Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore จันทร์เสี้ยว

จันทร์เสี้ยว

Description: จันทร์เสี้ยว

Search

Read the Text Version

39. เยาวเทพ พวกเขาเอด็ องึ และฟาดฟน กันโกลาหล เตม็ ไปดว ยความสงสัยและสิน้ หวงั วิวาทกันโดย ไมวา งเวน ขอใหชวี ติ ของเจาจงปรากฏประหน่งึ เปลวประทีปเถิด อา ยหนูเอย อยา วบู วาบหว่ันไหว จงบริสทุ ธ์ิ และนอมนาํ พวกเขาไปสคู วามสงบระงับ พวกเขาทง้ั โลภท้งั รษิ ยา ถอ ยคาํ เลา กเ็ สมือนกบั มดี กระหายเลือด ซึง่ ซอนไวอยา งมิดชดิ ออกไปยืนทามกลางหวั ใจทมิฬของพวกเขา อายหนู จงทอดสายตาซ่ือ ๆ ไปยงั พวกเขา เฉกเชนความสงบยามสายัณห ใหอภยั ตอความวุนวายแหง ทวิ า เยยี่ มหนาใหเขายล อายหนเู อย เพื่อวา พวกเขาจะไดซ มึ ทราบในความหมายแหง สรรพ สิ่ง จงทําตัวใหพ วกเขารกั เพอ่ื วาพวกเขาจะไดรจู กั รักใครซ่งึ กนั และกนั บาง มาสิ มาสถิตในทรวงแหง ความไมร สู ิ้น อา ยหนเู อย จงแยม และเผยอดวงใจ เชนผกา ขยายกลบี เมือ่ ดวงตะวันขน้ึ และจงคอมศีรษะเม่ือดวงตะวนั ตก เพอื่ สดุดกี าลเวลาซึ่งลวงไป 51

40. การตอรองคร้ังสดุ ทาย \"เชญิ จา เชญิ มาจางฉนั ทํางาน\" ฉันรอ งตะโกน ขณะเดินไปตามทางซึ่งปลู าดดวยแผน หินในเวลาเชา ราชาเสดจ็ มาในราชรถ พรอ มดว ยพระแสงดาบในอุงหัตถ พระองคจ บั มอื ฉัน ตรัสวา \"ขา จะจา งเจา ดว ยเดชานุภาพของขา\" แตเ ดชานุภาพนั้นเปน สิง่ ไรคา และพระองคก็เคล่อื นราชรถจากไป ทา มกลางความรอ นระอุยามเที่ยง บานเรอื นซง่ึ เรียงรายอยทู วั่ ไปตา งปด ประตเู งยี บ ฉนั เตรไปตามซอยคดโคง ชายชราคนหนึ่งออกมาจากบา นพรอมดวยถงุ ทอง เขาคิดแลวพูดวา \"ฉนั จะจา งแกดวยเงิน\" เขาหยัง่ นํา้ หนักเหรยี ญทีละอัน แตฉนั เดนิ ผา นมาเสีย ใกลคา่ํ พุมรว้ั ของสวนมดี อกไมแ ทรกอยูพ ราว สาวสวยคนหน่ึงออกมาและพดู วา \"ฉันจะจางคุณดว ยรอยยมิ้ \" ย้มิ ของเธอเจ่อื นและจางลงเปนหยาดนาํ้ ตา แลว เธอกลับเขา ไปตามลาํ พงั ในความมืด ดวงตะวนั สอ งแสงจาบนพืน้ ทราย และเกลยี วคลื่นกโ็ หมกระหนา่ํ เดก็ คนหนึง่ กําลงั เลนสนกุ กับเปลือกหอย เขาเงยหนา ข้ึนและดเู หมอื นรูจกั ฉนั ดว ย เขาพูดวา \"ผมจะจา งเปลาๆ\" การตอ รองอันเกิดจากการเลน สนกุ ของเดก็ ไดป ลดปลอ ยฉนั ใหเ ปน คนอสิ ระ ต้ัง แตบดั น้ันเปน ตน มา 52

ภาคผนวก รพนิ ทรนาถ ฐากรู กวีผดู งึ ตะวนั ตกและตะวนั ออกมาพบกัน ๑. ภารตวรรษทฝ่ี รงั่ แลเหน็ มองดวยสายตาของชาวตะวันตก เรือ่ งราวทงั้ หลายอันเกย่ี วกบั ประเทศอินเดยี ลวนพลิ ึกพลิ ั่นไป หมด เร่มิ ตัง้ แต พระเจาอเลก็ ซานเดอรม หาราช กษตั รยิ ห นมุ ชาวกรกี ครงั้ ยังอยใู นวัยศกึ ษาเคยอานหนังสือ พรรณนาถึงความตนื่ ตาตืน่ ใจแหง ภูมภิ าคแถบเอเซยี เม่อื ขนึ้ ครองราชยแ ละปราบปรามหัวเมืองใกลเคียง แลว ไดก รีธาทพั ขามมายงั เปอรเซีย และลว งเขาประชิดชายแดนดา นตะวนั ตกเฉยี งเหนอื ของอินเดยี คอื แถบลุมแมน ํา้ สนิ ธุ แตถูกตานทานไวเพยี งนน้ั จงึ ตองถอยกลบั กอ นที่จะบรรลุเปาหมายซ่ึงกาํ หนดไว นน่ั เปนเหตุการณในศตวรรษทีส่ ่ีกอ นคริสตกาล หากพระเจา อเลก็ ซานเดอรไ มถกู วางยาพิษเสยี กอ น และหวนกลับมารกุ รานอินเดียอีกคร้งั เราคงไดอานเอกสารโลดโผนเอาการทีเดียว เพยี งแตเ ผชญิ หนากันไมกีว่ นั ยงั มเี รอ่ื งเหลอื เช่อื ตัง้ หลายหนา กระดาษ อาเรยี น นกั ประวตั ิศาสตรกรีกจดบันทึกไวล ะเอยี ดลออ ซงึ่ ขอความบางตอนบรรยายวา ....กษัตรยิ อ ินเดยี ประทับในวอทองคาํ โดยรอบหลังคามีพวงไขม ุกยอยระยา กระทบกนั เสียงกราว ๆ เบื้องหลงั ติดตามดว ยทหารรกั ษาพระองค บางคนแบกก่ิงไมม าดว ย บนกิ่งกา นเหลาน้ันนกเกาะอยูเปนฝูง มนั ถกู ฝก ใหรองเพลงผวิ ปากอยา งคลอ งแคลว ....พระราชวงั เปดโลงตลอดเพ่อื รบั ผเู ขาเฝาทั้งปวง แมข ณะท่กี ษัตรยิ ต กแตงเกศาและฉลององค ทรงเครือ่ ง การรบั ทตู านทุ ตู และวนิ ิจฉัยคดคี วามกก็ ระทาํ ในเวลาเดยี วกนั น้ันเอง เม่อื เสร็จเรอื่ งราวแลว ชาว พนกั งานจะถอดฉลองพระบาทออก และนวดฟน ดว ยนํา้ มันหอมชนดิ พเิ ศษสุด พลูตากรค กบ็ นั ทึกเสรมิ แตง อีกสํานวนหนึง่ ในหนงั สือเรื่อง \"ชีวิตของอเล็กซานเดอร\" (LIFE OF ALEXANDER) เลาถึงตอนท่นี า สลดใจไววา ...กษตั รยิ พอรัส27 มวี รกายสูงถึงหกฟตุ ประทับชางทรงขนาดมหมึ า ชา งเชือกนี้ภักดีตอ เจาชีวติ อยางสุดซึ้ง มันตา นศตั รสู ดุ แรงเกิด และขบั เค่ียวเตม็ กําลงั เมื่อสัตวแ สนฉลาดสังเกตเห็นวาพระองคเ ปนลม 27 ตามหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร กษัตริยอนิ เดยี ทเี่ ผชญิ หนา กบั พระเจาอเลก็ ซานเดอร คอื จันทรคุปต แหงราชวงศเ มารียา (หมายถงึ ราชวงศนกยูง) 53

เพราะเสยี โลหติ เกรงจะพลดั ลงจากหลัง มนั จะคอย ๆ คอมกายลงสูพน้ื จากนัน้ ประจงถอนลูกธนูดวยงวง ของมนั เอง เวลาลว งมาอีกเกือบสองพันป นกั ผจญภยั ชาวอิตาลชี อื่ มารโค โปโล ไดเดนิ ทางเขามาดวยขอ ราชการของ พระเจา กบุ ไลขา น แลว เขียนหนงั สือเรอื่ ง \"ลกั ษณะของโลก\" (DESCRIPTION OF THE WORLD) ออกเผยแพร เขาเลาวาไดเ ดนิ ทางมาประเทศอินเดียสองครัง้ คือในป พ.ศ. ๑๘๑๓ และ ๑๘๓๖ โดยลงเรอื จากเกาะลงั กาขามมาขึน้ ฝงอนิ เดยี ตอนใต ฝร่ังคนไหนกค็ นน้นั เร่ืองไมแทรกกระสายเปน ไมม ี แลวพวกเขากพ็ ลอยเช่ือหรอื แกลงเชอ่ื วา จริง เสยี ดวย ลองอา นดูเถดิ ... ในเมืองมาบารไมม ีชา งตดั เสื้อผา เพราะผูค นไมสวมเสื้อผากนั เลย นอกจากใชเ ศษผาผืนเล็ก ๆ ปด กันเปลือยไวเทานน้ั ทั้งน้เี พราะอากาศไมรอ นไมหนาวตลอดป พระราชาทรงฉลองผา เตย่ี วผืนหนง่ึ และ ผาเตยี่ วหรอื ภษู าเต่ยี วผนื นว้ี ิจิตรอยา งพรรณนาไมถูก ประดบั ดว ยอัญมณีสูงคา หลากหลายชนิด ไดแ ก ทับทิม นลิ สคี ราม มรกต และแกว อืน่ ๆ ซึง่ ลว นแตว บู วาบสวา งไสว .... พระราชาทรงมีมหาดเลก็ ใกลช ิดคณะหน่ึง มหาดเลก็ เหลานีไ้ ดร บั เกียรตสิ งู ขีม่ า รว มขบวนไป ไดท ุกแหง หน มีอํานาจบริหารงานกวางขวาง แตเ มือ่ พระราชาเสดจ็ สวรรคต พวกมหาดเล็กตอ งกระโดด เขากองไฟ เพ่ือโดยเสด็จไปยงั ภพอ่นื ไมทอดท้งิ ใหพระองคท รงเหงาในระหวา งทางทามกลางฟากฟา เปลย่ี ว ... ชาวเมืองมาบารเ ชื่อถือโชคลางอยางจรงิ จงั คนทเ่ี ดินไปตามทางเมอื่ ไดย นิ คนอนื่ จามเขาจะนง่ั ลงทันที ไมย อมเดนิ ตอ ไปแมกา วเดยี ว นัง่ คอยอยตู รงนนั้ กระทง่ั ไดยนิ เสยี งจามของอกี คนหน่งึ คร้งั น้จี ะ ผลนุ ผลันรีบลุกข้ึนเดินตอ ถาเกดิ ไมม ีใครผา นมาจามเปนครัง้ ทสี่ อง ตกเย็นเขาจะลูกขน้ึ แลวเดินกลบั บา น เรือ่ งธุระเอาไวคิดวันตอไป ... โยคีเผามูลโคจนเปนผง แลว ลบู ไลท ่ัวตัวดว ยศรัทธาปสาทะอันสงู เม่อื เดนิ ไปตามหนทาง หาก ใครแสดงความเคารพ ทานจะอวยพรดวยการใชผงขีว้ ัวเจิมหนาให โยคไี มใ ชภ าชนะใสอาหาร แตใ ชใบไม แทน เปนใบไมแหงขนาดใหญ ท่ีไมใ ชใบไมส ดเพราะของสดของเขียวมวี ิญญาณ การเด็ดใบไมส ดจงึ เปน บาปทพ่ี ึงละเวน .... ตอ คาํ ถามที่วา เหตใุ ดโยคีไมหุม หอ รา งกาย? และไมรสู กึ กระดากอายบางเลยหรอื ? โยคตี อบ วา \"ขา เปลอื ยกายเพราะขาไมปรารถนาอนั ใดในโลก แมเพยี งผาผืนหน่งึ ก็ไมเ คยคดิ อยากได คนเราเกิดมา ตวั เปลา ไมม ผี า พนั กายออกมา ใบหนา, แขน, และขา เปน อวัยวะที่ไมตองซอนเรน ก็แลว เรื่องอะไรถึงตอ ง วุนวายปกปด อวยั วะกระจอยรอยสวนอ่นื คนท่ีรูสกึ อายแปลวา เขาใชเจาสิ่งนนั้ ในทางผิด ๆ ตัวขา ไมเคย ประกอบลามกกรรมใด ๆ เลย\" ... เมือ่ ถงึ คราวถายทกุ ขห นัก โยคเี ดนิ ไปชายหาด ขุดหลุมลึกพอประมาณ ถา ยเรยี บรอ ยแลวใชไม เทา เข่ยี ทรายกลบจนมดิ ทานอธบิ ายวา \"ถาไมก ลบทรายไวจ ะเกดิ หนอน ทีนีพ้ อแสงแดดเผากากแหง 54

หนอนจะขาดอาหารและตายไป ตัวเราผูใ หก าํ เนิดแกมัน ตองรบั ผิดชอบเรอ่ื งชวี ติ ของมันดวย การกลบ ทรายจงึ เหมอื นตัดไฟแตหวั ลม ไมต องนอนสะดงุ วาบาปกรรมจะว่งิ ไลห ลัง\" มารโค โปโล หมายเหตวุ า วิสัยมหศั จรรยข องชาวชมพูทวปี ยงั มอี ีกมากนกั แตจ ําตอ งพกั การเลา ไวกอน เพราะไมแ นใ จวาจะมคี นเชอ่ื สกั เทาใด เมื่อใกลจ ะถึงแกกรรมในเมืองเวนิส เขาสารภาพกับ บาทหลวงผูม าทาํ พิธลี า งบาป ดวยทวงทํานองของบุรุษซ่งึ มีอุปนิสยั ถอ มตนวา \"หลวงพอครบั กรรมช่วั ในชีวติ ของผม ไมใชก ารพดู เกนิ ความจรงิ หรอก ผมสํานึกตวั วา ผิด เพราะ เรื่องทงั้ หมดทเ่ี ลามาน้นั มีจาํ นวนไมถงึ คร่ึงหน่งึ ของที่พบเหน็ ในชีวิต ผมยอหยอนตอ หนาท่จี รงิ ๆ\" ถา เขาเขียนใหหมดสิ้นกระบวนความ ตามที่อวดอา งวา พบเหน็ มา โฉมหนาของอินเดียจะหมองลง อกี เพียงใดกเ็ หลอื เดา การพดู และเขียนอาจกอ ใหเ กดิ ผลรายได พระพุทธองคจ งึ ตรัสวา \"อภตู วาที นริ ย อุเปติ\" \"ผูกลา วคาํ เท็จยอมเขาถึงนรก\" บรษิ ทั อังกฤษ (THE BRITISH COMPANY) เขาควบคุมประเทศอนิ เดยี ไวไดโดยเด็ดขาดต้ัง แตป พ.ศ. 2400 นับจากนั้นเปน ตนมา ชาวอังกฤษรเู หน็ ชวี ติ ความเปน อยูของชาวอินเดยี มากขึน้ แตแ ทนที่ จะแกไขความเขาใจผดิ ๆ ใหตรงตามขอ เท็จจริง กลับแตงแตม สีสนั ใหฉดู ฉาดอยางสนกุ มอื เชน มสิ เรย อาเชอร สงบทความเกี่ยวกบั มหาราชแหง แควน ไฮเดอราบาด ไปลงพมิ พใ นนติ ยสาร Titbits วา .... มหาราชสบู บุหรมี่ วนดวยธนบัตรใบละ 100 รูป (ราว 7 ปอนด) และสูบจดั ชนิดมวนตอ มวนเสีย ดวย ทา นใชช ีวิตอยา งโดดเด่ยี ว ประทบั อยใู นหอ งเดิมซง่ึ อยูมาต้ังแตตน ศตวรรษ หนาตางปดตายท้ังสาม บานตลอดเวลา ฝาผนังมีไยแมงมุมระโยงระยาง ฝุนละอองจับเปรอะทุกแหง กนบุหรี่หลายรอยกน เกลื่อน กระจาย .... ฉลองพระองคซ งึ่ ไมค อ ยไดส วม และไมเคยซัก แขวนหอ ยกับหวั ตะปู มหาราชบรรทมบนพระ แทน ลวดสปริง คลุมดวยผา ลินนิ เตม็ ดวยรอยดา งดวง หอ งน้ําที่อยูติดกบั หอ งบรรทมกล็ ่นั กุญแจไว เพราะ ตงั้ สองเดอื นกวาจะสรงนํา้ ครงั้ หนงึ่ กลุม บุคคลซง่ึ ไดร บั การยกยองวาเปนผสู รางคุณประโยชนใหญห ลวงใหแ กป ระชาชนชาวอินเดยี คอื คณะนักสอนศาสนา เปรมจนั ท ผวู างแนวนวนยิ ายอินเดียไดก ลาวสดุดีไวในเรอื่ งส้ันชอ่ื \"ทเี่ รียกวาอดุ มคติ\" (THE LONE VOICE) วา \"ขาพเจาไมถ งึ กับขอรอ งใหทานสมรสกบั จัณฑาล หรอื เชื้อเชิญเขามารว มรับประทานอาหารดวย แตม นั เปนการขอรอ งทม่ี ากเกนิ ไปหรือ สาํ หรับใหป ฏิบตั ติ อเขาเยี่ยงมนุษย? ขอใหดูตวั อยางนกั สอนศาสนา ชาวคริสเตียน พวกเขาสละความสขุ ความสบายทกุ ประการ ออกจากบา นเกิดเมืองนอนมาคนละหลาย ๆ ป ลืมความรกั ของเพื่อนฝูงและญาตมิ ติ ร เพ่ืออทุ ิศตนใหแ กการรบั ใช เมือ่ แลเหน็ แมชีสาว ๆ ผูมรี ูปรา งงดงาม 55

สวยสงา และบอบบาง ประคองเดก็ ตวั ดาํ ปซ ึ่งเตม็ ไปดว ยแผลเนา เปอย ขา พเจา รูส กึ แทบจะกมศีรษะลงตอ หนาเธอ\" ศนู ยกลางของครสิ เตยี นอยทู บ่ี อมเบยและมทั ราส แตชาวเบงกอลกเ็ ขา รีตไปไมน อย ทัง้ นีเ้ ปน เพราะความอตุ สาหะของหมอสอนศาสนาอยาง วลิ เลยี่ ม คารยี  และ อเล็กซานเดอร ดฟั ฟ กิจกรรมของผู เผยแพรไมเ พง เฉพาะแตการเปลย่ี นศาสนาเพยี งอยางเดยี ว หากยังสงผลใหเ กิดการเปลย่ี นแปลงในดา น การศกึ ษาและวงวรรณกรรมอยา งกวา งขวางอีกดวย ในป พ.ศ. ๒๓๔๔ วลิ เล่ียม คารีย ไดร บั แตงตง้ั ใหเปนศาสตราจารยภ าษาเบงกาลี เพื่อฝกชาวพ้นื เมืองเขา เปนพนักงานของบรษิ ัทองั กฤษ คารียป ฏิบัติหนา ท่ีของเขาอยา งถวายชวี ิตทีเดยี ว เขาผลติ ตาํ รา ไวยากรณกบั พจนานุกรมเบงกาลซี ึ่งบรรจคุ ําถงึ ๘๐,๐๐๐ คําออกเผยแพร เพอ่ื นรวมงานของคารยี อกี สองคน คือ มารช แมน และ วอรด กอ ต้ังโรงงานกระดาษและโรงพิมพ ขนึ้ ทต่ี ําบลเสรามปรุ ะ แปลคมั ภีรไบเบ้ลิ เปนภาษาถ่ินของอินเดียถงึ ๒๖ ภาษา รวมทัง้ ภาษาเบงกาล,ี มารา ฐ,ี และทมิฬ ผลพลอยไดจากงานดา นนี้กอใหเกิดความเปลยี่ นแปลงในดานรอ ยแกวของอนิ เดียเปนอนั มาก แตในดา นลบ พวกบาทหลวงกท็ าํ เอาเจบ็ แสบ ปาวประกาศออกไปกึกกองวา ชาวอนิ เดยี โงงม และทกุ ลัทธดิ ั้งเดิมเหลงไหลหมด ร.ก. นารยนั นักประพันธผ ูม ีทวงทํานองเขียนชนิดน้ํานง่ิ ไหลลึก เขียนถงึ ความกระตือรอื รนของชาวคริสเตยี นในนวนยิ ายเรือ่ ง \"สวามแี ละเพือ่ น\" (SWAMI AND FRIENDS) ตอนหน่งึ วา ... \"โอ, โงอะไรอยา งน้ัน!\" มร.เอเนซาร ครสู อนวิชาศีลธรรมตะโกนพรอมกบั กําหมัดแนน \"ทาํ ไมหนอ ถึงไดง มงาย กราบไหวร ูปบชู าทีส่ รางดวยไมแ ละกอนหนิ ซง่ึ สกปรกและไรช ีวติ ? เทวรปู พดู สกั คาํ ไดไ หม? ไมไ ด มองอะไร ๆ เหน็ ไหม? ไมเห็น ประทานพรใหพ วกเธอไหม? ไมได นําพวกเธอข้นึ สวรรคไดไหม? ก็ ไมไ ดอ กี นนั่ แหละ....\" \"เหตุผลนะหรือ? กเ็ พราะวา รปู บูชาเหลานัน้ ไมม ีชีวติ จิตใจ เทพเจา ตั้งมากมายของพวกเธอทํา อะไรไดบ าง เม่อื มหมัดแหง คาชนี ทาํ ลายเสียเปน ช้ินเล็กชนิ้ นอ ยแลวแถมยังเหยียบซา้ํ และกวาดเอาไป กอ เปนบันไดสว ม? ถาเทวรปู เหลา น้นั มชี วี ิตจรงิ ทาํ ไมถงึ ไมพ ากันตอสูตา นการทําลายของ มหมดั น้ันเลา ? ตอ จากน้ัน คุณครเู อเปน ซาร วกเขา หาครสิ ตศาสนา \"ทีน่ ีย้ อ นมาดูองคพ ระเยซแู หงพวกเรา ทา นสามารถรักษาผเู จบ็ ปว ย ชว ยเหลือเกือ้ กลู ผยู ากจน และทรงนาํ พวกเราขึ้นสสู วรรค อาณาจักรแหง สวรรคอยภู ายในจติ ใจของเราทุกคน\" นาํ้ ตาไหลรินอาบแกม คุณครูเอเบน็ ซาร เมื่อทานจนิ ตนาการถึงพระเยซู ครูหนึ่งตอมา ใบหนา ของ ทา นกลายเปนสีมวงดว ยโทสะ เมอ่ื คดิ ถึงพระกฤษณะ 56

\"เคยบา งไหมที่พระเยซูเกีย่ วกอ ยไปกบั นางระบําตง้ั ฝงู เหมอื นพระกฤษณะของพวกเธอ? เคย ปรากฏหรอื เปลาท่พี ระเยซดู อม ๆ ไปขโมยเนยเหมอื นพระกฤษณะผูวายราย? พระเยซูของพวกเราเคยเลน อุบายลามกตอ ผทู อ่ี ยูรอบ ๆ พระองคสกั ครั้งหรอื ไม? \" คณุ ครเู อเบ็นซารห ยุดพกั หายใจ วันนท้ี านไมม ีความยบั ย้งั อดกลั้นเลย เลอื ดในกายของ สวามีนา ธัน เดือดพลาน เขาลกุ ขน้ึ ตั้งคาํ ถาม \"พระเยซูไมท าํ ผดิ จริง ทาํ ไมจึงถกู ตรงึ กางเขน?\" คุณครตู อบวา ถาเขาขอ งใจ อาจไปพบทานไดเ มอ่ื หมดชวั่ โมงแลว จะไดเรียนเปนการสวนตวั เมื่อ ครตู อบอยา งนมิ่ นวลเชน นี้ สวามนี าธนั ชักไดใ จ ตง้ั คําถามเขาไปอีกวา \"ถาพระเยซเู ปน พระเจาจรงิ ทาํ ไมทา นถึงรับประทานเนื้อและปลา แลว ยังดื่มเหลาอกี ดว ย?\" ในฐานท่ีเปนเดก็ เกินในตระกลู พราหมณ เขาไมเขา ใจเลยวา ทําไมพระเจา ถงึ ไมเ สวยอาหารแต จาํ พวกผกั เพอ่ื ตอบใหชัดเจนคุณครูเอเบ็นซารล ุกขึน้ จากโตะ คอ ย ๆ เดินไปที่สวามีนาธนั แลวบิดหขู าง ซายเสยี ถนดั มอื ไมตรี เทวี นักเขยี นและนกั คน ควา ผมู ีผลงานเผยแพรห ลายในเบงกอล ใหทรรศนะวา ดวยเหตุผล บางประการ คณะนักสอนศาสนาเมือ่ ถงึ คราวกลบั ไปจากประเทศอินเดยี แลว มกั ประณามวิถชี วี ิตและขนบ ธรรมเนยี มตาง ๆ อยางเสียหาย เปนตน วา ความเกียจคราน, การทํางานอยางขาดความรบั ผิดชอบ, พธิ ี กรรมทางศาสนาอันไรค วามหมาย, และระบบวรรณะ เธอยอมรับวาสิ่งเหลา นคี้ วรแกการตําหนิกจ็ รงิ แตผ ซู ึ่ง นาํ ไปเลาตอ มักขยายความจนเกนิ พอดี เกยี รติคณุ ของคณะนกั สอนศาสนาขึ้นอยูกับความยากลาํ บากซึ่งพวกตนผานพบมา ดงั น้ันจงึ จาํ เปน ตองพิสูจนว าชาวอินเดียโงเ งา และลา หลงั เหมอื นยงั อยูในยุคบรรพกาล เม่ือจงใจทจี่ ะมองในแงนั้นเสยี แลว ภมู ิปญญาอันซุกซอนอยูภ ายใตก องขยะแหงสงั คมตงึ ไมม ีวนั ไดสัมผสั กนั เลย ขอ เขียนซึ่งกอใหเกดิ ความสะเทือนใจรุนแรงคือ คําประพนั ธส องวรรคของ รดั ยารด คพิ ลงิ ชาว อังกฤษผูถ ือกําเนดิ ในประเทศอนิ เดียแท ๆ เมอื่ ป พ.ศ. ๒๔๐๘ คพิ ลิงทาํ งานอยูห าปในกองบรรณาธิการ CIVIL SNF MILITARY GAZETTE ประจําเมืองลาฮอร และอีกสองปในกองบรรณาธกิ าร THE PIONEER ประจาํ เมอื งอัลลาหบาด กระนนั้ เขายงั ใจแขง็ พอท่ีจะขดี เสน แบงลงอยางเด็ดขาดวา 57

\"East is East and West is West. And never the twain shall meet.\" \"ตะวันออกคอื ตะวันออก ตะวันตกคือตะวนั ตก และทงั้ สองจะไมมวี ันบรรจบกนั แนน อน\" เราจะไดดูกันวา นีเ้ ปนประกาศติ อันถาวรหรอื เปน เพียงสาํ นวนซง่ึ กลา วดวยอารมณเพียง ชว่ั ครู แลวก็สน้ิ อทิ ธิฤทธิ์ไปในท่ีสดุ ดวยอานุภาพแหงมิตรไมตรีและความรกั 58

เมื่อโลกประจกั ษความจริง ชาวตะวนั ตกทัว่ ๆ ไปแทบไมร เู ห็นอะไรเลยเก่ยี วกับภมู ิปญ ญาของชมพทู วีป แมก็ มิล เลอร หรอื ทไี่ ทยเราเคยเรยี กวา “โมกษะมูลาจารย” นกั บูรพทิศวทิ ยา (Orientalist) ชาวเยอรมนั ทุม เท แรงกายแรงใจผลิตตาํ ราอนั วา ดวยภาษาสนั สกฤต ถายทอดคัมภรี พระเวทและปรัชญาอนิ เดยี ออกเผยแพร อยา งเต็มขอบเขตแหงวิสยั สามารถ แตก ็บังเกิดผลในวงแคบ ๆ ท้ังน้ีดว ยเหตุทีว่ ามนั เปนงานในรูปแบบที่ เครงขรมึ เกนิ กวาผูอา นสามัญจะรบั รไู ด แลวจู ๆ ราชบัณฑิตสภาแหงสวเี ดน กป็ ระกาศจากกรงุ สตอ กโฮลม เม่อื วันที่ 13 พฤศจกิ ายน 2456 วา ผไู ดรับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมประจําป คอื รพินทรนาถ ฐากรู เจา ของบทประพันธเรอื่ ง “คีตาญชลี” มนั กะทันหันจนผฟู งปรับตัวไมทัน จึงเกดิ ปฏกิ ริ ิยาข้นี อยา งกวา งขวางและรุนแรง นักเขยี นภาพลอประจาํ หนงั สือพิมพเ ยอรมนั คนหนงึ่ ใชพ กู ันตวัดออกเปน รปู ชาวฮินดู ตัวดําป เปลอื ยกายทอนบน โพกหัวใหญโต กําลังปน ตน มะพราว และชูอวดประกาศนยี บัตรรางวัลโนเบลดวย อาการเรอรา ประดจุ คางคกขึ้นวอ ขา วคราวยงั สับสนตอ ไปอีกวา หนังสือ DAILY CITIZEN เดอื นกมุ ภาพันธ 2457 ลงรายงาน วา... ช่ือเสียงและเกยี รติคุณของรพนิ ทรนาถ ฐากรู กวีชาวอินเดยี กําลังเริ่มเปนที่รจู กั ในหมนู กั อาน แตก็ ยังไมก ระจา งชดั หอ งสมดุ ประจํากรงุ ลอนดอนแหง หน่ึงไดรบั คําขอรอ งจากสมาชิกเนอื งๆ จดหมายฉบบั หนึ่งแสดงความประสงควา “โปรดสงหนังสือคีตญาชลขี องนกั เขยี นชาวยวิ ดูเหมอื น ชอื่ ฐากรู ไปใหขาพเจาดว ย” อีกฉบับหนึ่งถามวา “คุณมหี นงั สือของฐากรู ผเู ปน ชาวรสั เซียบางไหม?” 59

สวนอกี ฉบบั ปรารภวา “ขาพเจา ใครข อยมื ชมุ นมุ บทเพลงชดุ ใหม ประพนั ธโดยกวีอาหรับ” ตอนทา ยของรายงานชิ้นนีส้ รปุ วา หาก มร. ฐากูร ไดยนิ คาํ ขอรอ งเหลานเ้ี หน็ คงหัวเราะเปนแน เพราะเขาเปนผมู ากดว ยอารมณข นั ... อารมณซ ึง่ แทบไมมใี ครคิดถงึ กนั แลว “คีตาญชลี” อนั มคี วามหมายวา “การบูชาดวยบทเพลง” แมจ ะเปน บทกวซี ึ่งระเกะระกะดว ยคํา วาพระเจาก็จรงิ แตพ ระเจา องคนี้ไมเอาแตส ถติ อยบู นแทนเฉยๆ รพินทรนาถแสดงความเห็นใหมออกมา ดัง บทท่ี 11 ความวา... หยดุ เสียเถดิ การสาธยาย การขบั ขาน และการนงั่ นบั ลูกประคาํ อะไรเหลา นี้ ทานบูชาผูใดกนั ในมุม สลัวลางและเปลาเปลีย่ วของเทวาลัยซึ่งหบั บานประตูหนา ตา งมิดชดิ รอบดา น? ลมื ตาขึ้นสิ และมองดู พระ เจา มิไดป ระทบั อยเู บือ้ งหนาทานเลย! พระองคส ถติ อยู ณ ที่ซึง่ ชาวนากาํ ลงั ไถทอ งทงุ อันแข็งกระดา ง และคนทําถนนกําลังระดมแรงทุบ กอ นหินใหแตก พระองคอ ยกู ับพวกเขาทามกลางเปลวแดดและสายฝน ภูษาเลา เตม็ ไปดว ยคราบฝุน ฉะน้ัน ถอดอาภรณแ สนสะอาดของทา นออกแลวกาวลงไปยงั แผนดินซงึ่ คละคลงุ ดว ยละอองธลุ ีบา ง! ความหลุดพนนะ หรือ? ความหลุดพน จะหาไดจ ากทใี่ ด? พระผูเปน เจา ของเราทรงผกู พนั อยูกบั นิรมิตกรรม ดว ยความเปรมปราโมทย พระองคท รงใกลชดิ สนิทแนบกับพวกเราช่ัวนิรนั ดร จงพักการเพง การภาวนาของทานไวเพียงน้ี ทง้ิ ดอกไมธูปเทียนไวก อน มนั จะเปน อะไรหรอื หาก เคร่ืองแตงกายของทานขาดและเปรอะเปอ นบา ง? ออกไปพบและทาํ งานดว ยหยาดเหง่ือรวมกบั พระเจา ของทา นเถิด ดวยความอยากรูอ ยากเหน็ ตามประสาผูมศี รัทธาในผลงาน ไมตรี เทวี ซกั ไซถึงความเปน มาของ “คตี าญชลี” แลวบนั ทกึ ไวในหนังสอื “ฐากูรขางกองไฟ” (TAGORE BY FRIEND) ตอนหนง่ึ ทา นกวี เลา วา “เมอื่ แรกแปลออกเปนภาษาอังกฤษ ฉนั ไมนกึ วามนั จะนาอา น ซาํ้ ยังมีหลายคนกลา วหาวา ชาลส เฟรยี แอนดูรส เปน คนทําให ตอนท่ี วิลเลี่ยม บัตเลอร ยีตส จินตกวไี อรแ ลนด จัดชุมนมุ ปญ ญาชนขน้ึ ทบ่ี า นของ วิลเล่ียม โร เธนสไตน ฉันบอกไมถ ูกวายงุ ยากใจเพยี งใด แตยีตสไมฟ งเสียง อานคตี าญชลีใหฟ ง จนได ผูฟงเดินเขา มา นง่ั ลงเงียบ ๆ ฟงเงยี บ ๆ แลวกลบั ไปเงียบ ๆ ไมมีการวพิ ากษวจิ ารณ ไมม เี สยี งชื่น ชอบหรือติฉนิ ฉันแสนจะอดสู อยากใหธ รณีแยกแลว สบู ลงไปเสียจะไดส นิ้ เรอ่ื ง ทําไมหนอฉนั จงึ ยอมเชื่อ ยตี สอยา งนัน้ ? ฉันตําหนิตวั เองวาจะเขยี นภาษาองั กฤษไดอ ยางไร ในเมือ่ ไมเ คยศกึ ษาอยา งจรงิ จัง? 60

แตว ันรุงขน้ึ ไดร บั จดหมายไมร ูวากี่ฉบับ ผูฟ งรบั วา รสู ึกประทับใจจรงิ ๆ จนกระทั่งพูดไมอ อก ชาว อังกฤษมนี สิ ัยสํารวมเชน นีเ้ อง ยตี สร ูเขากต็ ่นื เตน ใหญ” นั่นเปนเวลาหนึง่ ป กอนหนา การตัดสนิ มอบรางวัล รพนิ ทรนาถสารภาพวา ไมอ าจจับหลกั ของภาษาอังกฤษได พูดงา ยๆ คอื ขาดกุญแจ จึงตองเขียน แบบกระโดดขามรั้ว มนั เปน เหมือนกายกรรม ไมใ ชก ารเดนิ ตามธรรมชาติ ขณะอยใู นประเทศองั กฤษ คราวสง เรอื่ งสน้ั มายัง รามนันท จฏั เฏอรจ ี ก็กําชบั วา “กรุณาตรวจ ทานการใชภาษาอังกฤษใหดว ย เพราะฉันเขยี นตามความเคยชนิ อาศยั เพียงการสมั ผสั ทางเสยี งเทานนั้ ” แมกระน้นั ผคู งแกเ รยี นซ่งึ มีอังกฤษเปน ภาษาพดู ตางยนื ยันวา ถอ ยคําของเขาคลอ งแคลว และเปน อิสระดุจท่ีใชก ันในออกซฟอรดน่นั เทยี ว บทกวีของรพินทรนาถในพากษองั กฤษไมเปนเพยี งงานแปล ธรรมดา ๆ ชิ้นหนึ่ง แทท ่ีจริงตองถอื วา เปนงานซ่ึงไดกําเนดิ ขน้ึ ใหมใ นภาษาอังกฤษ พรอมดวยพลังรเิ รม่ิ อัน แขง็ กลา หนงั สือพิมพฉบับหนงึ่ แสดงความมั่นใจวา “บุคคลผนู ีค้ วรไดรับรางวลั โนเบล ไมใชร างวลั เดียว แต เปนหลาย ๆ รางวลั เสียดว ย” ผลพลอยไดจากการชนะรางวัล นอกจากเกียรตปิ ระวตั ิ และเงินประมาณ 120,000 รปู  ซง่ึ นําไป จา ยในดานการศกึ ษาของเด็กๆ แลว สงิ่ ท่ีตามมาคอื รฐั บาลอังกฤษมอบยศ “เซอร” ให เมื่อป พ.ศ. 2458 แตไ มนานตอ มาเขากบ็ อกคนื เปน การประทวง ในกรณีทีน่ ายพลจัตวา ไดเออร นาํ ทหารเขาลอ มกลมุ ชาว อินเดยี 20,000 คนซง่ึ ชุมนุมอยใู นงานพธิ ีทางศาสนา ณ สวนชลิยาวาลาในรัฐปญจาป เมื่อวันอาทิตยท ี่ 13 เมษายน 2462 ชว่ั เวลา 10 นาที กองทหารระดมยิงอยา งบาเลอื ดกวา 1,650 นัด ทําใหผูค นเสยี ชีวติ เหมอื นใบไมถ ูกปลดิ จากขั้วในฤดแู ลง ถึงไมม คี าํ วา “เซอร” นําหนาช่ือ ใคร ๆ ก็ยงั ใหค วามนยิ มดุจเดมิ รพินทรนาถไดรับคาํ เชญิ จาก ประมขุ แหง รัฐบาลของประเทศตา ง ๆ ใหเ ดนิ ทางไปเย่ียมเยยี นและแสดงปาฐกถาตลอดเวลา เขาออกเดิน ทาง 10 คร้งั ซึ่งเปน การเดินทางรอบโลกเสีย 3 ครง้ั เคยลอ งอเมรกิ าใตถงึ ประเทศเปรูและอารเยนตินา ใน เอเชียกผ็ านญป่ี นุ จีน และมาพกั อยูท่โี รงแรมพญาไทในกรงุ เทพฯ อกี ดว ย ขณะทอ งเท่ียวในประเทศเยอรมนั นติ ยสาร MODERN REVIEW ฉบับประจําเดือนสิงหาคม 2464 ถา ยทอดขาวมาลงวา... ณ มหาวทิ ยาลัยเบอรล นิ ทานกวใี ชเ วลาครง่ึ ช่วั โมงยงั ไมสามารถผา นขนึ้ ไปยงั หอประชุมได เพราะ ประชาชนเบยี ดแนนอยทู กุ ข้ันบนั ได อธิการบดีขอรองอยางไรกป็ ราศจากผล กระท่งั ประกาศวาจะเรยี ก กาํ ลงั ตาํ รวจมาจัดการก็ไมม คี นถอย เพราะตา งอยากเหน็ ใกล ๆ ทง้ั น้ัน 61

ในทส่ี ุด ศาสตราจารยค ณะแพทยศาสตรท านหนึ่งอาสาออกเดนิ หนา และนักศกึ ษาเดนิ ตาม ประมาณ 600 คน เพื่อผอนคลายความคบั คัง่ ทา นกวีสัญญาวาจะปลีกเวลาไปพบเปนการพิเศษอกี ครงั้ หลังจากจบปาฐกถาแลว ประชาชนประมาณ 15,000 คนยงั เรียงรายตลอดขา งถนน พรอมทั้งเปลง เสยี งแสดงความชื่นชอบขณะที่ทา นกวกี ลบั ออกมา เม่ือแปลออกเปนภาษาสาํ คัญ ๆ ของโลก คตี าญชลไี ดก ลายเปน หนังสือขายดีอนั ดับหนึ่งอยา งรวด เร็ว นติ ยสาร JOHN O’LONDON’S WEEKLY ฉบับประจําวันท่ี 30 กันยายน 2465 ลงบทความวา ... ไมเ คยปรากฏวา นักเขยี นนวนิยาย นักเขียนบทละคร หรือกวีชาวเยอรมันคนใด จะประสบความ สําเร็จเทียบเทากับนักฝน สุภาพชาวอนิ เดยี คนนีเ้ ลย แถวหนังสอื ยาวเหยยี ดของฐากูร ในราคาและรปู แบบ ตาง ๆ กัน วางเตม็ ตูต ามรานทัว่ ไป ฉบบั ยอ มเยาราคาเลม ละ 15 มารก ผูเขยี นบทความชนิ้ นย้ี ังพบวา ฉบับสมบูรณจําหนายกนั ชดุ ละ 250 ถึง 300 มารค เฉพาะท่ี “สาํ นัก พิมพว ูลฟฟ” แหง เดยี วจาํ หนายไปแลว 800,000 เลม เจา ของสํานักพมิ พแ หงหนึง่ ในนวิ ยอรค หลงั จากกลับจากตระเวนยโุ รปแลว เปด เผยวาขณะท่ีเขา อยูใ นเบอรล ิน เหน็ เจา ของสํานกั พมิ พห ลายแหง สง่ั กระดาษหนกั ถงึ หน่งึ ลา นกิโลกรัม หรือมากกวาสองลา น ปอนด เพอ่ื พมิ พหนงั สือของรพนิ ทรนาถใหไดจาํ นวนสามลานเลม นกั ขา วชาวตะวนั ตกเปรยี บเทียบคีตาญชลไี วใ นลกั ษณะตาง ๆ กัน บางวา ปราดเปรอื่ งเสมอดว ย “บทเพลงของซโลมอน” (SONG OF SOLOMON) และบางวา บริสุทธก์ิ วา “บทสวดของเดวดิ ” (PSMLMS OF DAVID) เอซรา พาวนด ไปไกลกวา นนั้ คอื เปรียบวาสูงสงเทากบั “คัมภรี ไ บเบิ้ล” นั่นเทียว เขาใหเ หตุผล วา “กลา วโดยสรปุ ขาพเจาไดพ บสามญั สํานึกในบทกวีเหลาน้ี มันเตอื นใหพ วกเราคาํ นงึ ถึงส่ิงอนั เลือนหาย ไปจากคลองจกั ษุ ทา มกลางความสับสนแหงวิถชี วี ติ แบบตะวันตก” สว นรพนิ ทรนาถไดร บั การยกยอ งวาเปนเสมือน “ยอหน ผปู ระกอบพิธศี ลี จมุ ” หรือเรยี กตามสาํ นวน ของหอพระครสิ ตธรรมประเทศไทยวา “โยฮันผูใหบ ัพตสิ มา” คือเปนผูทําหนาที่วางรากฐาน เพื่อใหพระ เยซปู ระกาศสัจธรรมโดยสะดวก ยง่ิ กวา นัน้ บางคนพดู ตรง ๆ เลยวา ตอ งเปรยี บกบั พระเยซเู อง จงึ จะตรงกับความเปนจริงมากกวา แตง านชิ้นตอมาแทนท่ีจะปรากฏในทํานองเอาใจผูอาน รพินทรนาถกลับเสนอบทนพิ นธเ รื่อง “คน ทาํ สวน” (THE GARDENER) เขาชี้แจงอยางไมอ อ มคอ มวา “เพือ่ เหน็ แกพ ระเจา โปรดอยาลมื วา ขา พเจาไมใ ชน ักสอนศาสนา แทท ี่จริงขาพเจาเปนกวตี า งหาก” 62

ปรัชญาชีวติ ของรพินทรนาถ ยดึ มั่นอยกู ับการตอ สู ไมหลีกเรนเอาตวั รอดอยางคนสิ้นคดิ ตอนหนึ่ง ของบทกวนี ิพนธเ รอ่ื ง “ผูห ลบหนี” (THE FUGITIVE) บรรยายวา ชายหนุม คนหน่งึ บําเพ็ญเพียรในปา ลึก เดก็ สาวคนเกบ็ ฟนพบเขาจึงนาํ ผลไมมาถวาย แตช ายหนมุ ไมย อมแตะตอง ชํ้าหลบไปหาทีพ่ าํ นกั แหง ใหม เพ่อื ใหพ น จากการรบกวน ในท่ีสดุ พระอิศวรทรงรับรูในตบะอันแกกลา เสด็จลงมาประกาศวา โยคีรปู นม้ี ี สทิ ธใ์ิ นสวรรคแลว ชายหนมุ กลบั ปฏิเสธวา ไมปรารถนาหรอก มหาเทพทรงซักวาประสงคส งิ่ ใดเลา เขา ตอบวา “ขา อยากพบหญงิ เกบ็ ฟนผูนัน้ ” งานในชีวิตของรพินทรนาถ ไมไ ดจํากดั อยูแตศลิ ปะเพียงดา นเดยี ว ทง้ั ๆ ทไี่ มโดดเขา คลุกคลีกับ การเมืองโดยตรง เขาก็เปนผูรักชาติอยางแรงกลา ไมเกรงตอ การปะทะกับผูใด แมบ ุคคลนั้นจะมีอาชญา สิทธ์ิลนหลา ขณะที่ประชาชนเดินตาม มหาตม คานธี ตอย ๆ หากแลเหน็ วา เรื่องใดอาจกอใหเ กิดความเสีย หาย ก็ทว งออกมาโดยไมออ มคอ ม ดงั ในกรณี “สัตยาเคราะห” คอื การไมร ว มมอื กบั รฐั บาลองั กฤษ รพนิ ทร นาถตง้ั คําถามวา “การไมส นบั สนุนโรงเรียนและวทิ ยาลัย มีความหมายอยางใด? จะใหเ ยาวชนเสยี สละเพอื่ ผลอัน ใด? มันมิใชเพ่อื การศึกษาท่สี มบูรณข ึ้นแน หากกลายเปน เพ่ือการไมศ กึ ษาไปเสยี ตางหาก” เขาไมเ ช่ือวา ลาํ พังคน ๆ เดียวจะรอบรูไปหมด คานธไี มเคยปรารถนาอาํ นาจกจ็ รงิ แตบรรดาสาวก พยายามยัดเยียดอาํ นาจการบริหารใหจนปราศจากขอบเขต ดังนั้นเขาจงึ อทุ ธรณวา “คานธีไมวา จะยงิ่ ใหญขนาดไหน ปจจบุ ันทานไมแบกภาระไวหนักเกนิ กวา แรงของคน ๆ เดียวอยู หรอื ? ภาระอันหนกั ย่ิงของอินเดีย ไมควรอาศยั การตัดสินใจของบคุ คลเพยี งคนเดยี ว มหาตมาเปนผทู รงไว ซึ่งสจั จะและความรัก แตก ารบรรลุถงึ “สวราช” หรือ “การปกครองตนเอง” เปน ปญหาสลบั ซับซอ น พลังท้ัง หมดในชาติตอ งถกู ระดมมาใหหมด นกั เศรษฐศาสตรตอ งคน หาหลกั ปฏิบตั ิอันเต็มดวยประสทิ ธิภาพ นกั การศึกษาตอ งทาํ การสง่ั สอนอบรม รฐั บุรุษตองใชป ญญากําหนดเสนทางไปสอู นาคต กรรมกรตองออกแรง ทาํ งาน” โชคดที ี่ประเทศอนิ เดียยุคนั้นมีความสามคั คแี นน เหนยี ว เกิดปญ หาใดข้นึ ก็ตอบโตด วยเหตุผล คานธไี มถือโกรธและยังคงเรียกเขาเสมอมาวา “คุรเุ ทพ” เชนเดียวกบั ทเี่ ขาเรียกทา นวา “มหาตมา” ดว ย ความเทดิ ทูนตลอดชั่วชีวติ งานย่งิ ใหญข องรพนิ ทรนาถอกี สิง่ หนึง่ คอื สถาบันการศกึ ษา ดว ยใจรักการเปน ครจู นไดรบั คาํ สดุดี วา “คุรเุ ทพ” เขาเร่มิ ตง้ั โรงเรียนขึน้ มาต้ังแตมนี กั เรยี นเพยี ง 10 คน เมอ่ื เดอื นธนั วาคม 2448 ทศ่ี านตินิเก ตัน (หมายถึง สถานที่แหง ความสงบ) สอนกนั แบบ “ครุ ุกุล” ของอินเดยี โบราณ กลาวคือ ครมู ีความ สมั พันธกบั ศิษยเชนเดียวกบั ความชดิ เชอ้ื ระหวา งพอและลกู แลวคอ ย ๆ ขยับขยายออกไปตามกําลังสามารถ กระทั่งอกี 21 ปต อมา จึงยกฐานะข้นึ เปน มหาวิทยาลยั เมือ่ เดือนธนั วาคม 2464 ใหน ามวา “วิศวภารตี” (หมายถึง สถานอนั เปน ท่ีพกั พงิ แหง โลก) 63

ความคดิ ทจ่ี ะกอต้ังมหาวิทยาลัยเชนนี้ เริ่มตง้ั แตร พินทรนาถเดนิ ทางอยูในประเทศเยอรมนั ขณะ น้นั เพง่ิ มกี ารสถาปนา “สันนิบาตชาติ” เขาปรารภกบั ดร.ฟอรท นอรต ัน วา องคการซ่งึ อาศยั อํานาจไมใ ช ศลี ธรรมเปน พนื้ ฐาน ยอ มไมมน่ั คงอยไู ดน าน ควรจะมีสถาบนั การศกึ ษาชนิดท่นี ักศกึ ษาเปน พลเมอื งใน อาณาจกั รแหงอุดมคติเสยี กอ น “สันนิบาตมนุษยชาติ” ท่ีแทจงึ จะอบุ ตั ขิ ึ้น รงษ วงษส วรรค (ขณะท่ียงั ไมไ ดข งั คําวา “หนมุ ” ไวทายชื่อ) บนั ทึกถอยคาํ สนทนากบั เฟอ หริ พทิ กั ษ จิตรกรและอาจารยแ หม หาวิทยาลยั ศลิ ปากรวา “เม่อื ป พ.ศ. 2483 เฟอ เลอื กทางเดนิ ไปอินเดยี โดยออกจากแมสอด ผานเขา ไปทางมะละแหมง จากน้ีโดยสารรถไฟไปจนถงึ ยางกงุ จากยางกุงลงเรอื ไปกลั กัตตา แลวอกี รอยไมลเศษจากจดุ ผา นสดุ ทา ย นี้ เขากถ็ งึ มหาวทิ ยาลยั วศิ วภารตี ณ ศานตินเิ กตัน ท่ีนเี่ ปนท่ีรวมของปญญา เปน ทีร่ วมของนกั คดิ นักปราชญท้งั หลาย เตม็ ไปดว ยเรอื่ งราวของประวัติ ศาสตร วิทยาศาสตร วรรณคดี ภาพเขยี น เสยี งขับกลอมของดุรยิ างค ความออ นชอ ยของการฟอ นรํา และ ความรมเย็นของธรรมชาต”ิ และ ดร.ภวานี ภฏั ฏาจารย ผแู ปลชุมนุมเร่อื งส้ันของรพนิ ทรนาถบางสวนออกเปนภาษาอังกฤษ ใหช อ่ื วา “สําเภาทอง” (THE GOLDEN BOAT) ไดก ลาวไวใ นตนเลมของหนงั สอื นีว้ า “วศิ วภารตีผานการเปลย่ี นแปลงแลว หลายครัง้ หลายหน นับแตว าระแรกซ่ึงถือกําเนิดข้ึน มา อยางไรกต็ ามมันยงั ดาํ รงสภาพความเปน พินัยกรรมแหงศรัทธาและมโนภาพสรางสรรคข อง ทานมหากวีไวด ุจเดิม” 64

๒. ชวี ติ ในแงข องการเปน นกั เขยี น รพินทรนาถ เปน นามซง่ึ รูจกั กนั ในกลุมนกั อานชาวตะวนั ตกวา The Sun of India น่นั คือ ดวงอาทติ ยแหง ประเทศอินเดีย ฐากูร (ฐากรุ – ฐกกฺ ุร) ออกสาํ เนียงอยางชาวตะวนั ตกวา Tagore (ตะกอร) หมายถงึ “เทพเจา ” ปจจบุ ันเปนสกลุ หนึ่งของผูสงั กดั วรรณะพราหมณแ หง รฐั เบงกอล รพนิ ทรนาถ ฐากรู มีประวัตดิ ังนี้ เกิดทีค่ ฤหาสน “โชราสงั โก” เลขที่ 6 ซอยทวารกานาถ ฐากูร, นครกลั กตั ตา, เม่อื วนั ที่ 7 พฤษภาคม 2404 ระหวา งเวลา 02.30 น. ถงึ 03.00 น. กลับมาถึงแกกรรมที่คฤหาสนเ ดิม เมือ่ วันที่ 7 สงิ หาคม 2484 เวลา 12.10 น. (ตามรายงานของ มหาวิทยาลัยรพนิ ทรภารต)ี รวมอายุ 80 ป 3 เดือน เวลาเพยี งเทา นี้ใชว าจะนานนักหนาอะไรสําหรบั การสรา งสรรคของคน ๆ หนึง่ แตเ ขากเ็ ขยี น หนงั สือไวไมตาํ่ กวา 300,000 บรรทัด มที ้ังบทกวี เร่ืองสน้ั นวนิยาย อัตตชีวประวตั ิ และทรรศนวิจารณ ใน ขณะที่วรรณคดีเปรียบเทียบบันทกึ วา กวีมิลตัน เขียนคาํ ประพันธไวไ มเกิน 18,000 บรรทัด นอกจากนัน้ ยังแตงเพลงไวเ ปน จาํ นวนพัน กระทั่งวงการศิลปะของอินเดยี ตองแยกประเภทไวตาง หาก ในนาม “รพินทรสังคตี ” ซ่งึ ใชศึกษากันถึงระดับปริญญาและยังมีงานจิตรกรรมอันเคยแสดง ณ GALERIE PIGALLE แหง กรุงปารสี จาํ นวน 125 ชิ้น 65

นกั เขยี นผนู ี้แหละคอื เจาของบทนิพนธเ ร่ือง “จันทรเ สย้ี ว” แตดวยขอ จํากดั ทางภาษา เราตอง อานจากสาํ นวนแปลซึง่ ไมใ ชเ รื่องสะดวกสบายเลย จิตตนิ ธรรมชาติ ก็เคยสาธกขอ ยงุ ยากท้ังฝา ยผแู ปล และฝา ยผูอา นในความเรียงบทหน่งึ ไวอ ยา งละเอยี ดรอบดา น ภารกิจทางฝายผูแปลนน้ั ประการหน่งึ เขาแนะนําวา “...เราจาํ เปนจะตองรจู กั ชวี ประวตั ิของผู ประพันธเปนอยางกวางขวางทส่ี ุด และลํ้าลกึ ที่สดุ เทาท่ีพึงสอบคนมาศกึ ษาได เพ่อื ทวี่ าการแปลถายนัน้ ๆ เราจะไดส ามารถเขาไปนง่ั อยใู นความคิดจติ ใจของทา นผูประพันธอยา งถกู ตอ ง – หรืออยางนอยทีส่ ดุ ก็ใกล เคียงกับความถกู ตอ ง” ภารกิจทางฝายผอู า นเลา เขาก็ใหขอ สงั เกตไวเชนกนั วา “ชวี ประวัตขิ องผูประพนั ธตามท่รี ะบลุ งไว วา เปน ความสาํ คญั อยางหนงึ่ ของการแปลนวนิยายจากภาษาตางประเทศน้ัน วา กันทจ่ี รงิ ความสาํ คญั ขอนมี้ ิ ใชแ ตเพียงจะสําคญั สาํ หรบั ผแู ปลฝา ยเดยี ว แตต องนบั วาเปน ความสาํ คัญซงึ่ ถาหากผูอา นไดร บั ทราบไว ดว ยพอสมควร กจ็ ะทาํ ใหเกดิ รสชาติในการอา นสมบรู ณขนึ้ ” รพินทรนาถ ออกเดนิ ทางไปยุโรปและสหรฐั อเมริกา ในป พ.ศ. 2455 เพอื่ การพกั ผอ นและรักษา ตวั เนอ่ื งจากสุขภาพทรุดโทรมอยา งหนกั ขณะนนั้ มีอายุได 50 ปแ ลว แตค วามทรงจําเกย่ี วกับปฐมวยั ยงั แจมชดั เหมอื นแลเหน็ ภาพเขียนของจติ รกรซึง่ ประดบั ไวเบ้อื งหนา ในระหวา งทางเขาจงึ ลงมือบันทกึ ความ คลคี่ ลายของชวี ิตโดยมลี ําดบั ดังน้ี การศกึ ษาขนั้ ตน ของรพินทรนาถเริ่มขึน้ ที่บาน พรอมกับเด็กผูช ายซง่ึ เปนญาตกิ ันอกี สองคน โดย จางครูพเิ ศษมาสอน ตอมา สัตยา ลกู ของพส่ี าวซึง่ มอี ายแุ กกวาสองปถกู สงไปโรงเรียน ตกบายกลบั มาเลา อะไรตอ อะไรใหฟ ง อยา งสนุกสนาน ดวยเหตทุ ี่รพินทรนาถไมเ คยนัง่ รถมา หรอื แมแตอ อกนอกบริเวณบา น รุง ข้นึ จึงรอ งไหต าม ครูพยายามปลอบก็แลว ขูกแ็ ลว แตไมเงยี บ เลยตบเขาใหฉาดพรอมท้ังพดู วา “เด๋ยี วน้ี เธอรอ งไหจ ะไปโรงเรียน แตวันขา งหนาเถอะจะรอ งยิง่ กวา นเ้ี พราะอยากลาออก” ขณะเขยี นบนั ทึกเขาจําชอ่ื ครู รูปรา ง ตลอดจนนิสัยใจคอของครไู มไดแ ลว แตความประทับใจตอ คําพูดน้นั ยังไมจาง มนั ชา งเปนคําพยากรณทแี่ มน ยําท่ีสุด ตลอดชีวติ ไมเคยไดย ินคําพยากรณซงึ่ ตรงตอ ความเปน จรงิ เชน น้ันเลย นอกเวลาเรยี น รพนิ ทรนาถถูกจาํ กดั อาณาเขตอยูใ นเรือนคนใช ทางดานตะวนั ออกเฉยี งใตของ คฤหาสน คนใชคนหนง่ึ ชอื่ ศยาม ตวั ดาํ เปนเหนยี่ ง รปู รางลา่ํ เตีย้ และเสนผมหยกิ เปนกนหอย ผูซงึ่ เดนิ ทาง มาจากตําบลขลุ นาเปน คนดแู ล คนใชคนนจี้ ะเลอื กจุดเหมาะ ๆ เขาสกั จุด แลว หยิบชอลกลากวงกลมปราด ลงไป ออกคาํ ส่งั ดว ยหนาขมงึ วาอยาบงั อาจเขยือ้ นออกนอกเสน แลวรพนิ ทรนาถก็น่ังสงบอยใู นน้นั ตลอด ทั้งวนั เขาเชื่อฟง โดยดุษณี เพราะเคยอานคมั ภีรร ามายณะและพบความตอนหนึง่ วา นางสีดาถูกลกั พาตวั ไปทนทุกขอยูนานในกรงุ ลงกา เนื่องมาแตเหตทุ ฝี่ าฝน เดินขา มเสนที่ลักษมนั ขดี ก้ันไว 66

คมั ภีรรามายณะผานเขา มาในชวี ิตของรพนิ ทรนาถ ดว ยอาการทีร่ วดเรว็ ดุจฟาแลบในเวลากลางคืน แหง ฤดมู รสุม วนั หนงึ่ ขณะเลนอยคู นเดียวบนระเบียงคฤหาสน มองเพลินไปยงั ทอ งถนน ตอนนั้นกําลงั ครึม้ ฟา ครม้ึ ฝน ไมร ูวา สตั ยาโผลมาตัง้ แตเ มอ่ื ไร ตะโกนเสยี งล่ันวา “ตํารวจมาแลว ! ตาํ รวจมานน่ั แนะ !” รพนิ ทร นาถไมแ นใจวาหนาทขี่ องตาํ รวจคอื อะไรบาง รเู พยี งเลา ๆ วาเกี่ยวของกบั อาชญากรรม เมือ่ ตกอยูในเงอ้ื ม มอื ของตาํ รวจ ก็เหมือนผูเ คราะหร า ยถกู จระเขง ับ มันจะคาบลงสใู ตทองนา้ํ แลวหายไปเลย ดงั นั้นเขาเผน พรวดเขา ในหอ งแม เลา ใหฟงอยา งไร แมก็แสดงอาการเฉย ๆ เขาจึงน่ังลงและหยบิ คมั ภรี รามายณะมาอาน ถึงตอนเศรา ก็อานพลางรองไหพ ลาง ยายเขา มาพบเลยดงึ หนงั สอื ไปเสีย น่นั แหละบรรยากาศหมน หมอง คอ ยสงบลง วันทงั้ วันหากถูกกกั อยใู นบริเวณเรอื นคนใช เขาจะนง่ั มองออกไปขา งนอกหนา ตาง ชมไทรยอ ย ขนาดมหึมาและแนวมะพราวพอคลายเหงา ตั้งแตเ ชาผคู นจะเดินมาอาบนาํ้ ในสระ ใครมาเวลาไหนและ กระทาํ ส่งิ ใดเขาจาํ ไดหมด กระท่ังเวลาเทยี่ งคนหายไป นกเปดน้ําจะบินมาเปน ฝงู ไซปกขนจะสะอาด สะอาน ภาพเหลา น้ไี ดสมั ผสั ใน “จันทรเสยี้ ว” มาแลว หลายตอน ระหวางอายุ 6 ถงึ 15 ป รพินทรนาถเขาเรียนสามแหง คือ โรงเรยี นโฮเรยี นทัล เซมินาร่ี, โรงเรียน นอรม ัล, และโรงเรียนเซนท ซาเวียร’ส นอกจากเรียนตามหลักสูตรแลว พ่ชี ายคนท่สี ามยังสรรหาครูพเิ ศษ มาสอนทบี่ านอีกหลายคน ดูแลวจะหนกั กวาทโี่ รงเรยี นเสยี อกี เร่มิ ตงั้ แตกอนสวางเปนวิชามวยปล้ํา พอปด ฝนุ ออกจากตวั ก็เรยี นวิชาวรรณคดี คณิตศาสตร ภมู ศิ าสตร และประวัติศาสตร... จากนน้ั ไปโรงเรยี น พอก ลับมาถึงบา นกเ็ รียนวชิ าวาดเขียน กายกรรม และภาษาองั กฤษ สามทุม นน่ั แหละจึงเสรจ็ สว นเชาวันอาทติ ย ตอ งเรียนวชิ าขับรอง และวิทยาศาสตรเปน การเพ่ิมเตมิ ในจํานวนครูพเิ ศษดว ยกัน ตองยกใหค รสู อนภาษาอังกฤษเปน ยอดแหงความเขม งวด ครูเปน นกั ศึกษาวิชาแพทยศาสตร ต้ังแตสอนเคยหยุดวนั เดยี ว เน่ืองมาจากการวิวาทระหวางนักศึกษาชาวอินเดียและ พวกลูกผสมยุโรป ไมร วู าฝา ยใดโยนมานง่ั มา ครูหลบไมท ันเลยหวั แตก นอกน้ันไมเคยหยดุ แมวนั ทฝี่ นตก หนกั นํา้ ในซอยทว มถงึ เขา พอไดเ วลารม สีดํากโ็ ผลตรงหวั เลย้ี วพอดี ไมคลาดเลยแมนาทเี ดียว แววกวีของรพนิ ทรนาถเร่ิมปรากฏในชว งน้ันเชนกัน นกึ อะไรขึ้นไดกจ็ ดไวในสมดุ สว นตัว พี่ชายพบ เชาเกดิ ต่นื เตน ใหญ ชวยประชาสัมพนั ธอ ยา งเกรยี วกราว วันหนง่ึ นวโคปาล มติ เตอร บรรณาธกิ าร The National Paper แวะมาธรุ ะ พีช่ ายฉวยโอกาสแนะนําวา “นี่แนะ นวโคปาล บาบ!ู จะไมล องฟงบทกวขี องรพบี า งหรอื ?” ทานบรรณาธกิ ารเลยตอ งหยดุ ฟงตรงหัวบันไดน่ันเอง อกี คนหน่งึ ทเ่ี ปนกาํ ลงั สาํ คัญ คือ คุณครสู ตั การี แหงโรงเรียนนอรม ัล อันทจ่ี ริงครคู นนไ้ี มไดส อน ชัน้ ของรพินทรนาถ แตก ็ชอบพอกันดี ครูเลยแตง แบบเรียนเกยี่ วกบั วชิ าประวัตธิ รรมชาติ ไมร ูวาดว ยเหตผุ ล 67

ใด ครเู รยี กไปพบ ถามวา “เธอเขียนบทกวีดว ยหรอื ?” เขารบั วา ใช จากนน้ั ครมู กั เรียกไปพบเสมอ ย่นื คํา ประพนั ธใหท อ นหนึ่งแลว สั่งใหเ ขยี นตอ ครูประพฤตแิ ปลก ๆ เชน นี้เสมอจนแยกยายจากกันไป รพินทรนาถอา นหนังสอื ไดทุกประเภท และอา นดวยอาการของคนหวิ คร้งั หนง่ึ พบหนังสอื “คีตาโร วนั ทะ” ของกวีชัยเทพ พมิ พเ ปน ตัวอักษรเบงกาลี เขาอานรวดเดยี วจบ ทง้ั ๆ ทไี่ มเ ขาใจโศลกสนั สกฤต เลย ก็ยังวา เปนทาํ นองเสนาะเสยี งเจื้อยแจว กังวานดนตรีแหงตวั อกั ษรทาํ ใหตองลงทุนคัดลอกไวเ ปน สมบัติของตนเองทั้งเลม ระหวางนน้ั มกี ารจัดงานประจาํ ปซ่ึงเรยี กวา “ฮินดูเมลา” โดยมี นวโคปาล มิตเตอร เปน ประธาน วัตถปุ ระสงคคือพยายามสรา งความสํานึกในหมูประชาชนวา อินเดยี เปน มาตภุ มู ิอันควรแกก ารปกปอ ง มีการ แสดงศลิ ปะและหัตถกรรมพนื้ เมือง พช่ี ายคนท่ีสองของรพนิ ทรนาถแตง เพลงชาติใหช ือ่ วา “ภารตชยั ” เพอ่ื บรรเลงในงาน สว นตวั เขาเองเขยี นบทกวปี ลกุ ใจ พาดพงิ ไปถึงงานมหกรรมเดลฮเี ดอรบาร โดยความดาํ ริ ของ ลอรด ลทิ ทนั ดวยทาทีเยาะหยัน เพราะเปนความสนกุ สนานทามกลางภาวะขาดแคลนซ่งึ กาํ ลงั ครอบ คลมุ ทกุ หัวระแหง ความโดงดังของรพนิ ทรนาถวัย 14 ป ทําใหไ ดรับสมญาวา “เกอเธแ หงอินเดีย” ยิง่ กวาน้ันอกี สองปตอ มา พ่ีชายคนโตรบั เปนบรรณาธิการนิตยสาร “ภารต”ี ซ่ึงชว ยกันทําโดย สมาชิกในครอบครวั รพนิ ทรนาถก็ถกู บรรจุเขา ในกองบรรณาธกิ ารดว ย ฉบบั ปฐมฤกษเขาเขียนคําประพนั ธ ขนาดยาวใหช่อื วา “เร่อื งราวของกวี” (The Poet’s Story) เพ่อื นของรพินนาถชอบใจ คัดลอกเอาไป พิมพเปนเลนโดยไมป รกึ ษา เสร็จแลว จึงคอ ยสงมาให โทษทเ่ี พอื่ นไดรบั ไมใชจากผเู ขยี น แตเ กิดจากสา ธารณชนคนอา น ทราบวาหนงั สือชุดน้ันเหลือมากมาย ทําเอาผูจ ดั พมิ พย ากจนไปนาน คํากลาวทวี่ าพอตื่น ขึ้นมาในเวลาเชา กพ็ บวาประสบความสาํ เรจ็ แลว คงเปนเรื่องคุยกันสนกุ ๆ กันมากกวา นกั เขียนไมไดเ กดิ ข้ึนอยางงา ยดายเลย รพนิ ทรนาถยังฝกฝนอกี นาน เขาเรม่ิ ใชกระดานชนวนเพ่อื จะไดล บโดยไมตอ งเสียดาย ทกุ ครั้งท่ี หยิบกระดานข้นึ เขารูสึกคลายกบั ไดย ินมนั พูดวา “อยา กลวั เขียนลงมาตามใจชอบ ลบเพียงครง้ั เดียวก็หายหมด!” บิดาของรพินทรนาถ คอื เทเวนทรนาภ ฐากรู มีความมุง หมายจะใหล กู ชายศกึ ษาวิชากฎหมาย จึงสง ไปประเทศองั กฤษ เมื่อวนั ที่ 20 กันยายน 2421 ตอนนัน้ เขาอายุ 17 ปแลว ครั้งแรกเขาเรยี นทโ่ี รง เรยี นไบรทัน แลว ไปตอทยี่ ูนเิ วอรซ ิตี้ คอลเลจ แตเ ขามักใชเ วลาศกึ ษาดนตรตี ะวันตกบา ง เขาชมวัตถุ โบราณในพพิ ธิ ภัณฑสถานบาง หรือมโี อกาสกฟ็ ง อภปิ รายของนักการเมืองฝปากเอกอยา ง แกลดสโตน ใน สภาผูแ ทนราษฎร และยงั เขียนบทประพันธส งมาลงพิมพในกลั กัตตาอยูเนืองๆ เขาเกลียดลัทธจิ กั รวรรดินิยม แตไมเ กลียดชาวตา งประเทศเปนสวนบุคคล ขณะอยูในอังกฤษเคย พบคนเลว และเคยถูกคดโกง แตเขากย็ นื ยนั วาคนดียังมีอีกมาก ทน่ี าแปลกใจคอื นักเรยี นในโรงเรียนไบร ทัน ไมเ คยหยาบคายตอ เขาเลย ตรงกนั ขามพวกนัน้ ยงั เอาสม และแอปเปลใสกระเปาใหบ อยๆ แลว วง่ิ หนี ไป 68

วนั หน่งึ ในฤดูหนาว รพนิ ทรนาถเดนิ ไปตามถนนในทนั บริดจ เวลส เห็นชายคนหนึ่งยืนอยขู างทาง รองเทาขาดและน้ิวโผลย ื่นออกมา เขาหยบิ เหรียญสงให สักครชู ายคนนน้ั วิ่งตามหลัง พลางรองวา “ทา น ครบั ทา นหยิบผิดแลว นี่มันเหรียญทองนะ” พูดจบก็สง คนื ให นักศึกษาทางสงั คมใหข อ คิดอีกประการหน่งึ วา การท่เี พ่อื นรวมชาตไิ มยกยองรพนิ ทรนาถเทากบั บคุ คลชั้นนําอน่ื ๆ ก็เพราะเขายดึ มั่นตอ อุดมคติแหง สากลนยิ มน่นั เองเปนสําคัญ รพนิ ทรนาถเดินทางกลับในป พ.ศ. 2423 โดยไมไ ดร บั ปริญญาใดๆ เลย เหตผุ ลคงเชนเดยี วกับที่ ศรบี รู พา เขียนถงึ หมอ มเจาอากาศดําเกงิ วา “ขาพเจาไมท ราบการศกึ ษาอยางละเอยี ดของหมอ มเจา อากาศฯ ทตี่ า งประเทศ แตทราบวาหมอ ม เจาอากาศฯ ไมไ ดรบั ปรญิ ญาในทางกฎหมาย และไมไดร ับเพราะเหตใุ ด ขา พเจาก็ไมทราบอกี ทราบ แนนอนวาเพื่อนของขา พเจาคนนี้ ไมใ ชคนโงเขลาหรอื ปญ ญาทึบ ขาพเจาเขา ใจวา เหตุหนึง่ ซ่งึ ทาํ ให หมอมเจา อากาศฯ ไมไดปรญิ ญากฎหมาย เพราะหมอ มเจาอากาศฯ ไมม หี วั ในทางกฎหมาย หมอ มเจา อากาศฯ เกดิ มาสาํ หรับเปนนกั ประพนั ธ ตามทคี่ ําพรรณนาของหนังสือ “ละครแหง ชีวติ ” บอก ถาหมอม เจา อากาศฯ จะทรงเปน อยา งอน่ื ทา นจะตองถูกปนใหเปน ” ชวี ติ ครอบครวั ของรพินทรนาถ เรม่ิ ข้ึนเม่อื วันท่ี 9 ธนั วาคม 2426 ขณะมอี ายุ 22 ป โดยสมรสกบั มฤณาลินี เทวี จากนัน้ กเ็ ขยี นหนงั สอื อยา งจรงิ จงั รวมท้งั เขยี นบทละครดว ย ในทรรศนะของเขา “บท ละคร คือ การแสดงออกซึ่งความคิดเปนสาํ คัญ ไมใชการบรรยายอากัปกิรยิ า” พรอมกนั เขาก็รว มแสดงอยู หลายเร่ือง นักประพนั ธไมใช “อเสกขบุคคล” กลา วคือ ยังตองศกึ ษาตลอดไป ในภาระดานน้รี พินทรนาถ ปฏิบัติอยูเ ปน นจิ โรแมง โรลลองค นักเขยี นและนักวจิ ารณช าวฝรัง่ เศสผไู ดรับรางวัลโนเบลสาขา วรรณกรรมประจาํ ป พ.ศ. 2458 เลาวา “หนังสือทเ่ี ขาอานตอ งนับวาเปน ส่ิงควรแกการประหลาดใจอยางยง่ิ มที ้งั ดาราศาสตร ชีววิทยา และวิทยาศาสตรแ ขนงตา ง ๆ หนังสอื วาดว ยการทอ งเทีย่ วทางภูมิศาสตรข อง สเวน เฮดนิ นักสาํ รวจชาว สวีดชิ ก็เปนเลมโปรดของเขา” ฉะนนั้ ไมน าสงสัยเลยท่ีเขาสามารถเขียนไดด วยความรอบรู นกั อา นทั้งหลายเรียกบทนพิ นธเ ร่อื ง “นกเถื่อน” (Stray Birds) วาเปน “คมั ภีรแ หงญาณปญ ญา” (Book of Wisdom) ลองพิจารณาดู เถิด - กลมุ ดาวไมล ะอายเลยวา มันจะปรากฏออกมาในลกั ษณาการเดียวกับฝงู หงิ่ หอ ย - นกกระจอกสงสารนกยูง ที่ตองทนแบกน้ําหนักหางของตัวเอง - “ใครนน่ั จะรบั ชวงภาระของขา?” อาทิตยอัสดงรองถาม - “ขาจะทําเทา ท่ีสามารถกระทาํ ได นายครับ” ตะเกียงดนิ ตอบ - ควนั โออ วดกับทองฟา และขเ้ี ถา คยุ เขอ่ื งกบั ผืนแผน ดิน วามนั ท้ังสองเปนนองชายของอัคคี 69

ผซู งึ่ เขียนหนังสือเปน อาชีพ โดยเฉพาะรายทีย่ ดึ คุณภาพเปนหลัก นอยคนนักที่จะประสบความ สําเรจ็ ในดา นการเงิน รพนิ ทรนาถเปน คนชอบเปล่ยี นที่ทํางานบอ ย ๆ จึงหาทางออกดว ยการสรางกระทอม ดิน และบานขนาดยอมในรปู ทรงแปลก ๆ ภายในบรเิ วณเดียวกนั เชน ท่ีเรยี กวา “ศยะมาลี” และ “ตาล ธวชั ” โดยเอาตน ตาลซง่ึ ยงั มีชีวิตอยูเปน เสากลาง สวนคฤหาสน “ อุทยาน” ลกู ชายเปนหัวเร่ยี วหัวแรงจดั สรางภายหลงั เพือ่ เปนสถานท่ีตอนรบั แขกคนสาํ คัญซงึ่ เดินทางมาเยีย่ มเยียนมไิ ดขาด ในฤดูรอ นของเบงกอลมคี นตายเพราะพษิ แดดทุกป เขาจะหลบไปพกั ตากอากาศแถบเชงิ เขาแหง ไหนก็ได แตย ังสมัครใจเขยี นหนังสืออยูภายใตหลงั คาเตยี้ ๆ ภายในหองซ่ึงมีเคร่ืองเรอื นราคาไมเ กินสิบรปู  และบอยทีเดยี วไมใ ชพ ัดลม เขาช้แี จงวา พลเมืองจาํ นวนหนึง่ ในสามของประเทศก็อยูเ ชนนน้ั ตกค่ํายงุ รอ ง หึง่ เหมือนเครอื่ งยนตขนาดมหึมา ซ้ํางูพิษยังโผลออกมาใหเห็นเสมอ อาหารของเขาใสจ านหินออนสวยงาม ตามวิสยั ของผรู กั ความปราณีต แตเปนอาหารธรรมดา เหมือนทีช่ าวบา นกินกนั เสอื้ คลุมแลดสู งากต็ ัดจากผาพ้นื เมอื ง รพินทรนาถไมทาํ ตัวใหเปนภาระแกใคร แม กับคนในครอบครวั เดียวกัน เขานยิ มส่งิ เรียบ ๆ งาย ๆ คร้งั หนง่ึ ขณะโดยสารรถไฟ พนักงานแตง เคร่ือง แบบนําขนมปงอบเนยมาสงให เขาเรียกเลขานุการมาถามราคา เลขานุการตอบวาแปดแอนนา เลยตองอ บรมวา “อะไรกนั ขนมปงกบั เนยแคน ีเ้ อามาเองก็ไดน ีน่ า!” หลงั จากใชชวี ิตรวมกันมา 19 ป มลี กู 5 คน มฤณาลินี เทวี ก็ถงึ แกกรรม เม่ือวันที่ 23 พฤศจิกายน 2445 รพนิ ทรนาถไดเขยี นบทกวีขึ้นเพ่อื เปนเครอื่ งรําลกึ ถึงความหลัง ใหชื่อวา “สมรณะ” หมายถงึ “ความ ทรงจาํ ” แทนทีจ่ ะทอแทส ิ้นหวงั เขากลับประกาศชยั ชนะออกมาวา “แตว ันนีฉ้ ันตระหนักวา เราทง้ั สองไดพ บกนั แลว ณ สว นลึกแหง หวั ใจ” อกี หกเดอื นตอ มา แพทยม ีคําส่ังใหนาํ เรณกุ า ลกู สาวคนทสี่ องไปรักษาตวั ยังสถานพยาบาลบนภู เขา ขณะอยเู ปนเพือ่ นลูกสาวทางโนน รพินทรนาถปลีกเวลาเขียนบทกวเี ร่อื ง “ศศิ ” หมายถงึ “เด็กๆ” สง มาใหญ าตชิ ว ยอานใหลกู ชายคนสดุ ทองชือ่ สมินทรนาถ วัยแปดขวบฟง ขณะนนั้ เขาอายุ 42 ปแลว เรียก วา เปน ผใู หญเต็มตัว ผานงานและเหตกุ ารณมามาก จึงสามารถเขียนไดอยา งละเอียดลกึ ซ้งึ ภายหลังแปล บางสว นออกเปนภาษาองั กฤษ ใหชอื่ วา “The Crescent Moon” คือ “จันทรเส้ียว” เลมนี้ ชวี ิตในดานสวนตัว รพนิ ทรนาถทุม เทใหแกล กู ๆ อยางเต็มกาํ ลงั สามารถทาํ หนาท่ีท้งั พอและแมใน ขณะเดียวกัน บทเพลงทเี่ หก ลอ ม นยิ ายส้ัน ๆ ที่เลาใหลูกฟง กลายเปน วรรณกรรมอันบริสุทธง์ิ ดงาม ลีลา มยมุ ดาร อดตี อาจารยผ ูบ รรยายวชิ าภาษาตะวันตก แหง มหาวิทยาลัยวศิ วภารดี และเปน นักจดั รายการ สาํ หรับเด็กทางวิทยกุ ระจายเสียง วจิ ารณไวว า “มักมีการกลา วกันเสมอวา นักเขยี นเร่อื งสาํ หรับเดก็ ตอ งปนลงมาจากภาวะของผูใหญ แลว ทาํ ตัว เปนเดก็ คนหนึง่ แตนค่ี วรถือเปน กรณีพิเศษ รพนิ ทรนาถ ฐากูร ไมเคยปน ลงมาจากท่ีสูง ซ่ึงเปนแหลง 70

พํานักวิญญาณของเขา ทั้งไมเคยทําตัวเปน เด็กหรือพดู ดว ยภาษาเดก็ กระน้นั ความคิดฝนอันซอ นเรน ของ เด็กๆ กม็ ิไดเปนความลับของเขาแตป ระการใด” มหาวิทยาลยั ออกซฟอรดตดิ ตามผลงานของรพินทรนาถมาตลอดเวลา ในท่สี ุดลงมตใิ หค ณะผู แทนนาํ ปริญญาอักษรศาสตรดษุ ฎีบัณฑิตกติ ติมศกั ดิ์ มามอบใหถึงมหาวทิ ยาลัยวิศวภารตี เมอื่ วนั ที่ 7 สงิ หาคม 2483 จากน้ัน เขาตอ งเดินทางไปพกั รักษาตวั เกีย่ วกบั โรคกระเพาะปส สาวะทกี่ าลมิ ปอง ซงึ่ เปนเมืองอยู ทเ่ี ชงิ เขาหมิ าลัย หลังจากกลับมาแลว อาการกย็ ังไมดีขึ้น แพทยว นิ ิจฉัยใหไปรับการรกั ษาในเมืองกัลกตั ตา หลงั ผาตดั มือสั่นจนเขยี นหนังสอื ไมเ ปน ตัว แตทวาสมองยังแจม ใสโลดแลน ตอนเชาของวนั ที่ 30 มถิ นุ ายน 2484 เขาอาศัยบอกปากเปลาใหเ ลขานกุ ารจดบทกวชี ิน้ สดุ ทา ย ซ่งึ จบลงดว ยวรรคทว่ี า “รางวลั ชน้ิ สดุ ทา ย ซงึ่ เขานําไปไปรวมไวใ นทเี่ กบ็ ของ คือ สิทธอิ ันมิอาจทาํ ลายได มนั หมายถึง สิทธทิ ่จี ะพักผอนอยา งสงบ” คลา ยกบั จะเปนการยนื ยนั ความเชอ่ื ทีเ่ คยเขียนไวครั้งหนึง่ นานมาแลว ในบทนิพนธ เรอ่ื ง “นก เถือ่ น” ครง้ั น้ันเขาเขยี นวา “การพักผอนเปน สมบัติของการทํางาน เชน เดียวกบั เปลือกตาเปนสมบัติของดวงตา” ภายหลงั จากการใชช วี ติ สมกบั คา แหง ชวี ิต เพื่อประเทศชาติของตนเอง และเพือ่ ความเขา ใจอนั ดี ระหวา งชาวโลก ทงั้ ที่มหี ลักแหลงอยูท างตะวันตกและตะวนั ออกแลวเขากห็ ลบั ตาลงตลอดกาล ในวนั ท่ี 7 สงิ หาคม 2484 ณ คฤหาสนหลังเดยี วกบั ทเี่ ขาถือกําเนิดขน้ึ เม่อื 80 ปกอ นโนน เปนการยากที่จะรูจักกวีคนหนึง่ ใหถองแท โดยอาศยั กระดาษเพียงไมก ี่หนา แตก ็ไมใชเปน สิ่งสุด วิสยั เพราะรพินทรนาถเองก็กลาวแยม ๆ ไวว า “I am the poet. You can never get the poet in his biography” “ขาพเจาเปนกวี ทานจะรจู ักกวไี มไดเลย หากอาศัยแตชีวประวตั ิ” นั่นคอื เราจะพบคุณสมบัตอิ ืน่ ๆ ของเขาอีก ดงั ท่ีชําแรกอยูในบทนิพนธตลอดเลม นีแ้ ลว 71


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook