุ้นความทรงจาท่ีเราไดเ้ รียนรู้และอยากจดจาผา่ นการฝกึ ฝนบ่อยๆ เหมอื นกบั ข้อแรก เพือ่ ใหม้ ันเกิดขึน้ ซ้าๆ ทุกวันๆ จนสมองเรารับรวู้ ่ามันเปน็ ประสบการณ์ทีพ่ ึ่งเกิดข้นึ ไม่นาน ทาใหก้ ารเรียกใชห้ น่วยความทรงจาง่ายและรวดเรว็ ขึน้ บริบท (context) แต่อยา่ งไรก็ตาม 2 วิธีการแรกเป็นวิธีทใี ช้พลังมากในการจดจาเรอื่ งใดเร่ืองหนึ่งใหไ้ ด้แม่น แตก่ าร จดจาโดยมีตัวเชอ่ื ม (association) จะชว่ ยเพม่ิ ประสิทธภิ าพในการจดจาไดเ้ ปน็ อย่างดี หากเราเคยเขา้ คอร์ สฝึกการจา เราจะพบวา่ ผู้สอนจะบอกเคลด็ ลับการจาชื่อส่งิ ของต่างๆ โดยการพยายามให้เรานาสงิ่ ของ เหล่านัน้ ผูกหรือแต่งเปน็ เร่อื งราว ตัวเรอ่ื งราวน่เี องครับ คือ บริบท เชน่ ผมบอกใหจ้ าคาว่า ลิง. กระต่าย. แม่น้า. กล้วย. รถยนต์ หรอื จาภาพด้านลา่ งด้วยเวลา 1 วนิ าที

1 และเทียบกบั หากเราสร้างบริบทใหเ้ ป็น “วันหน่งึ มีลงิ กาลังกินกลว้ ยอย่ขู ้างแมน่ ้า เจ้ากระตา่ ยทย่ี นื อยูบ่ น รถยนตก์ เ็ กิดอยากกินดว้ ย” หรือจาภาพด้านล่าง จะเห็นว่าเราจดจาภาพหรือเร่ืองราวท่ีมีบริบทได้ดีกวา่ แบบแรกเยอะเลยใช่ไหมครบั เพียงแค่ 1 วิ ก็จาได้แลว้ น่ีจึงเป็นตัวอย่างที่มอี ยู่บ่อยครงั้ ที่เราพยายามนกึ อะไรสกั อยา่ ง ถ้าหากมีคยี ์เวิรด์ ที่ไปเชอื่ มต่อกบั สิ่งที่ เรากาลงั นกึ กจ็ ะไปปลุกความทรงจาท่ีหลับอยแู่ ละทาให้เรารอ้ งอ๋อขน้ึ มาทนั ที ตัวบริบทมันมอี ยู่แลว้ แตร่ อเรา ไปสรา้ งทางเชื่อมกับส่งิ ท่เี ราต้องการจดจาเทา่ นนั้ เองครบั ความทรงจาท่ีไดม้ าจากบริบทเป็นสิง่ ทีม่ กั จะถูกนาไปใช้เพ่ือแกป้ ญั หาหรือสรา้ งสรรคส์ ่ิงใหมๆ่ ดงั น้ัน คนทีไ่ ดเ้ จอเหตุการณม์ าเยอะ (พบเจอบรบิ ทต่างๆ นานา) จึงไม่แปลกที่เค้าจะมีความทรงจาท่ีพรอ้ มจะ แกป้ ญั หาได้มากกว่าคนท่ไี มค่ ่อยจะทาอะไรเลย ถงึ ตรงนีแ้ ลว้ ผมยังไมไ่ ด้กลา่ วถึงวา่ เรอ่ื งความทรงจามนั จะเกีย่ วข้องกบั การออกแบบ UI อยา่ งไรเน่ีย ไวร้ ออ่านต่อตอนท่ี 2 สว่ นตอนนี้ ผมขอสรปุ ส้ันๆ เพื่อปพู ้ืนไปตอนต่อไปวา่ ต้องสนับสนนุ หนว่ ยความจาระยะ ส้ัน (recognition) มากกวา่ หนว่ ยความจาระยะยาว (recall)

1 การนอน บางทฤษฎีถอื วา่ การนอนหลับเป็นปจั จัยสาคัญในการสรา้ งความทรงจาระยะยาวทีม่ ีการจัดระเบยี บ อยา่ งดี (ดูการนอนหลับและการเรยี นร้ดู ว้ ย) การนอนหลับมีหนา้ ทสี่ าคัญในการรวบรวมความทรงจาใหม่ ๆ ตามทฤษฎขี อง Tarnow ความทรงจาระยะยาวจะถกู เกบ็ ไวใ้ นรูปแบบความฝัน (ชวนให้นกึ ถึงการคน้ พบของ Penfield & Rasmussen วา่ การกระต้นุ ด้วยไฟฟ้าของเย่ือห้มุ สมองทาใหเ้ กิดประสบการณค์ ล้ายกับความฝนั ) ในชว่ งชีวิตต่นื ฟงั กช์ ันผู้บรหิ ารจะตีความความทรงจาระยะยาวทส่ี อดคลอ้ งกบั การตรวจสอบความเป็นจรงิ (Tarnow 2003) มีการเสนอเพม่ิ เติมในทฤษฎที ่ีวา่ ขอ้ มลู ท่ีเก็บไว้ในหน่วยความจาไมว่ ่าจะเรยี นรู้อยา่ งไรก็ สามารถสง่ ผลตอ่ ประสทิ ธิภาพของงานใดงานหน่งึ โดยท่ีผู้ทดลองไมท่ ราบวา่ กาลังใชห้ น่วยความจานี้อยู่ เช่ือกนั ว่าร่องรอยความทรงจาท่ีเปดิ เผยท่ไี ดม้ าใหมจ่ ะเปดิ ใช้งานอีกครั้งในระหว่างการนอนหลบั แบบ NonREM เพอื่ ส่งเสริมการถ่ายโอน hippocampo-neocortical สาหรบั การจัดเกบ็ ระยะยาว [14]โดยเฉพาะอย่างย่งิ ความ ทรงจาท่ีเปดิ เผยใหม่จะจาได้ดีกว่าหากจาได้ว่าเปน็ ไปตามข้ันตอนท่ีการนอนหลับท่ีไมเ่ คล่ือนไหวตาอย่าง รวดเรว็

1 แบบจาลองความจา รูปแบบหน่วยความจาแบบ Dual-store ตามรายงานของมิลเลอร์ซ่งึ บทความในปพี . ศ. 2499 ได้เผยแพรท่ ฤษฎ\"ี เวทมนตร์หมายเลขเจด็ \"ความจา ระยะสนั้ ถูกจากัด ไว้ท่ขี ้อมลู จานวนหนึ่งในขณะทห่ี น่วยความจาระยะยาวมีทเี่ กบ็ ข้อมลู ที่ไม่จากดั แบบจาลองหน่วยความจา Atkinson – Shiffrin ตามแบบจาลองหนว่ ยความจาแบบ dual store ที่เสนอโดยRichard C. AtkinsonและRichard Shiffrin ในปีพ. ศ. 2511 ความทรงจาสามารถอยู่ใน \"บฟั เฟอร์\" ระยะสนั้ ในระยะเวลา จากัด ในขณะทพี่ วกเขากาลัง เสริมสรา้ งความสมั พนั ธใ์ นหน่วยความจาระยะยาวไปพร้อม ๆ กัน เมื่อมีการนาเสนอรายการครัง้ แรกพวกเขา จะเข้าส่หู นว่ ยความจาระยะส้ันเปน็ เวลาประมาณยีส่ บิ ถึงสามสบิ วนิ าท[ี 2]แตเ่ น่ืองจากมีพ้ืนท่ี จากัด เมื่อมี รายการใหม่เข้ามารายการท่เี ก่ากวา่ จะถูกผลกั ออก ขีด จากัด ของสงิ่ ของทีส่ ามารถเก็บไว้ในหน่วยความจา ระยะส้นั คือค่าเฉลยี่ ระหว่างสี่ถงึ เจ็ด แตด่ ว้ ยการฝึกฝนและทกั ษะใหม่ ๆ ที่สามารถเพ่ิมจานวนได้ [3]อย่างไรก็ ตามทุกครั้งที่มีการฝึกซอ้ มรายการในหน่วยความจาระยะส้ันจะมีการเสริมสร้างความจาระยะยาว ในทานอง เดยี วกนั ย่ิงรายการอยใู่ นหน่วยความจาระยะสัน้ นานเท่าใดการเชอื่ มโยงก็จะยิง่ แน่นแฟน้ ยิง่ ขน้ึ ใน หน่วยความจาระยะยาว แบบจาลองหนว่ ยความจาในการทางานของ Baddeley ในปี 1974 Baddeleyและผูกปมท่นี าเสนอทฤษฎีทางเลือกของหนว่ ยความจาระยะส้ัน: รุ่น Baddeley ของหนว่ ยความจาทางาน ตามทฤษฎีนห้ี น่วยความจาระยะส้นั แบ่งออกเป็นระบบทาสทแ่ี ตกต่างกนั สาหรับ รายการอินพตุ ประเภทต่างๆและมีผบู้ รหิ ารควบคมุ ดูแลรายการที่เข้าและออกจากระบบเหล่านน้ั ระบบทาส รวมถงึ การวนรอบการออกเสียง, แผ่นสเกต็ ช์ภาพเชิงพ้นื ที่และบัฟเฟอรต์ อน (เพมิ่ ภายหลังโดย Baddeley) การเข้ารหสั ขอ้ มูลหนว่ ยความจาระยะยาวเข้ารหสั ข้อมูลความหมายสาหรับการจัดเก็บเชน่ การวจิ ยั โดย Baddeleyในการมองเหน็ ข้อมูลจาเปน็ ตอ้ งเขา้ สู่หนว่ ยความจาทใี่ ช้งานไดก้ ่อนจึงจะสามารถเก็บไว้ใน หนว่ ยความจาระยะยาวได้ นเ่ี ปน็ หลักฐานจากข้อเท็จจรงิ ที่วา่ ความเร็วในการจัดเก็บข้อมูลลงในหน่วยความจา ระยะยาวนัน้ พิจารณาจากจานวนข้อมูลทส่ี ามารถพอดีในแต่ละขั้นตอนในหน่วยความจาการทางานดว้ ยภาพ กล่าวอีกนัยหน่งึ ยิ่งมีความสามารถในการทางานของหนว่ ยความจาที่มากขนึ้ สาหรบั สง่ิ เร้าบางอยา่ งส่ือเหลา่ น้ีก็ จะเรยี นรูไ้ ด้เร็วขึ้นเท่านนั้ Synaptic Consolidationเปน็ กระบวนการทร่ี ายการจะถกู ถา่ ยโอนจา หน่วยความจาระยะสน้ั ไปยังหนว่ ยความจาระยะยาว ภายในไม่กนี่ าทหี รือช่ัวโมงแรกหลังจากได้มาengram (การตดิ ตามหนว่ ยความจา) จะถกู เข้ารหัสภายในซแิ นปส์ซึง่ จะต้านทาน (แม้ว่าจะไมม่ ีภมู ิคุ้มกัน) ตอ่ การ

1 รบกวนจากแหล่งภายนอก เน่อื งจากความจาระยะยาวอาจจะเลอื นหายไปในกระบวนการลมื ตามธรรมชาติจงึ อาจตอ้ งมีการซกั ซ้อมการบารุงรักษา (การเรียกคืน / การเรยี กคนื หน่วยความจาหลายคร้ัง) เพื่อรกั ษาความ ทรงจาระยะยาว การสืบคน้ บคุ คลสามารถใชส้ ถานท่ีในการเพ่มิ ช่วงเวลาทสี่ อดคล้องกับหลักการของการทาซ้า เว้นระยะ ส่ิงนีส้ ามารถเกิดข้ึนได้ตามธรรมชาติผา่ นการไตร่ตรองหรอื การระลึกถงึ โดยเจตนา(หรือทีเ่ รยี กวา่ การ สรปุ ซ้า) ซึง่ มักขึน้ อยกู่ บั การรับร้ถู ึงความสาคัญของวสั ดุ การใชว้ ธิ ีการทดสอบเป็นรูปแบบหนึง่ ของการเรยี กคนื สามารถนาไปสู่ผลการทดสอบซ่ึงชว่ ยใหเ้ กิดความจาระยะยาวผา่ นการดงึ ข้อมูลและข้อเสนอแนะ

1 ทฤษฎีทีเ่ กี่ยวขอ้ ง ทฤษฎีความจาสองกระบวนการ ทฤษฎคี วามจาสองกระบวนการ (Two – Process Theory of Memory) ทฤษฎนี ้ีสรา้ งข้นึ โดย แอตคินสนั และชิฟฟรนิ (Atkinson and Shiffrin) ในปี ค.ศ. 1968 กลา่ วถงึ ความจาระยะสนั้ หรือ ความจาทนั ทีทนั ใดและความจาระยะยาววา่ ความจาระยะส้นั เปน็ ความจาชั่วคราว สง่ิ ใดกต็ ามถ้าอยู่ใน ความจาระยะสน้ั จะต้องไดร้ บั การทบทวนอยตู่ ลอดเวลามิฉะน้นั ความจาส่งิ น้ันจะสลายตัวไปอย่างรวดเร็ว ใน การทบทวนนั้นเราจะไม่สามารถทบทวนทุกสง่ิ ท่เี ข้ามาอยู่ในระบบความจาระยะสั้น ดังนนั้ จานวนท่เี ราจาไดใ้ น ความจาระยะสั้นจงึ มีจากดั การทบทวนป้องกนั ไมใ่ ห้ความจาสลายตัวไปจากความจาระยะสั้น และถ้าส่ิงใดอยู่ ในความจาระยะสน้ั เป็นระยะเวลาย่ิงนานส่งิ นนั้ ก็มโี อกาสฝงั ตวั ในความจาระยะยาว ถ้าเราจาส่ิงใดไดใ้ น ความจาระยะเวลาย่ิงนาน ส่งิ นน้ั กม็ ีโอกาสฝังตัวในความจาระยะยาว ถ้าเราจาสิง่ ใดไวใ้ นความจาระยะยาวส่ิง น้ันกจ็ ะตดิ อยู่ในความทรงจาตลอดไป

1 งานวจิ ยั ที่เกี่ยวข้อง การวิจยั เรอ่ื งความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งความสามารถด้านความจากับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนช้ัน มัธยมศึกษาปที ี่ 2 จงั หวัดสงขลา ผ้วู จิ ยั ได้ศกึ ษาเอกสารและงานวจิ ัยทเ่ี กี่ยวข้องดงั ต่อไปน้ี 1. นิยามและทฤษฎเี กี่ยวกับความสามารถดา้ นความจา 2. เอกสารท่ีเก่ยี วกบั ความสามารถดา้ นความจา 3. รปู แบบของแบบทดสอบวดั ความสามารถด้านความจา 4. งานวิจยั ที่เกย่ี วข้องกบั ความสามารถด้านความจา นิยามและทฤษฎเี ก่ียวกบั ความสามารถด้านความจา 1. นยิ ามความสามารถด้านความจา กลิ ฟอร์ด (Guilford, 1956 : 221) กลา่ วว่า ความจาเปน็ ความสามารถทีจ่ ะเก็บหน่วยความร้ไู ว้ และสามารถ ระลกึ ได้หรือนาหน่วยความรู้น้นั ออกมาใช้ไดใ้ นลกั ษณะ เดียวกันกับทีเ่ กบ็ เขา้ ไว้ ความสามารถดา้ นความจาเป็น ความสามารถทจ่ี าเปน็ ในกิจกรรมทางสมองทุกแขนง เทอรส์ โตน (Thurstone, 1958 : 121) กล่าววา่ สมรรถภาพสมองดา้ นความจาเปน็ สมรรถภาพดา้ นการระลึก ได้และจดจาเหตกุ ารณห์ รอื เรื่องราวต่าง ๆ ได้ถูกตอ้ งแม่นยา อดมั ส์ (Adams, 1967 : 9) กล่าวว่า ความจาเป็นพฤตกิ รรมภายใน (Covert Behavior) ซ่ึงเกิดข้นึ ภายในจิต เชน่ เดยี วกบั ความรู้สึก การรบั รู้ ความชอบ จินตนาการและพฤติกรรมทางสมองด้านอนื่ ๆ ของมนษุ ย์ ชวาล แพรตั กลุ (2514 : 65) กล่าวว่า คุณลักษณะน้กี ค็ ือความสามารถของสมอง ในการบันทึกเร่อื งราวต่าง ๆ รวมท้ังทีม่ สี ตริ ะลึกจนสามารถถา่ ยทอดออกมาได้อย่างถูกตอ้ ง เชิดศักด์ิ โฆวาสนิ ธ์ุ (2525 : 121) กลา่ วว่า ความจา หมายถงึ ความสามารถในการเกบ็ รักษา บนั ทึกเรอื่ งราวตา่ ง ๆ ไว้ในสมองอย่างถูกต้องรวดเรว็ และ สามารถระลึกได้โดยสามารถถ่ายทอดส่ิงที่จาได้ออกมา อเนก เพียรอนุกลุ บุตร (2527 : 138) กล่าววา่ ความจาเปน็ ความสามารถท่ีจะทรงไว้ซ่ึงสง่ิ ทร่ี บั รไู้ ว้ แลว้ ระลกึ ออกมา อาจระลึกออกมาในรูปของรายละเอยี ด ภาพ ช่อื สิง่ ของ วตั ถุ ประโยค และแนวคดิ ฯลฯ ความจามี 2 ชนดิ ใหญ่ ๆ คือ จาอยา่ งมีความหมายและจาอยา่ งไม่มคี วามหมาย

1 ชาญวทิ ย์ เทยี มบุญประเสริฐ (2528 : 163) กลา่ ววา่ ความจาเปน็ สมรรถภาพในการจาเรอ่ื งราวตา่ ง ๆ เหตุการณ์ ภาพ สญั ลักษณ์ รายละเอยี ด ส่งิ ทมี่ ีความหมายและสิ่งทไี่ ร้ความหมายและสามารถระลึกหรือ ถา่ ยทอดออกมาได้ ไสว เลยี่ มแก้ว (2528 : 8) กล่าวว่า ความจา หมายถงึ ผลท่คี งอย่ใู นสมองหลังจากส่งิ เร้าได้หายไปจากสนาม สมั ผสั แลว้ ผลทค่ี งอยนู่ ีจ้ ะอยู่ในรปู ของรหสั ใด ๆ ท่ีเปน็ ผลจากการโยงสมั พนั ธ์ ลว้ น สายยศ และองั คณา สายยศ (2541 : 161) กล่าวว่า ความจาเปน็ ความสามารถในการระลึกนึกออกส่ิงท่ี ไดเ้ รยี นรู้ได้มีประสบการณ์ได้รบั รู้มาแลว้ ความจาเปน็ ความสามารถพ้ืนฐานอย่างหน่งึ ของมนุษย์ซึง่ จะขาดเสยี มิได้ ความคดิ ทัง้ หลายกม็ าจากการหาความสมั พนั ธข์ องความจานัน่ เอง แบบทดสอบวัดความจาจึงใช้วัด ความสามารถในการระลึกนกึ ออกวา่ สมองไดส้ ง่ั สมอะไรไว้ จากท่ีเห็น ๆ มาแล้ว และมีอย่มู ากน้อยเพียงใดด้วย จากความหมายของความจาท่ีกล่าวมาสรุปได้ว่าความจาเป็นความสามารถของสมองในการบนั ทึกเรื่องราว เหตกุ ารณ์ และสงิ่ ของตา่ ง ๆ ได้อยา่ งถูกต้องมานยา แล้วสามารถระลึกหรือถา่ ยทอดสิ่งท่จี าออกมาได้อย่าง ถกู ต้อง 2. ทฤษฎเี กีย่ วกบั ความสามารถด้านความจา ในทางจิตวทิ ยา ได้มีการกลา่ วถงึ ทฤษฎีเกย่ี วกบั การจาและการลืมไวห้ ลายทฤษฎีแต่ทีส่ าคญั สรปุ ได้มี 4 ทฤษฎี คือ ทฤษฎีความจาสองกระบวนการ (Two – Process Theory of Memory) ทฤษฎีนี้สรา้ งข้ึนโดย แอตคินสนั และชิฟฟริน (Atkinson and Shiffrin) ในปี ค.ศ. 1968 กล่าวถงึ ความจาระยะส้นั หรือความจา ทนั ทที ันใดและความจาระยะยาววา่ ความจาระยะส้ันเป็นความจาชั่วคราว ส่ิงใดก็ตามถ้าอยใู่ นความจาระยะ ส้ันจะต้องไดร้ บั การทบทวนอยู่ตลอดเวลามฉิ ะนน้ั ความจาส่ิงน้ันจะสลายตวั ไปอยา่ งรวดเร็ว ในการทบทวนน้ัน เราจะไมส่ ามารถทบทวนทุกสง่ิ ที่เขา้ มาอยูใ่ นระบบความจาระยะสน้ั ดังนน้ั จานวนท่เี ราจาไดใ้ นความจาระยะ สัน้ จึงมีจากดั การทบทวนป้องกนั ไม่ให้ความจาสลายตวั ไปจากความจาระยะสั้น และถา้ ส่งิ ใดอยู่ในความจา ระยะสน้ั เป็นระยะเวลายิ่งนานสิ่งนน้ั กม็ โี อกาสฝังตวั ในความจาระยะยาว ถา้ เราจาสิ่งใดได้ในความจาระยะเวลา ยงิ่ นานสิ่งนัน้ กม็ โี อกาสฝงั ตัวในความจาระยะยาถ้าเราจาส่ิงใดไว้ในความจาระยะยาวสง่ิ นั้นก็จะติดอยใู่ นความ ทรงจาตลอดไป

1 อา้ งอิง ประภาพรรณ เกศากิจ./(2557).//การจาและการลืม /13 มกราคม 2565,//จาก https://www.slideserve.com/russ/1051203 BRAIN AND LIFE CENTER./(2564).//ความจาระยะยาว./13 มกราคม 2565,//จาก https://www.brainandlifecenter.com/long-termmemory-implicitmemory/ UIBLOGAZINER./(2557).//ความทรงจาและความลมื เลือน ตอนท่ี 1./13 มกราคม 2565,//จาก http://www.uiblogazine.com/ Wikipedia./(2565).//ความจา./13 มกราคม 2565,//จาก https://th.wikipedia.org/wiki/

1 คณะผจู้ ดั ทา นางสาวนลินทพิ ย์ หงษ์ทอง รหัสนักศกึ ษา 63141406 นางสาวสริ ินภรณ์ ใจยาทา รหสั นักศึกษา 63141413 นางสาวนฤวรรณ เทพมาลยั รหสั นักศกึ ษา 63141429 นางสาวปวริศา เสือทงุ่ รหสั นักศึกษา 63141431 นางสาวอริยา นาไทย รหสั นกั ศกึ ษา 63141444 นายสุทธิพงศ์ ทานุโวหาร รหัสนกั ศึกษา 63141450 นางสาวภธู นันธร ตะพิมพ์ รหสั นักศึกษา 63141454 เสนอ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ทัศนยี ์ บญุ แรง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook