Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 9 การตรวจสอบรายได้และค่าใช้จ่าย

หน่วยที่ 9 การตรวจสอบรายได้และค่าใช้จ่าย

Published by Patumwadee Sophathorn, 2020-01-03 05:44:55

Description: หน่วยที่ 9 การตรวจสอบรายได้และค่าใช้จ่าย

Search

Read the Text Version

หนวยท่ี 9 การตรวจสอบรายไดแ ละคาใชจา ย สาระการเรยี นรู 1. การตรวจสอบรายได 2. การตรวจสอบการซอ้ื สนิ คา 3. การตรวจสอบตนทนุ ขาย 4. การตรวจสอบคาใชจา ยในการขายและบรหิ าร 5. การตรวจสอบดอกเบยี้ จา ย 6. การตรวจสอบเงนิ เดือนและคาแรง สมรรถนะการเรียนรู 1. อธิบายการตรวจสอบรายไดไ ด 2. อธิบายการตรวจสอบการซือ้ สนิ คา ได 3. อธิบายการตรวจสอบตน ทนุ ขายได 4. อธบิ ายการตรวจสอบคา ใชจา ยในการขายและบรหิ ารได 5. อธบิ ายการตรวจสอบดอกเบี้ยจา ยได 6. อธิบายการตรวจสอบเงนิ เดือนและคา แรงได สาระสาํ คญั รายไดและคาใชจายเปนส่ิงท่ีสําคัญในการธุรกิจท่ีผูสอบบัญชีควรใหความสนใจ ในการตรวจสอบ เนื่องจากทําใหทรายผลการดาํ เนินงานของกิจการซึ่งสงผลตอผลู งทุน ผูบริหารของกิจการ หนวยงานราชการ ตลอดจนเจาหนี้ที่เก่ียวของ การตรวจสอบบัญชีรายได คาใชจายใหถูกตอง อาจชวยทําใหทราบถึงสินทรัพย และหนส้ี ินท่ยี ังบันทึกไมค รบถวน ไดแก การตรวจสอบการอนมุ ัติ การขายสนิ คาหรอื บริการ การสงมอบสินคา หรือบรกิ าร การรบั ชําระเงนิ จากลกู คา

1. การตรวจสอบรายได การตรวจสอบรายได มักจะตรวจสอบพรอมกับสินทรัพยหรือหนี้สินที่เกี่ยวของ เชน รายไดจากการ ขาย ตรวจสอบพรอ มกบั ลูกหนี้และคา เผ่อื หนีส้ งสยั จะสูญ รายไดคาเชาตรวจสอบพรอมกบั รายไดค า เชาคางรับ เปน ตน รายได (Revenue) ประกอบดว ย รายไดจ ากการขาย รายไดจากการใหบ รกิ าร และรายไดอน่ื ซ่งึ เปน รายไดจากการดาํ เนนิ งานนอกจากรายไดจากการขาย วตั ถปุ ระสงคข องการตรวจสอบรายได 1. รายไดจากการขายเกดิ ข้ึนจรงิ บนั ทกึ บญั ชีถกู ตอ ง 2. การบันทึกรายไดตามรายการสนิ คาทีส่ ง มอบใหลกู คา 3. เงอ่ื นไขการขาย การรบั คนื สนิ คา และสว นลดมกี ารอนุมตั ิถกู ตอง 4. รายไดจากการขายและรายไดอ ่ืนเปนรายการท่ีกจิ การมีสิทธ์ิเรยี กเก็บเงินรายไดจ ากการขาย มีการ แสดงรายการ และเปด เผยขอ มลู ในงบการเงินเปนไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน วิธีการตรวจสอบรายได 1. วิเคราะหเปรียบเทียบรายไดจากการขายปปจจุบันกับปกอน พรอมวิเคราะหการเปลี่ยนแปลง ในอัตราสวนทางการเงินท่ีสําคัญ เชน อัตรากําไรขั้นตน อัตราหมุนเวียนกําไรของลูกหนี้ เชน การวิเคราะห เปรียบเทียบเปน วิธีการทีช่ วยใหผ ูสอบบัญชีทราบแนวโนมเห็นความผดิ ปกติ แตไ มใชว ิธีการใหคําตอบที่ชัดเจน ตองใชว ธิ กี ารตรวจสอบในการตรวจสอบ 2. ตรวจสอบสมุดรายวันขาย โดยตรวจสอบยอดรวมในสมุดรายวันขายกับบัญชีแยกประเภทรายได จากการขาย หรอื บัญชีอ่นื ที่เก่ียวขอ งและทดสอบการบวกเลขในสมดุ รายวนั ขาย 3. ตรวจสอบความถูกตอ งของรายการขาย โดยดาํ เนนิ การดังน้ี 1.สุมตวั อยา งสาํ เนาใบกาํ กบั สินคา และใบสงของที่มลี ายเซ็นลูกคา 2. ทดสอบการคํานวณและการบวกเลขยอดในสําเนาใบสงของ ในการตรวจสอบบิลขาย กบั รายการในสมุดรายวันขาย ควรตรวจสอบวา เลขทีบ่ ิลขายเรียงลําดบั ครบถว น บิลขายที่ยกเลิกตดิ อยใู นเลม ท้ังชดุ พรอ มทงั้ ทดสอบการบันทกึ รายการภาษขี ายในรายงานภาษขี าย 3. ตรวจดวู าการขายเปนไปตามวงเงนิ ที่ไดรับอนุมัติถกู ตอ ง 4. ตรวจสอบการรับคืนสินคาและสวนลด ตรวจสอบการรับคืนสินคาโดยตรวจกับใบรับคืนสินคา บัญชีคุมสินคา และการบันทึกบัญชีลูกหนี้รายตัว การตรวจสอบการใหสวนลด ควรตรวจสอบใบลดหน้ี กับสมดุ รายวนั ขาย และตรวจสอบใบลดหนี้วา ไดรับอนมุ ตั ิอยา งเหมาะสม 5. ตรวจสอบตัดยอดขาย เปนการตรวจสอบเพื่อใหแนใจวาครบถวนสมบูรณตรงตามงวดบัญชี ของยอดขาย ทั้งนี้เพราะยอดขายท่ีปรากฏในบัญชี อาจสูงกวาความเปนจริง เน่ืองจากเจาหนาที่ของกิจการ

อาจบันทึกรายการขายตอนส้ินปคลาดเคล่ือน ผูสอบบัญชีควรตรวจสอบการตัดยอดขายและลูกหน้ีพรอ มกับ ตรวจตัดยอดสนิ คา คงเหลอื วธิ ีการตรวจสอบตัดยอดขายมีขัน้ ตอนดังนี้ 1. ตรวจสอบลายเซ็นของผรู บั สินคาและวนั ทรี่ บั สนิ คาวา มีการสงมอบสนิ คา จริง 2. ตรวจสอบการบันทกึ รายการขายในสมดุ รายวนั ขายและผานรายการไปยงั บัญชีแยกประเภททั่วไป 3. ตรวจสอบการบนั ทึกบญั ชลี ูกหนี้ และบญั ชีลกู หน้ีรายตัว 4. ตรวจสอบการตัดบัญชสี นิ คาคงเหลอื ตามบัญชคี ุมสนิ คา วันทบ่ี นั ทึก เลขท่ีใบกํากับ เงอ่ื นไข วันท่สี ง ของ เลขท่ีใบสง ของ จาํ นวนเงิน บญั ชี สินคา การสง ของ 28/12/25x0 3010 ปลายทาง 28/12/25x0 22306 24,000 29/12/25x0 3131 ตนทาง 30/12/25x0 22307 32,700 29/12/25x0 3132 ตน ทาง 30/12/25x0 22308 34,000 30/12/25x0 3133 ปลายทาง 3/01/52x1 22310 50,000 31/12/25x0 3/1/25x1 3134 ตน ทาง 3/01/25x1 22309 44,100 3/1/25x1 3135 ปลายทาง 3/01/25x1 22311 13,900 3/1/25x1 3136 ปลายทาง 3/01/25x1 22312 15,400 3/1/25x1 3137 ปลายทาง 3/01/25x1 22313 15,800 หมายเหตุ อัตรากําไรขั้นตน 30% ของขาย กิจการบันทึกการขายสินคาตามใบกํากับสินคาเลขที่ 3133 ในวันที่ 30/12/25x0 แตจากการ ตรวจสอบใบสงของ พบวา กิจการสงของวันท่ี 3/1/25x1 เง่ือนไขสงมอบปลายทาง ดังนั้นรายการดังกลาว จึงควรเปนการขายสินคาในป 25x1 ทําใหการบันทึกรายการของป 25x0 ไมถูกตองสงผลใหยอดขายสูงไป ลูกหนีส้ งู ไปและสินคา คงเหลือต่าํ ไป ควรปรบั ปรุงรายการโดย เดบติ ขายสนิ คา 50,000 เครดิต ลกู หนกี้ ารคา 50,000 เดบติ สินคาคงเหลือ (50,000x70%) 35,000 เครดติ ตน ทนุ ขาย 35,000

ตรวจสอบรายไดอื่น ไดแก รายไดคาเชา ดอกเบี้ยรับเงินปนผล โดยเปรียบเทียบรายไดปปจจุบัน กับปกอน ติดตามการวิเคราะหขอแตกตางแลวดูวามีการเปลี่ยนแปลงท่ีเปนสาระสําคัญหรือไม และควร ตรวจสอบรายไดคาเชากับสัญญาเชาและดอกเบี้ยคางรับ การตรวจสอบดอกเบ้ียรับกับสมุดเงินฝากธนาคาร เปนตน 2. การตรวจสอบการซือ้ สนิ คา การตรวจสอบการซอื้ สนิ คาเปนการตรวจสอบการไดมาซ่ึงสินคา และการรบั สนิ คา วัตถปุ ระสงคของการตรวจสอบการซื้อสนิ คา 1. การซอื้ เกดิ ขึ้นจรงิ และไดร ับการอนมุ ตั ิถูกตอ ง 2. รายการซ้ือบนั ทกึ บญั ชีอยา งครบถวนตามงวดบัญชี และเปน ไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงนิ วธิ กี ารตรวจสอบซื้อสนิ คา 1. วิเคราะหเปรียบเทียบยอดซ้ือปปจจุบันกับปกอน การเปรียบเทียบยอดซื้อควรเปรียบเทียบยอดซ้ือ สาํ หรับงวด ยอดซื้อรายเดอื น โดยพิจารณาแยกตามประเภทของสินคา รวมทง้ั พจิ ารณาความสัมพันธกับบญั ชี เจา หนี้การคา และบญั ชีตนทุนขาย 2. ตรวจสอบสมุดรายวันซอื้ โดยดาํ เนนิ การดงั น้ี 1. ตรวจสอบยอดรวมในสมดุ รายวนั ซอื้ กบั บญั ชีแยกประเภทซอ้ื หรอื บัญชีท่เี ก่ียวของ 2. ทดสอบการบวกเลขในสมุดรายวันซื้อ และตรวจสอบการอนุมัติรายการซื้อกับสําเนาใบสั่งซ้ือ วาเปน ไปตามวงเงินทไี่ ดร บั อนมุ ตั ิอยางถูกตอง และทดสอบการบันทกึ รายการภาษซี ื้อในรายงานภาษซี ื้อ 3. ตรวจสอบความถูกตองของรายการซื้อ โดยเลือกรายการซื้อจากสมุดรายวันซื้อตรวจกับหลักฐาน การรบั สินคา 4. ทดสอบการบันทึกรายการไปยังบัญชีซื้อ บัญชีเจาหน้ี และบัญชีท่ีเกี่ยวของในบัญชีแยกประเภท ท่วั ไป 3. การตัดยอดซื้อ เปนการตรวจสอบเพื่อใหแนใจวารายการซ้ือบันทึกบัญชีถูกตองตามงวดบัญชี ตรวจสอบ การบันทกึ รายการซอ้ื ในชวงใกลว ันสิ้นงวดตอเนอื่ งตนงวดใหม โดยมีวธิ ีการดงั น้ี 1. สอบทานเลขทใ่ี บรับของในชว งเวลาดงั กลา ว พรอ มทั้งตรวจสอบลายเซ็นของผูรบั สนิ คาและวนั ท่รี ับ สนิ คา ตรวจสอบกบั วันท่ีในใบกาํ กบั สนิ คา จากเจาหนี้ พรอมท้ังพจิ ารณาเง่อื นไขการสง สนิ คา 2. ตรวจสอบการบันทึกซือ้ ในสมุดรายวันซอ้ื และผานรายการไปยงั บญั ชีแยกประเภท 3. ตรวจสอบการบนั ทกึ เจาหนี้การคาในบัญชีเจาหนรี้ ายตัว 4. ตรวจสอบการบนั ทึกรบั สินคาคงเหลอื ในบัญชีคุมสนิ คา

3. การตรวจสอบตนทุนขาย ตนทุนขาย (Cost of the sales of Good) หมายถึง ตนทุนของสินคาและบริการท่ีขาย รวมถึงราคาซื้อ ตน ทนุ การผลติ และคาใชจ า ยตา ง ๆ ที่จายไป เพ่ือใหส ินคา อยใู นราคาทีพ่ รอมทจ่ี ะขาย วัตถปุ ระสงคข องการตรวจสอบตนทนุ ขาย 1.ตน ทนุ ขายแสดงไวในงบการเงินถูกตองครบถวน ตรงตามระยะเวลาบญั ชีท่เี กดิ ขนึ้ 2. ตนทนุ ขายเกดิ ขนึ้ จรงิ 3. การบนั ทกึ ตนทุนขายเปน ไปตามหลักการบญั ชแี ละไดถ ือปฏิบตั เิ ชนเดียวกับปกอ น วิธกี ารตรวจสอบตน ทุนขาย 1. วิเคราะหเปรียบเทียบตนทุนขายปปจจุบันกับปกอนและอธิบายการเปลี่ยนแปลงตนทุนขายและ อัตรากําไรขัน้ ตน ของปป จ จบุ ันกบั ปกอนและอธิบายถงึ การเปล่ียนแปลงท่ีมีสาระสําคญั 2. ตรวจสอบความถูกตอ งของการคาํ นวณตน ทุนขาย โดยตรวจสอบสวนประกอบตนทุนขายวาเปน ไปตาม หลกั การบัญชีหรอื ไม 3. ตรวจสอบความเหมาะสมของการคิดตนทุนขาย โดยการกระทบยอดตนทุนขาย ซึ่งไดจากสนิ คา คงเหลือ ตนงวด การซอ้ื และคา ใชจ ายท่ไี ดม าซงึ่ สินคาในระหวางป และสนิ คาคงเหลือปลายงวด 4. การตรวจสอบคา ใชจา ยในการขายและบริหาร คา ใชจายในการขายและบริหาร (Selling and administrative expenses) หมายถึง คาใชจายที่เกดิ ขึ้น อนั เน่ืองจากการขาย และคา ใชจ ายทวั่ ไปทีเ่ กิดขึ้นจากการดําเนินงาน วัตถปุ ระสงคของการตรวจสอบคา ใชจ า ยในการขายและบริหาร 1. คา ใชจ ายในการขายและบริหารเกดิ ขึ้นจริง 2. การบันทึกคาใชจายในการขาย และการบริหารอยา งถกู ตอ ง 3. คา ใชจ ายในการขายและการบรหิ ารแสดงรายการ และการเปดเผยขอมูลที่ถูกตอง วธิ ีการตรวจสอบคาใชจายในการขายและบรหิ าร 1. วเิ คราะหเปรยี บเทยี บคา ใชจายในการขาย และบรหิ ารแตละเดือนปป จ จบุ นั กับงวดบญั ชีปก อ น 2. วิเคราะหความสัมพันธข องคาใชจายท่ีเก่ียวของ รวมท้ังอางอิงรายการไปยังบัญชีสินทรัพยหรือหนี้สิน เชน หนี้สงสัยจะสูญและลูกหนี้การคา คาเบี้ยประกันสมทบประกันสังคม ขาดทุนจากการจําหนายทรัพยสิน กบั บัญชที ีด่ ิน อาคารอุปกรณ ดอกเบยี้ จายกบั เงินกูยมื และตั๋วเงนิ จา ย เปนตน 3. การตรวจสอบรายละเอียดบัญชีคาใชจายที่มีสาระสําคัญหรือผิดปกติโดยตรวจสอบหลักฐาน ประกอบการจายเงนิ 4. ทดสอบรายจายคาซอมแซมบํารุงรักษาวาไมมีรายจายฝายทุนที่ควรจะบันทึกเปนสินทรัพยรวมอยูใน บัญชีคา ซอ มแซม

5. การตรวจสอบดอกเบ้ียจาย ดอกเบ้ียจาย (Interest expense) หมายถึง ดอกเบี้ยหรือคาตอบแทน เน่ืองจากการใชประโยชนจากเงิน หรอื เงินทุน ในกรณีดอกเบ้ยี จายเปนคาใชจ า ยจากการกอหน้สี ินของกจิ การ ใหแ สดงรายการในงบการเงนิ ในหวั ขอ ตน ทนุ ทางการเงนิ ตนทุนทางการเงิน หมายถึง คาใชจายหรือตนทุนที่เกิดข้ึนจากการกอหนี้สินของกิจการ เชน ดอกเบ้ียเงินกู คา ธรรมเนยี มธนาคารท่ีเกิดข้นึ จากการกูย มื เงิน วัตถปุ ระสงคของการตรวจสอบดอกเบีย้ จา ย 1. ดอกเบี้ยจายมีความสัมพันธกบั ยอดหนส้ี ินที่เก่ียวของ 2. ดอกเบี้ยจา ยไดนํามาบันทกึ บญั ชถี ูกตองครบถวนตามจํานวนเงนิ ท่จี ายและตรงตามกําหนดเวลา วธิ ีการตรวจสอบดอกเบีย้ จาย 1. ตรวจสอบเอกสารหลักฐานสัญญากูเงื่อนไขการชําระหนี้การจายดอกเบยี้ จาย จาํ นวนที่จายถูกตองและ ไดม ีการจายตามกําหนดเวลาหรือไม 2. ทดสอบการคํานวณดอกเบี้ยจายตรวจสอบการบันทึกบัญชีดอกเบ้ียที่จายระหวางป เมื่อปรับปรุงดวย ดอกเบี้ยจายลวงหนาหรือคางจายยกมา ณ วันตนป และยอดที่ปรับปรุง ณ วันส้ินปจะไดยอดดอกเบ้ียจาย ของป 3. ติดตามรายการจายดอกเบี้ยภายหลังวันส้ินป เพราะอาจมีผลกระทบตอดอกเบี้ยจายของปปจจุบัน ทีไ่ ดป รบั ปรุงแลว 4. ตรวจสอบเอกสารดอกเบ้ียจายในหนังสือยอดธนาคารวาเปนกูยืม มีดอกเบี้ยคางจายและไดนํามา ปรับปรุงบญั ชไี วแ ลว 6. การตรวจสอบการจา ยเงินเดือนและคา แรง การตรวจสอบเงินเดอื นและคาแรงโดยทั่วไปจะกระทําใกลวนั สิ้นงวด เน่ืองจากการจายเงนิ เดอื นและ คา แรง อาจมีการจา ยไมตรงกับรอบระยะเวลาบัญชี กรณีเชนนี้ จึงมียอดคงเหลือเงนิ เดอื นและคาแรงคางจาย โบนสั คางจาย และบัญชคี า ใชจา ยที่เก่ยี วของ วตั ถปุ ระสงคของการตรวจสอบ 1. เงนิ เดือนเกดิ ขน้ึ จริงและมกี ารอนมุ ัติอยา งถูกตอ ง 2. กจิ การไดมกี ารบนั ทกึ เงนิ เดือนอยา งถูกตองครบถว น วิธกี ารตรวจสอบเงนิ เดือน 1. วเิ คราะหเปรยี บเทยี บยอดตามทะเบียนเงินเดอื นปป จ จบุ ันกับปกอ น 2. ตรวจสอบยอดรวมตามทะเบียนคุมเงนิ เดือนกับยอดรวมในบัญชีแยกประเภททั่วไป และติดตามหาสาเหตุ ในกรณที ีมีผลตา งทม่ี สี าระสาํ คัญ

3. ทดสอบความมีตวั ตนของพนกั งานโดยสมุ ตวั อยางเลือกพนักงานจากบัญชีเงนิ เดอื น และสังเกตการณทํางาน กรณีพนักงานลาออก เขาใหม โยกยาย ตองไดรบั การอนุมัติ สุมตัวอยางสุมพนักงานแลว ทดสอบการคํานวณ เงนิ เดือนสทุ ธิ 4. ตรวจสอบการคํานวณการหักภาษี ณ ทจ่ี า ย และตรวจสอบการนาํ สงภาษหี ัก ณ ที่จายกับแบบ ภ.ง.ด. 1 5.ตรวจสอบกับการคาํ นวณประกันสังคมจากยอดเงินเดือนจากหลกั ฐานการจา ยเงนิ ประกนั สงั คม 6. ทดสอบการคํานวณเงินเดือนสุทธิ และตรวจสอบการจายเงินเดือนกับหลักฐาน การจายเงินเดือน เชน หลักฐานการโอนเงินเดือนเขา บัญชีธนาคารเปนเรอื่ งทต่ี องใหความสําคัญ เนื่องจากอาจเกิดขขอผิดพลาดหรือ การทุจริตทีอ่ าจเกิดขึน้ โดยเฉพาะในการกิจการขนาดใหญทม่ี พี นักงานจํานวนเงนิ อาจมกี ารจายใหกับพนกั งาน ทีม่ ตี วั ตนหรอื ทาํ งานจริง 7. ตรวจสอบยอดเงนิ เดือนทงั้ ปก ับสรุปเงินไดทงั้ ปจ ากแบบ ภ.ง.ด. 1 ก 8. ตรวจสอบเงินเดือนและคาแรงคา งจาย โบนสั พนกั งานคางจาย โดยตรวจสอบการจายชําระหนภ้ี ายหลงั วันท่ี ในงบการเงนิ เปนหลักฐานการรบั เงนิ สําเนาเช็คสั่งจา ย หลักฐานการโอนเงนิ เขา บัญชขี องพนักงาน ตวั อยา งที่ 9.1 การตรวจสอบรายไดแ ละคา ใชจ าย จากการตรวจสอบรายไดแ ละคาใชจ ายของบริษัท สวางไทย จาํ กดั ผูสอบบญั ชีไดใชตรวจสอบเน้อื หา สาระและใชวิธีวิเคราะหเปรียบเทียบในการตรวจสอบบัญชีไดและคาใชจายในงบกําไรขาดทุนของบริษัทฯ เพ่ือดวู ามรี ายการใดทผ่ี ดิ ปกตแิ ละสอบถามหาสาเหตจุ ากผบู ริหาร ขอมลู ทไ่ี ดจากการเปรียบเทียบดงั น้ี รายไดจากการขายมีรายละเอียดดังน้ี เดอื น ขาย ภาษีขาย ซอื้ ภาษซี ือ้ ภาษที ่ีตองชาํ ระ มกราคม 450,000 31,500 250,000 17,500 14,000 กุมภาพันธ 410,000 28,700 295,000 20,650 8,050 มนี าคม 450,000 31,500 300,000 21,000 10,500 เมษายน 405,000 28,350 268,000 18,760 9,590 พฤษภาคม 350,000 24,500 198,000 13,860 10,640 มถิ ุนายน 435,000 30,450 240,000 16,800 13,650 กรกฎาคม 440,000 30,800 320,000 22,400 8,400 สิงหาคม 470,000 32,900 330,000 32,100 9,800 กนั ยายน 420,000 29,400 250,000 17,500 11,900 ตลุ าคม 440,000 30.800 159,000 11,130 19,670 พฤศจกิ ายน 480,000 33,600 320,000 22,400 11,200 ธนั วาคม 500,000 35,000 420,000 29,400 5,600 รวม 5,250,000 367,500 3,350,000 234,500 133,000

จากการตรวจสอบรายไดและคาใชจ าย พบวา 1. บริษทั ฯ ยังไมไ ดบ ันทกึ ภาษเี งินไดน ติ บิ ุคคลรอบระยะเวลาบัญชี 2. จากการสุมตรวจสอบความครบถวนของรายไดจากการขาย จากใบกํากับภาษีท่ีมียอดสูงสุด ในแตละเดือนพบวา บันทึกบัญชีถูกตองตรงตามวันที่ในสมุดรายวันขาย วันที่บันทึกบัญชีลูกหนี้และสินคา คงเหลือ 3. จากการเปรียบเทียบรายไดก บั รายงานภาษขี าย และแบบแสดงรายงานภาษมี ูลคา เพิม่ (ภ.พ. 30) ใหทาํ กระดาษทําการตรวจสอบรายไดแ ละคาใชจาย สาํ นักงานสอบบญั ชอี ญั ชัน ชือ่ ลูกคา บริษัท สวาง จาํ กดั งวดบัญชี 31 ธนั วาคม 25x4 กระดาษทาํ การ งบกาํ ไรขาดทุน รายการ ดชั นี ยอดคงเหลอื ยอดคงเหลือ รายการปรับปรุง AJE ยอดคงเหลอื 31/12/x3 31/12/x3 เดบิต เครดิต ท่ตี รวจสอบ รายได ขาย AA 4,940,000.00 ¥ 5,250,000.00 (7) 12,000.00 5,238,000.00 รายไดอน่ื BB 25,000.00 ¥ 20,000.00 (2) 1,000.00 21,000.00   รวมรายได 4,965,000.00 5,270,000.00 5,259,000.00 คา ใชจ า ย  CC 3,039,000.00 ¥ 3,281,400.00 (10)9,000.00 3,251,400.00 ตนทนุ ขาย  (7)21,000.00 คา ใชจ ายในการขายและบริหาร รวมคา ใชจาย DD 1,365,700.00 ¥ 1,418,852.60 * 48,460.00 1,466,912.60 กําไร (ขาดทุน) กอนหักภาษี ตน ทุนทางการเงิน 4,404,700.00 4,699,852.60 4,718,312.60 I-1 560,300.00 570,147.40 540,687.40 (13) 40,000.00 40,000.00 กาํ ไร (ขาดทนุ ) กอนหักภาษี 560,300.00 570,147.40 100,460.00 31,000.00 500,687.40 ภาษีเงินไดน ติ ิบคุ คล FF 77,970.00 570,147.40 71,084.61 กําไร (ขาดทนุ ) สุทธิ 429,602.79 482,330.00  ทดสอบการบวกเลข C ทดสอบการคาํ นวณ ¥ ตรวจสอบกบั บัญชแี ยกประเภททว่ั ไป ณ 31/12/25x1 * รายการปรบั ปรงุ ตามกระดาษทาํ การ DD ( AJE 1,4,5,6,8,11,12 ) ผูจัดทํา ชาญ วันท่ี 17/3/25x5 ผสู อบทาน ใจ วันที่ 18/3/25x5

สํานักงานสอบบญั ชอี ญั ชัน ช่ือลกู คา บรษิ ทั สวาง จาํ กัด งวดบัญชี 31 ธนั วาคม 25x4 กระดาษทําการ แนวการสอบบัญชีรายไดแ ละคา ใชจาย วัตถปุ ระสงคเ พือ่ การตรวจสอบ 1. รายไดเ กดิ ขนึ้ จริง บันทึกบัญชถี ูกตอง 2. การบันทกึ รายไดเ ปนไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงนิ 3. รายไดจ ากการขายและรายไดอ ่นื แสดงรายการ และเปดเผยขอ มลู ในงบการเงนิ เปน ไปตาม มาตรฐานการรายงานทางการเงนิ 4. คา ใชจ ายในการขายและบริหารเกิดขึ้นจรงิ การบนั ทึกคา ใชจ ายในการขาย และการบริหาร อยา งถกู ตองครบถว น 5. ตน ทนุ ขายเกิดขึน้ จรงิ แสดงไวใ นงบการเงินถูกตองครบถว น ท่ี วิธกี ารตรวจสอบ กระดาษทาํ การ ตรวจสอบโดย/ อา งอิง วันที่ 1 วิเคราะหเปรียบเทียบรายไดจากการขายและตนทุนขายและอัตรากําไร AA AA-1 BB ข้ันตน ปปจจุบันกับปกอนเพ่ือดูวามีการเปล่ียนแปลงท่ีเปนสาระสําคัญ หรอื ไม 2 วิเคราะหสมุดรายวันขาย โดยตรวจสอบยอดรวมในสมุดรายวันขายบัญชี AA-2 แยกประเภทรายไดจากการขายหรือบัญชีที่เกี่ยวของและทดสอบการบวก เลขในสมุดรายวันขาย ตรวจสอบสําเนาใบกํากับสินคาและใบสงของที่มี ชาญ 17/3/x5 ลายเซน็ ลกู คา 3 ตรวจสอบตัดยอดขาย D-3 4 ตรวจสอบความถูกตอ งของการคาํ นวณตนทุนขาย โดยตรวจสอบ สอบสวน CC สวนประกอบตน ทุนขายวา เปนไปตามหลกั การบัญชที ี่รบั รองทัว่ ไปหรือไม 5 วิเคราะหเปรียบเทียบคาใชจายในการขายและบริหารปปจจุบันกับงวด DD บัญชีกอน รวมทั้งตรวจสอบรายละเอียดสําหรับรายการเปลี่ยนแปลงที่มี สาระสําคัญ วิเคราะหความสมั พันธของคาใชจา ยท่เี กย่ี วของ รวมท้งั อางอิง รายการไปยังสินทรัพยหรือหน้ีสินโดยตรวจสอบหลักฐานประกอบการ จา ยเงนิ FF 6 ตรวจสอบรายการตน ปใหม 7 ตรวจสอบความถูกตองของการคํานวณภาษีเงินไดนติ ิบุคคล ผูจัดทาํ ชาญ วันที่ 17/3/x5 ผสู อบทาน ชนะ วนั ท่ี 18/3/x5

สํานกั งานสอบบัญชีอญั ชนั ช่อื ลกู คา บริษัท สวา ง จํากัด งวดบัญชี 31 ธันวาคม 25x4 กระดาษทําการ รายไดจ ากการขาย รายการ ดัชนี ยอดคงเหลือ ยอดคงเหลอื ร าย ก า ร ป รั บ ปรุ ง ยอดคงเหลือ 31/12/x4 AJE ท่ตี รวจสอบ 31/12/x3 เดบติ เครดติ รายได AA-1 4,940,000 W 5,250,000 ¥ (9)12,000 5,238,000 ขาย 4,940,000 5,250,000 12,000 5,238,000  รวมรายได W ตรงกับกระดาษทาํ การปก อน ¥ ตรวจสอบกบั บญั ชแี ยกประเภททั่วไป ณ 31/12/2544 ผจู ัดทํา ชาญ วันท่ี 17/3/25x5 ผสู อบทาน ชนะ วนั ท่ี 18/3/25x5

สํานักงานสอบบญั ชีอัญชนั ชอื่ ลูกคา บริษัท สวา ง จาํ กดั งวดบัญชี 31 ธันวาคม 25x4 กระดาษทาํ การ การตรวจสอบรายไดจ ากการขาย เดือน ขาย ภาษีขาย ซอ้ื ภาษซี อ้ื ภาษที ต่ี อ งชําระ มกราคม @ 450,000 31,500 250,000 17,500 14,000 20,650 8,050 กุมภาพนั ธ @ 410,000 28,700 95,000 21,000 10,500 18,760 9,590 มนี าคม @ 450,000 31,500 300,000 13,860 10,640 16,800 13,650 เมษายน @ 405,000 28,350 268,000 22,400 8,400 23,400 9,800 พฤษภาคม @ 350,000 24,500 198,000 23,100 11,900 17,500 19,670 มิถุนายน @ 435,000 30,450 240,000 22,400 11,200 29,400 5,600 กรกฎาคม @ 440,000 30,800 320,000 234,500 0 สงิ หาคม @ 470,000 32,900 330,000 กนั ยายน @ 420,000 29,400 250,000 ตุลาคม @ 440,000 30,800 159,000 พฤศจิกายน @ 480,000 33,600 320,000 ธนั วาคม @ 500,000 35,000 420,000 รวม 5,250,000 367,500 3,350,000 รายการปรับปรุง AJE 9 (12,000) ยอดขายที่ถกู ตอ ง 5,238,000 AA @ เปรยี บเทยี บรายไดกบั รายงานภาษีขายและแบบแสดงรายการภาษีมลู คาเพ่มิ ภ.พ. 30 ผูจ ดั ทาํ ชาญ วันที่ 17/3/25x5 ผสู อบทาน ชนะ วันที่ 18/3/25x5

สาํ นกั งานสอบบญั ชอี ญั ชัน ช่ือลกู คา บรษิ ทั สวา ง จํากัด งวดบัญชี 31 ธนั วาคม 25x4 กระดาษทาํ การ การตรวจสอบความครบถวนของรายไดจากการขาย ที่ เลขท่ี ช่ือลูกคา ยอดขาย จาํ นวนเงิน วันท่ีบันทึก วั น ท่ี วนั ทบี่ นั ทกึ บญั ชี ใบสงของ VAT ในสมุดรายวันขาย บั น ทึ ก สนิ คาคงเหลือ 1 < 121 บจ.วิชติ 50,000 53,500 11 มกราคม 25x4 ลกู หน้ี 2 < 222 บจ.วิชยั 60,000 65,200 21 กมุ ภาพันธ 25x4 3 < 333 บจ.กมล 45,000 48,150 5 มีนาคม 25x4  4 < 412 บจ. แสงชัย 60,000 64,200 8 เมษายน 25x4  5 < 454 บจ. อดุ ม 70,000 74,900 13 พฤษภาคม 25x4  6 < 516 บจ. แสงทอง 49,000 52,430 15 มิถนุ ายน 25x4  7 < 653 บจ.อุทยั 54,000 57,780 19 กรกฎาคม 25x4  8 < 695 บจ. สขุ ทยั 85,000 90,950 16 สิงหาคม 25x4  9 < 753 บจ. นมิ ิต 66,000 70,620 23 กันยายน 25x4  10 < 812 บจ.แสงฟา 65,000 69,500 17 ตลุ าคม 25x4  11 < 980 บจ.พาที 78,000 83,460 14 พฤศจิกายน 25x4  12 < 1011 บจ. อรุณ 76,000 81,3 5 ธันวาคม 25x4      < เลอื กใบสงของ/ใบกาํ กบั ภาษี 12 รายการ ที่มีจาํ นวนสงู สดุ ของแตละเดือน ผูจดั ทํา ชาญ วนั ท่ี 17/3/25x5 ผสู อบทาน ชนะ วนั ที่ 18/3/25x5

สาํ นักงานสอบบญั ชีอญั ชัน ชือ่ ลูกคา บรษิ ัท สวา ง จาํ กดั งวดบญั ชี 31 ธนั วาคม 25x4 กระดาษทาํ การ รายไดอื่น รายการ ดัชนี ยอดคงเหลือ ยอดคงเหลือ รายการปรับปรงุ AJE ยอดคงเหลือ เดบิต เครดติ ท่ีตรวจสอบ 31/12/x3 31/12/x3 (2) 1,000 21,000 รายไดอ ่ืน 1,000 21,000 - ดอกเบ้ียรับ A-2 25,000 W 20,000 ¥ รวมรายไดอ่นื 25,000 20,000 W ตรงกบั กระดาษทาํ การปก อน ¥ ตรวจสอบกับบญั ชแี ยกประเภทท่ัวไป ณ 31/12/25x4 ผูจดั ทาํ ชาญ วันที่ 17/3/25x5 ผูสอบทาน ชนะ วนั ที่ 18/3/25x5 สํานกั งานสอบบญั ชีอญั ชัน ช่อื ลูกคา บรษิ ทั สวา ง จํากัด งวดบัญชี 31 ธนั วาคม 25x4 กระดาษทําการ ตนทุนขาย และวเิ คราะหเ ปรยี บเทยี บตนทุนขาย สนิ คา คงเหลือตนงวด 2,350,000 V บาท บวก ซ้อื 70,000 VI 810,000 W คา ขนสง 3,420,000 4,230,000 หกั สินคา คงเหลือตนงวด ตนทนุ ขาย 978,600 D 3,251,400 

การเปรยี บเทยี บตน ทนุ ขาย รายการ ป พ.ศ. 25x4 ป พ.ศ. 25x3 เพ่ิมขนึ้ เพิม่ ขนึ้ จากป จากปกอน กอน% จาํ นวนเงิน % จํานวนเงิน % 100.00 298,000 6.03 ขาย 5,238,000 W 100.00 4,940,000 ¥ 61.52 212,400 6.99 38.48 85,600 4.50 ตน ทุนขาย 3,251,400 62.07 3,039,000 กาํ ไรข้ันตน 1,986,600 37.93 1,901,000 W ตรวจสอบกับกระดาษทําการปกอ น ¥ ตรวจสอบกบั บัญชแี ยกประเภทท่วั ไป ณ 31/12/25x4 VI ทดสอบกบั สาํ เนาใบกาํ กบั ภาษําหรับรายการทม่ี จี ํานวนเงนิ 200,000 บาทขึ้นไป  ทดสอบการบวกเลข ผจู ดั ทาํ ชาญ วนั ท่ี 17/3/25x5 ผูสอบทาน ชนะ วันท่ี 18/3/25x5

สาํ นักงานสอบบญั ชอี ญั ชัน ช่ือลกู คา บรษิ ัท สวาง จํากัด งวดบญั ชี 31 ธนั วาคม 25x4 กระดาษทาํ การ คาใชจ า ยในการขายและบรหิ าร รายการ ยอดคงเหลอื ยอดคงเหลือ รายการปรบั ปรงุ AJE ยอดคงเหลอื 31/12/x3 31/12/x3 เดบติ เครดติ ท่ีตรวจสอบ เงนิ เดือน 430,000 ∆¥ 500,000 500,000 ประกันสงั คม 21,500 û¥ 25,000 25,000 คา รับรอง 6,000 ¥ 5,200 (1) 500 5,700 คา โทรศพั ท 9,500 ¥ 12,530 12,530 คาสวสั ดกิ ารพนกั งาน 5,500 ¥ 6,000 6,000 คา ซอมแซม 9,000 û¥ 8,000 (1) 1,000 9,000 คาน้าํ มนั 9,500 ¥ 10,000 (1) 500 10,500 คาประกนั ภยั 16,000 û¥ 110,000 (11)10,000 21,000 คา สง เสรมิ การขาย 49,000 ¥ 50,000 50,000 หน้สี งสัยจะสญู 7,500 ¥ 4,950 (6) 7,760 12,710 คา ธรรมเนียมธนาคาร 4,000 ¥ 3,500 (4) 200 3,700 คา เสอื่ มราคา-อาคาร 50,000 ¥ 50,000 50,000 คาเสอ่ื มราคา-ยานพาหนะ 700,000 ¥ 700,000 700,000 คาเสือ่ มราคา-อุปกรณสาํ นกั งาน 16,000 ¥16,772.60 16,722.60 คาเคร่อื งเขียนแบบพิมพ 5,700 ¥ 5,000 5,000 เงนิ สมทบกองทุนทดแทน 4,500 ¥ 5,500 5,500 ขาดทุนจากเงนิ ลงทุน 2,000 ¥ 5,000 (5) 5,500 10,500 คา สอบบัญชี 20,000 (12)20,000 20,000 ขาดทุนจากสินคาลาสมยั (8) 3,000 3,000 รวม 1,365,700 1,418,452.60 48,460 1,466,912.60 ¥ ตรวจสอบกับบญั ชแี ยกประเภท ณ 31/12/25x4 ∆ ตรวจสอบกบั ภ.ง.ด. 1 สําหรบั เดือนและ ภ.ง.ด. 1 ก สาํ หรบั ป Û ทดสอบกบั ใบแจงหน้ีและใบเสร็จรบั เงิน V ทดสอบกบั ใบแจงหนแี้ ละใบเสรจ็ รับเงิน

สาํ นกั งานสอบบญั ชีอัญชัน ชอื่ ลกู คา บรษิ ทั สวา ง จาํ กัด งวดบญั ชี 31 ธันวาคม 25x4 กระดาษทําการ การคาํ นวณภาษีเงนิ ไดน ติ ิบคุ คล กําไรสทุ ธิทางบัญชี (กาํ ไรกอ นหักภาษี) 100,000 P-L 500,687.40 บวก คา เสอื่ มราคารถยนตนัง่ เกิน 1 ลา นบาท 12,710 F-3 10,500 DD หนสี้ งสัยจะสญู DD 123,210.00 ขาดทนุ ที่ยังไมไ ดเ กิดข้นึ จากเงินลงทนุ กาํ ไรสุทธิทางภาษอี ากร 623,897.40 บริษัทฯ ยังไมไ ดบนั ทึกภาษีเงนิ ไดนติ ิบุคคลสาํ หรับป เสนอรายการปรับปรงุ 50,000.00 AJE 15 เดบติ ภาษีเงินไดนติ ิบุคคล (623,897.40-150,000)x15% 71,084.61 21,084.61 เครดิต ภาษเี งินไดนติ ิบคุ คลจายลวงหนา (ภาษคี รึ่งป) ภาษเี งนิ ไดน ิติบุคคลคางจาย C ทดสอบการคาํ นวณ ¥ ตรวจสอบกับบญั ชแี ยกประเภททั่วไป ณ 31/12/25x4 ตรวจสอบกับใบเสร็จรบั เงนิ กรมสรรพากรและ ภ.ง.ด. 51 ผูจัดทาํ ชาญ วนั ที่ 17/3/25x5 ผูส อบทาน ชนะ วันท่ี 18/3/25x5

สาํ นักงานสอบบญั ชีอญั ชัน ชือ่ ลกู คา บริษัท สวาง จํากัด งวดบญั ชี 31 ธนั วาคม 25x4 กระดาษทําการ สรปุ ผลการตรวจสอบรายไดและคา ใชจ า ย จากผลการตรวจสอบรายไดแ ละคาใชจา ยพบวา บริษทั ฯ ยังไมไ ดบันทึกภาษีเงินไดนติ ิบคุ คล AJE 15 เดบติ ภาษีเงินไดนติ บิ คุ คล 71,084.61 เครดติ ภาษีเงนิ ไดน ติ บิ คุ คลจา ยลวงหนา 50,000.00 ภาษเี งินไดน ิตบิ คุ คลคางจาย 21,084.61 การบันทึกรายได ตนทุนขายและคาใชจายเกิดขึ้นจริง ตรงตามบัญชี และเปนไปตามมาตรฐาน การรายงานทางการเงนิ ผจู ดั ทํา สดใส วนั ที่ 17/3/25x5 ผสู อบทาน ชนะ วันท่ี 18/3/25x5

สํานกั งานสอบบญั ชอี ญั ชนั ช่อื ลกู คา บริษัท สวาง จํากัด งวดบญั ชี 31 ธนั วาคม 25x4 กระดาษทาํ การรายการปรบั ปรุง ลาํ ดบั ดชั นอี า งองิ รายการปรับปรุง เดบิต เครดติ AJE1 DD เดบติ คารบั รอง 500 DD คาซอ มแซม 1,000 DD คา น้ํามนั รถ 500 A-1/1 เครดิต เงินสดยอย 2,000 ปรับปรงุ คาใชจ า ยจากเงนิ สดยอ ย AJE2 A-2 เดบิต เงนิ ฝากธนาคารออมทรพั ย 1,000 BB เครดิต ดอกเบี้ยรับ 1,000 ปรับปรงุ ดอกเบีย้ รับที่บริษัทฯ ไมไดบันทกึ บญั ชี ณ วนั สนิ้ งวด AJE3 A-3 เดบติ เงินฝากกระแสรายวนั 4,000 G-2 เครดิต คาซอมแซมคา งจา ย 4,000 ปรับปรุงเชค็ คา งจายนานเกิน 6 เดือนซ่ึงหมดอายแุ ลว AJE4 DD เดบิต คา ธรรมเนยี มธนาคาร 200 A-3 เครดิต เงินฝากกระแสรายวนั 200 ปรบั ปรงุ คาธรรมเนียมธนาคาร AJE5 DD เดบติ รายการขาดทนุ ท่ยี ังไมเ กดิ ขนึ้ -หลักทรพั ยเพือ่ คา 5,500 B-1 เครดิต คา เผื่อการปรับมูลคาเงินลงทุน-หลกั ทรัพย 5,500 เพอ่ื คา AJE6 DD เดบติ หนสี้ งสยั จะสูญ 7,760 C-5 เครดติ คาเผื่อหนส้ี งสัยจะสญู 7,760 ตงั้ คา เผื่อหนี้สงสัยจะสูญ บจ. สอง ไดเลิกกิจการ AJE7 D-2/1 เดบิต สนิ คา คงเหลือ 21,000 เครดิต ตน ทุนขาย 21,000 ปรับปรุงสินคา A-01, B-02 ที่ยังไมไดบนั ทึกบัญชี AJE8 D-2/1 เดบิต ขาดทุนจากสนิ คา ลาสมัย 3,000 เครดติ คา เผอ่ื สนิ คาลาสมยั 3,000 ปรับปรงุ สินคา รุน A-03 ทแ่ี ตกเสยี หาย ผูจดั ทํา วารี วันที่ 11/2/25x5 ผูส อบทาน ชนะ วันที่ 14/2/25x5

สาํ นกั งานสอบบัญชีอัญชัน ช่อื ลูกคา บรษิ ทั สวาง จาํ กัด งวดบญั ชี 31 ธนั วาคม 25x4 กระดาษทําการรายการปรบั ปรงุ ลาํ ดบั ดัชนีอา งองิ รายการปรับปรงุ เดบติ เครดติ 12,000 12,000 AJE9 AA ขายสินคา C-5 ลูกหนี้การคา ปรับปรุงขายสนิ คา AJE10 D-3/1 สินคาคงเหลือ 9,000 9,000 C-5 ตนทนุ ขาย ปรับปรงุ สินคารุน D-02 ทีย่ งั ไมไ ดสงมอบ AJE11 E-1 คา เบ้ียประกัน 10,000 10,000 คา เบ้ียประกนั ภัยจายลว งหนา ปรับปรงุ คาเบี้ยประกันภัยจา ยลวงหนา AJE12 G-2/1 คา สอบบญั ชี 20,000 20,000 คาสอบบัญชีคา งจาย ปรบั ปรุงคาเบี้ยประกันจายลว งหนา AJE13 I-1 ดอกเบีย้ จาย 40,000 40,000 ดอกเบี้ยคางจาย 100,000 AJE14 I-1 เงนิ กูย ืมระยะยาว 100,000 สวนของเงินกยู ืมระยะยาวที่ถึงกาํ หนดชาํ ระในหนึ่งป 71,084.61 50,000.00 AJE15 FF ภาษีเงินไดน ติ บิ ุคคล 21,084.61 ภาษีเงินไดนติ บิ คุ คลจายลว งหนา ภาษเี งินไดน ติ บิ ุคคลคา งจา ย ผูจดั ทํา วารี วนั ท่ี 11/2/25x5 ผสู อบทาน ชนะ วันท่ี 14/2/25x5

สรปุ การตรวจสอบรายไดท ีเ่ กี่ยวขอ งกับการขายสนิ คา ลกู หนีก้ ารคาและรายการชําระเงนิ มี วตั ถุประสงคเพอื่ ใหแ นใจเกย่ี วกบั การเกดิ ข้ึนจรงิ ของบญั ชีขาย บัญชีลูกหน้ี ความครบถว น ของ บัญชีลูกหนี้ บัญชขี าย ตลอดจนสิทธิและภาระผกู พันของบญั ชีลกู หน้ี การตรวจสอบรายได และคาใชจา ย ยังชวยทําใหทราบถึงสินทรัพยและหน้ีสินที่ยังบันทึกไวไมครบถวน การตรวจสอบรายไดและคาใชจาย มกั จะกระทําไปพรอมกับการตรวจสอบสินทรัพยและหนี้สิน การตรวจสอบคาใชจายบางประเภทชวยให ทราบวา กิจการไดบ ันทึกรายจายท่ีเปนทุนไวในบัญชีคาใชจาย และการวิเคราะหร ายไดและคาใชจา ยอาจ ทําใหทราบถึงความผิดปกติท่ีอาจเกิดขึ้นในงบการเงิน เชน การตรวจสอบรายการผิดปกติ ในบัญชีคา ซอ มแซม วัสดุโรงงาน อาจพบรายการซอ้ื สนิ ทรัพยที่ลงบัญชเี ปน คาใชจ า ย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook