Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 4 การวางแผนงานสอบบัญชี

หน่วยที่ 4 การวางแผนงานสอบบัญชี

Published by Patumwadee Sophathorn, 2019-12-05 09:56:15

Description: หน่วยที่ 4 การวางแผนงานสอบบัญชี

Search

Read the Text Version

หนว ยท่ี 4 การวางแผนงานสอบบญั ชี สาระการเรยี นรู 1. ความหมายของการวางแผนงานสอบบัญชี 2. ประโยชนของการวางแผนงานสอบบญั ชี 3. การวางแผนกอนรับงานสอบบัญชี 4. ขน้ั ตอนของการวางแผนงานสอบบัญชี 5. การจัดทาํ กลยุทธก ารสอบบัญชีโดยรวม 6. ความหมายของแนวการสอบบญั ชี สมรรถนะการเรยี นรู 1. บอกความหมายของการวางแผนงานสอบบญั ชไี ด 2. บอกประโยชนข องการวางแผนงานสอบบัญชไี ด 3. อธิบายการวางแผนกอนรบั งาสอบบญั ชไี ด 4. บอกขน้ั ตอนของการวางแผนงานสอบบัญชีได 5. อธบิ ายการจัดทํากลยทุ ธก ารสอบบัญชีโดยรวมได 6. อธบิ ายความหมายของแนวการสอบบญั ชไี ด สาระสาํ คญั ในการปฏิบัติงานการตรวจสอบบัญชี จําเปนมีการวางแผนบัญชี ซ่ึงจะชวยใหการปฏิบัติงานจริง เปน ไปดวยความราบร่ืน ชวยใหผสู อบบัญชสี ามารถเก็บรวบรวมหลกั บานในการสอบบัญชีไดอยางเพยี งพอและ เหมาะสม การวางแผนการสอบบัญชีชวยผุสอบบัญชีใหมีการพิจารณาเร่ืองท่ีสําคัญอยางเหมาะสมรวมทั้ง สามารถระบุปญหาท่ีเกิดขนึ้ และทํางานสาํ เร็จรวดเรว็ มีประสิทธิผล

1. ความหมายของการวางแผนงานสอบบญั ชี การวางแผนงานสอบบัญชี (Audit Planning) หมายถึง การกาํ หนดขอบเขต ชวงเวลาและการกาํ หนด วิธีการโดยละเอียดสําหรับลักษณะ ชวงเวลา และขอบเขตของการตรวจสอบเพื่อรวบรวมหลักฐานการสอบ บญั ชีที่เพยี งพอและเหมาะสม เพ่อื ใหการปฏิบัติงานสอบบญั ชเี ปนไปอยา งมีประสทิ ธผิ ล มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 300 เร่ือง การวางแผนการตรวจสอบงบการเงินกลาววาการวางแผน งานตรวจสอบเกี่ยวกับการจัดทํากลยุทธการสอบบัญชีโดยรวม ซ่ึงเปนการกําหนดลักษณะขอบเขตชวงเวลา และแนวทางของการตรวจสอบ ลักษณะของวิธีการตรวจสอบ หมายถึง วิธีทใ่ี ชในการตรวจสอบวาใชวิธีการทดสอบการควบคุม หรือ การตรวจสอบเน้ือหาสาระ และประเภทของการตรวจสอบท่ีวาใชวิธีใด ไดแก การตรวจการสังเกตการณ การสอบถาม การยืนยนั ยอด การคาํ นวณใหม การปฏิบัตซิ ํ้าหรือการวเิ คราะหเปรียบเทยี บ ลักษณะของวิธีการ ตรวจสอบเปนสิ่งท่ีสําคัญที่สุดในการตอบสนองตอความเสี่ยงที่ไดประเมินไวเทียบ ลักษณะของวิธีการ ตรวจสอบเปนสงิ่ ทสี่ าํ คัญทีส่ ุดในการตอบสนองตอความเสีย่ งที่ไดประเมินไว ชว งเวลาของวิธกี ารตรวจสอบ หมายถึง เวลาทผ่ี ูสอบบัญชปี ฏิบัติการตรวจสอบหรอื ชวงของเวลาหรือ วันทีท่ ผี่ ูสอบบัญชีตองการได หลกั ฐานการสอบบัญชีอาจแบง เปน - การตรวจสอบระหวางป (Interim Audit) - การตรวจสอบสนิ้ งวดบญั ชี (Final Audit) ขอบเขตของวธิ ีการตรวจสอบ หมายถงึ ปรมิ าณท่ีจะปฏบิ ตั วิ ธิ ีการตรวจสอบ เชน ขนาดของตัวอยาง หรอื จํานวนคร้งั ทีส่ งั เกตการณก ิจกรรมการควบคมุ หน่ึง ๆ 2. ประโยชนข องการวางแผนงานสอบบัญชี การวางแผนงานสอบบัญชี ถือเปนเร่ืองสําคัญท่ีผูสอบบัญชีตองปฏิบัติงานตามท่ีมาตรฐานการสอบ บัญชีกําหนด การวางแผนงานสอบบัญชีใหผูสอบบัญชีมีการพิจารณาเร่ืองท่ีสําคัญอยางเหมาะสม รวมทั้ง สามารถระบปุ ญ หาที่อาจเกดิ ขนึ้ และทําใหง านสาํ เร็จไดอยา งรวดเร็วและมีประโยชน ประโยชนของการวางแผนสอบบญั ชี มีดังนี้ การวางแผนการตรวจสอบที่เพียงพอจะชว ยผูสอบในการตรวจสอบงบการเงิน ดังน้ี 1. ชว ยผูสอบบญั ชใี หแนใจวาไดมกี ารพิจารณาเรื่องทีส่ ําคญั ตอการตรวจสอบอยางเหมาะสม 2. ชว ยผสู อบบัญชใี นการระบปุ ระเด็นปญหาที่อาจเกดิ ขน้ึ และแกป ญหาไดอยางทันทวงที 3. ชวยผูสอบบัญชใี หจดั การและบรหิ ารงานสอบบญั ชีอยา งเหมาะสม เพื่อใหงานสอบบญั ชีเปนไป อยา งมีประสิทธภิ าพและประสิทธผิ ล

4. ชวยในการเลอื กสมาชกิ ในกลมุ ผปู ฏิบตั งิ านตรวจสอบทมี่ รี ะดับความรูและความสามารถทเี่ หมาะสม เพอ่ื ใหตอบสนองตอ ความเสี่ยงทคี่ าดการณไ ว และชว ยในการมอบหมายงานใหแ กสมาชิก อยา งเหมาะสม 5. ชวยในการกาํ หนดแนวทางและควบคมุ ดุแลสมาชกิ ในกลมุ ผูปฏิบัตงิ านตรวจสอบ และสอบทานงาน ของสมาชกิ ในกลุมผูปฏบิ ตั งิ านตรวจสอบ 6. ชว ยในการประสานงานกบั ผูสอบบัญชีของกิจการภายในกลุมและผูเชี่ยวชาญ การวางแผนควรกระทาํ อยา งตอเน่ืองตลอดระยะเวลาการตรวจสอบ เน่ืองจากสถานการณอาจมีการ เปลี่ยนแปลงหรือไดรับผลท่ีไมคาดหมายจากการตรวจสอบ ผูสอบบัญชีจึงควรทบทวนกลยุทธการสอบบัญชี โดยรวม และแนวการสอบบญั ชีตามความจําเปน ในระหวา งการตรวจสอบ 3.การวางแผนกอ นการรบั งานสอบบัญชี ในชวงกอนรับงาน ผูสอบบัญชีควรพิจารณาเลือกงานสอบบัญชี เนื่องจากในการรับงานสอบบัญชี ทม่ี ีความเสี่ยงสูงอาจมีผลทําใหผูสอบบัญชีมาสามารถปฏบิ ัติงานไดตามมาตรฐานการสอบบัญชี และอาจเส่ียง ตอการปฏิบัติงานผิดจรรยาบรรณของผูสอบบัญชี ซ่ึงมีผลทําใหผูสอบบัญชีอาจถูกพักหรือถูกเพิกถอน ใบอนญุ าต หรอื มคี วามเส่ยี งตอการถูกฟองรองเรียกคา เสียหาย มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 300 กําหนดกิจกรรมเบื้องตนของการสอบบัญชีใหผูสอบบัญชี ตอ งปฏบิ ัตกิ จิ กรรมตอ ไปนี้ 1. ปฏิบัติตามวิธีการท่ีกําหนดในมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 220 ที่เก่ียวกับการคงไวซึ่ง ความสัมพันธก ับลุกคา และงานตรวจสอบนั้น 2. ตองประเมินการปฏิบัติตามขอกําหนดดานจรรยาบรรณที่เก่ียวของ ซ่ึงรวมถึงความเปนอิสระ ของผสู อบบัญชตี ามมาตรฐานการสอบบญั ชี รหัส 220 3. ทําความเขา ใจเก่ยี วกบั ขอ ตกลงในการรับงานบญั ชีตามมาตรฐานการสอบบญั ชี รหสั 220 การดําเนินการกอ นการรบั งานสอบบัญชีอาจแบง ออกเปน 3 ข้ันตอนยอย ดงั น้ี 1. การประเมนิ ความเสย่ี งในการรับงาน ผูสอบบัญชีจะตอ งพิจารณาความเส่ียงในการรับงานสอบบัญชี สาํ หรบั ลุกคา รายใหมและลุกคารายเดิมดงั นี้ (1) ลูกคาใหม (New Engagement) ในการตอบรับงานสอบบัญชีลูกคารายใหม ผูสอบบัญชีจะตอง รวบรวมขอ มลู โดยพิจารณาสภาพโดยท่ัวไปของลุกคา ตลอดจนการประเมินความเสี่ยงเบือ้ งตนในการทีจ่ ะรับ งานสอบบัญชีรวมถึงการพิจารณาจรรยาบรรณของผูสอบบัญชีดวย ในกรณีท่ีงบการเงินปกอนของลูกคา ตรวจสอบโดยผูสอบบัญชีอ่ืน ผสู อบบัญชีควรทาํ หนังสือไปยงั ผสู อบบัญชีเดมิ วา มีเหตุผลทางจรรยาบรรณทาง วิชาชพี ใดหรือไมที่ควรนํามาพจิ ารณาในการรับงานลูกคา รายน้ี ผูสอบบัญชจี าํ เปน ตอ งขอทราบเหตุผลดงั กลาว จากผสู อบบญั ชีเดิม เชน การถูกจาํ กดั ขอบเขตการตรวจสอบ หรอื ขดั แยง กับผูบ รหิ าร เปน ตน

(2) ลูกคาเดิม (Engagement Continuing) ในการตรวจสอบงบการเงินสําหรับปถัดไปของลูกคา เดิม ผูส อบบัญชีตองประเมินวามสี ถานการณท่ีทําใหต องแกไขขอตกลงในการรับงานสอบบญั ชีหรือไม และมีความ จําเปนท่ตี องแจง ใหกจิ การทราบถึงขอตกลงในงานสอบบญั ชีทีม่ อี ยเู ดมิ หรอื ไม 2.ขอตกลงในการรับงานสอบบัญชี หลังจากผูสอบบัญชีรับงานแลวผูสอบบัญชี ควรจัดทําหนังสือตอบรับ งานสอบบัญชี (Engagement Letter) กอ นที่จะเริ่มงานตรวจสอบ ทั้งน้ีเพือ่ หลีกเล่ียงความเขาใจผิดเกี่ยวกับ ลักษณะของการับงาน ตลอดจนเปนการชี้แจงถึงขอบเขตการใหบริการของผูสอบบัญชี ขอบเขตความ รับผิดชอบของผูบริหาร หนาที่และความรับผิดชอบที่ลูกคาจะตองจัดเตรียม รูปแบบรายงานของผูสอบบัญชี ตลอดจนคาธรรมเนียมสอบบัญชีที่ตกลงกัน นอกจากน้ันหนังสือตอบรับงานควรช้ีแจงลูกคาทราบวาการ ตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบญั ชีน้ันมิไดมุงหวังเพื่อการคนหาขอทุจริตที่เกิดขึ้นจริง การสอบบัญชีใชวิธี ทดสอบและมีขอจํากัดอื่น ๆ ตลอดจนมีขอจํากัดของระบบการควบคุมภายใน ฉะน้ัน ในบางกรณีการ ตรวจสอบจงึ อาจไมพ บการแสดงขอ มลู ผิดพลาดบางรายการหรืออาจไมพบการทุจรติ ที่เกดิ ข้นึ

ตวั อยางหนงั สอื ตอบรับงาน วันที่............................................................... เรื่อง ขอเสนอบรกิ ารและคาตรวจสอบบญั ชี เรยี น คณะกรรมการหรือตัวแทนของผบุ ริหารระดบั สูง ตามที่ทานมีความประสงคที่จะใหขาพเจาตรวจสอบงบการเงินของบรษิ ัท ก. จํากัด ซ่ึงประกอบดวย งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25X1 งบกําไรขาดทุนเบด็ เสรจ็ งบแสดงการเปล่ียนแปลงสวนของผถู ือหุน และงบกระแสเงินสดสําหรับปส้นิ สุดวนั เดียวกัน รวมถึงหมายเหตุสรุปนโยบายการ บัญชที ่สี ําคญั และหมายเหตเุ รื่องอ่ืนๆ ขา พเจา ยนื ยนั การรับงานและความเขาเขา ใจของขาพเจาเกย่ี วกบั งานสอบบัญชนี ้ี ตามความหมายในหนงั สือฉบบั น้ี การ ตรวจสอบของขาพเจา มีวตั ถุประสงคในการแสดงความเห็นของขา พเจาตองบการเงิน ขาพเจาจะปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี ซ่ึงกําหนดใหขาพเจาปฏิบัติตามขอกําหนดดานจรรยาบรรณ รวมถึงวางแผนและ ปฏบิ ัตกิ ารตรวจสอบเพื่อใหไดความเชื่อมั่นอยางสมเหตุสมผลวา งบการเงินปราศจากการแสดงขอ มลู ท่ีขัดตอขอเทจ็ จรงิ อนั เปน สาระสาํ คญั หรอื ไม การตรวจสอบ รวมถึงการใชวิธีตรวจสอบ เพื่อใหไ ดม าซง่ึ หลกั ฐานการสอบบญั ชเี กี่ยวกบั จาํ นวนเงนิ และการเปด เผยและ การเปดเผยขอ มูลในงบการเงนิ วธิ ีการตรวจสอบ ทเี่ ลอื กใช ข้นึ อยูกบั ดลุ พินิจของผูส อบบญั ชี ซง่ึ รวมถึงการประเมนิ ความเสย่ี งจากการแสดง ขอมลู ทีข่ ดั ตอขอ เท็จจริงอนั เปน สาระสําคัญของงบการเงนิ ไมว า จะเกิด จาก การทุจริตหรือขอผิดพลาด การตรวจสอบรวมถึงการประเมินความเหมาะสมของนโยบายบญั ชีทีใ่ ช และความสมเหตุสมผลของประมาณการทางบัญชีท่ี จัดทําขึ้นโดยผูบริหาร รวมทั้งการประเมินการนําเสนอโดยรวมของงบการเงิน เน่ืองจากขอจํากัดสืบเนือ่ งของการตรวจสอบ รวมถึงขอจํากัดสืบเนื่องของการ ควบคมุ ภายใน ทาํ ใหมีความเส่ยี งซึ่งไมอาจหลกี เลย่ี งไดท ก่ี ารแสดงขอ มูลท่ขี ัดตอขอ เท็จจรงิ อันเปนสาระสาํ คญั อาจไมถูกคน พบ แมว า การตรวจสอบไดถ กู วางแผน และปฏิบัติอยา งเหมาะสมโดยสอดคลอ งกบั มาตรฐานการสอบบัญชใี นการประเมินความเสี่ยงของขาพเจา ขา พเจา พิจารณาการควบคุมภายในที่เกีย่ วของกับการ จดั ทาํ งบการเงินของกิจการ เพ่ือออกแบบวิธกี ารตรวจสอบที่เหมาะสมกับสถานการณ แตไ มใชเพื่อวตั ถุประสงคในการแสดงความเห็นตอประสิทธิผลของการ ควบคุมภายใน ของกิจการ อยางไรกต็ าม ขา พเจา จะแจงใหท า นทราบเปนลายลักษณอ กั ษรเกี่ยวกบั ขอบกพรอ งท่สี ําคญั ของการควบคุมภายใน ท่ีเกย่ี วกับการ ตรวจสอบงบการเงนิ ท่ซี ง่ึ ขาพเจา ตรวจพบในระหวา งการตรวจสอบ การตรวจสอบถกู ปฏิบัติตามหลักการทวี่ า ผูบริหารและผูมหี นา ท่กี ํากับดูแล รับทราบและเขาใจวา ตนเองมีความรับผิดชอบในเร่ืองดงั ตอไปน้ี (ก) เรอื่ งการจัดทําและการนําเสนองบการเงินโดยถูกตอ งตามท่ีควร โดยสอดคลองกบั มาตรฐานการรายงานทางการเงนิ (ข) เรื่องการควบคุมที่ (ผูบริหาร) พิจารณาวาจําเปนเพื่อใหสามารถจัดทํางบการเงิน โดยปราศจากการแสดงขอมูลท่ีขัดตอขอเท็จจริงอันเปน สาระสาํ คญั ไมวาจะเกดิ จากการทจุ รติ หรอื ขอผิดพลาด และ (ค) เร่ืองการจดั เตรียมสิ่งตอ ไปนใี้ หแกขาพเจา (1) การเขาถงึ ขอมลู ทั้งหมดทีซ่ ่ึง (ผูบรหิ าร) ตระหนักวาเก่ียวของกับการจัดทํางบการเงิน เชน การบันทึกบัญชีเอกสารหลักฐานและ ขอมลู อนื่ (2) ขอมูลเพมิ่ เตมิ ท่ขี า พเจาอาจรองขอจาก (ผูบ ริหาร) เพือ่ ประโยชนใ นการตรวจสอบ (3) การเขาถึงบุคคลตาง ๆ ภายในกิจการไดอ ยางไมมีขอจํากัด ซ่ึงขา พเจาพจิ ารณาวาจาํ เปน ทจ่ี ะตองไดรบั หลักฐานการสอบบัญชีจาก บุคคลเหลา เพ่ือเปนสว นหนึง่ ในกระบวนการตรวจสอบของขาพเจา ขา พเจาจะขอคํายืนยันท่เี ปนลายลักษณอกั ษรจากผูบริหาร และผูมหี นาทีใ่ นการกํากับดูแล (ในกรณีท่เี หมาะสม) เกย่ี วกับคาํ รบั รองทเ่ี กย่ี วขอ งกบั การตรวจสอบ ขา พเจาหวังวา จะไดร ับความรวมมืออยางเต็มที่จากพนักงานของทานในระหวา งการตรวจสอบ (ขอมูลทีเ่ กี่ยวขอ งอ่ืน เชน การจัดการคาธรรมเนียม การตรวจสอบ การเก็บเงินและขอ ตกลงท่เี ฉพาะอ่ืนตามเหมาะสม) โปรดลงนามและสง คฉู บับของหนังสือนี้ท่ีแนบมาคืนขา พเจา เพือ่ ยนื ยันรบั ทราบและความเหน็ ชอบของทาน เกย่ี วกบั การตรวจสอบ งบการเงิน ของขาพเจารวมถึงความรับผิดชอบทีเ่ กี่ยวของ ขอแสดงความนับถือ (นายใจ มน่ั คง) ผสู อบบญั ชรี บั อนุญาต เลขทะเบยี น xxxx รบั ทราบและเห็นชอบในนามของบรษิ ทั ก. จํากัด ลงนาม................... ช่ือ......................... ตําแหนง................ วันท่.ี ..................... (พรอมท้งั ประทบั ตราสาํ คัญของบรษิ ทั ) ภาพที่ 4.1 ตวั อยา งหนังสอื ตอบรบั งาน

ตัวอยางหนังสือตอบรับงานขางตนระบุในภาคผนวกของมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 210 เรื่อง ขอตกลงในการรับงานสอบบัญชี ซ่ึงสอดคลองกับมาตรฐานการรายงานทางการเงิน เพ่ือใชเปนแนวปฏิบัติ เทานั้น ผสู อบบญั ชีอาจจําเปน ตอ งปรบั เปล่ียนใหสอดคลอ งกบั ขอ กําหนดและสถานการณข องแตละงาน ในการตอบรับงานสอบบัญชี ผูสอบบัญชีควรสงหนังสือตอบรับงานจํานวน 2 ฉบับกอนรับงานสอบ บญั ชี เพ่ือยืนยันความเขา ใจและใหล ูกคาลงนามเห็นชอบตามขอเสนอในหนงั สอื ตอบรับงานลูกคา จะสง หนังสือ ตอบรบั งานคืนใหผ สู อบบญั ชี 1 ฉบบั และเกบ็ หนงั สอื ตอบรบั งานไว 1 ฉบบั 3. การจดั เตรียมคณะทาํ งานตรวจสอบ การจัดเตรียมคระทาํ งานตรวจสอบท่เี หมาะสมจะชวยใหการ ตรวจสอบเปนไปตามมาตรฐานการสอบบัญชีและการปฏิบัติงานตรวจสอบบัญชีเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ ขอ ควรพิจารณาในการจัดเตรียมคระทํางานตรวจสอบคือประสบการณในการตรวจสอบกิจการนั้นหรือธุรกิจ ประเภทเดียวกันและความตอเนื่องของคณะทํางานตรวจสอบ ดังน้ันในคณะทํางานตรวจสอบควรมีผูชวย ผสู อบบัญชที เี่ คยตรวจสอบกิจการนน้ั มากอ นหรอื มีความรเู กีย่ วกับธรุ กจิ นนั้ 4. ข้นั ตอนการวางแผนงานสอบบัญชี การวางแผนงานสอบบญั ชี ประกอบดว ยขน้ั ตอนท่ีสาํ คญั 6 ขนั้ ตอนดังน้ี 1.การรวบรวมขอมลู เกี่ยวกบั ธุรกจิ ที่ตรวจสอบ และทําความเขาใจสภาพโดยทั่วไปเก่ยี วกบั กรอบของ กฎหมายและขอ บังคับทเี่ กี่ยวขอ งกับกิจการ 2. การวิเคราะหเปรยี บเทยี บในเบือ้ งตน 3. การกาํ หนดความมีสาระสําคญั 4. การประเมนิ ความเสี่ยงทยี่ อมรับไดแ ละความเส่ียงสบื เนอื่ ง 5. การทําความเขา ระบบการควบคุมภายในและการประเมินความเส่ยี งจากควบคุม 6. การจัดทํากลยทุ ธก ารสอบบัญชโี ดยรวมและแนวการสอบบญั ชี 1. การรวบรวมขอ มลู เกย่ี วกบั ธรุ กิจที่ตรวจสอบ และทําความเขาใจสภาพโดยทั่วไปเก่ยี วกับกรอบ ของกฎหมายและขอบังคับที่เก่ียวของกับกิจการ เปนการพิจารณาวากิจการไดมีการปฏิบัติตามกรอบของ กฎหมายและขอ บังคับนั้นอยางไร ในการวางแผนงานสอบบัญชี ผูสอบบญั ชีควรรวบรวมขอมูลเก่ียวกบั ธุรกิจ ซง่ึ จะชวยใหผูสอบบัญชีมีความรูความเขาใจในระบบบัญชี และวิธีปฏิบัติทางการบัญชีอันจะเปนประโยชนตอ การตรวจสอบ การรวบรวมเอกสารทางกฎหมายของลูกคา ทําใหผูสอบบัญชีทราบถึงขอมูลที่ตองเปดเผย เพ่ิมเติมในงบการเงิน เอกสารทีค่ วรรวบรวม ไดแก เอกสารการจัดตั้งบริษัท รายงานการประชุมคณะกรรมการ สัญญาตาง ๆ และเอกสารพิเศษ เชน การไดรับการสงเสริมการลงทุน เปนตน การรวบรวมขอมูลยังชวยให ผูสอบบญั ชีมคี วามรคู วามเขา ใจในธุรกจิ ของลูกคา เพือ่ นํามาประเมนิ ความเสย่ี งสืบเนอ่ื งของกิจกรที่ตรวจสอบ

2. การวเิ คราะหเ ปรียบเทยี บในเบือ้ งตน การวิเคราะหเปรียบเทียบ หมายถึง การวิเคราะหอัตราสวนแนะแนวโนมตาง ๆ ที่สําคัญรวมท้ังการ ตรวจสอบผลของการเปล่ียนแปลง และความสมั พันธตาง ๆ ทีไ่ มสอดคลองกับขอมลู ทเ่ี กี่ยวของหรือไมเปนไป ตามท่คี าดหมาย การวิเคราะหเ ปรยี บเทียบเบ้ืองตนในชวงการวางแผนการตรวจสอบจะชวยใหก ารตรวจสอบ เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ และอาจทําใหทราบถึงรายการผิดปกติในงบการเงิน เชน ผลการวเิ คราะหเปรียบ บัญชีลูกหนี้การคาของปที่ตรวจสอบกับยอดขายของปกอน หากพบวายอดคงเหลือของบัญชีลูกหน้ีการคา เพิ่มข้ึนมากขึ้นซ่ึงไมสัมพันธกับยอดขาย ผูสอบบัญชีควรหาสาเหตุการเพิ่มข้ึนของบัญชีลูกหน้ีการคาและ วางแผนท่ีจะตรวจสอบบัญชีลกู หนกี้ ารคา ในเรอ่ื งความเพยี งพอของคาเผื่อหน้ีสงสยั จะสญู 3. การกําหนดความมสี าระสําคญั ผูสอบบัญชีจะนําหลักการของความมีสาระสําคัญไปใชทั้งในการวางแผนและปฏิบัติตรวจสอบ และ ในการประเมนิ ผลกระทบของการแสดงขอมลู ทีข่ ดั ตอขอเทจ็ จริงที่พบในการตรวจสอบ ความมีสาระสําคัญ หมายถึง รายกรหรือเหตุการณทางบัญชี ซงึ่ หากผูใชง บการเงินไมไดรับทราบแลว อาจตัดสินใจผิดไปจากกรณีที่รับทราบ ความมีสาระสําคัญข้ึนอยูกับขนาดและลักษณะของรายการทางบัญชี ที่มีผลกระทบตอการตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจของผูใชขอมูลการพิจารณาวาขอมูลมีสาระสําคัญหรือไมน้ัน ใหพิจารณาจากผลกระทบท่ีมกี ารตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจเปนเกณฑ กลาวคือหากการไมแสดงขอมูลท่ีผิดพลาด มีผลกระทบตอการตดั สินใจเชงิ เศรษฐกิจของผใู ชงบการเงิน จะถอื วา ขอ มูลนัน้ มีสาระสาํ คญั ระดับความมสี าระสาํ คัญ หมายถงึ ขนาดหรือลักษณะของความไมถ ูกตองของขอมูล ซ่งึ ถือวา มีผลตอ ความถูกตองทค่ี วร ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ซง่ึ เปนระดับความไมถ ูกตองของรายการและขอมูล ที่ผูส อบบญั ชียอมรบั ได โดยผูสอบบัญชีสามารถแสดงความเหน็ ตองบการเงินถกู ตองตามควร แมวาจะพบความ ไมถ ูกตองของรายการและขอ มลู ในงบการเงิน ซง่ึ มิไดม กี ารปรบั ปรุงแกไข การกําหนดความมีสาระสําคัญของผูสอบบัญชีเปนเร่ืองของการใชดุลยพินิจเย่ียงผูประกอบวิชาชีพ ความมีสาระสําคัญที่กําหนดข้ึนในการวางแผนการตรวจสอบ ผูสอบบัญชีจะพิจารณาท้ังจํานวนเงิน และลกั ษณะของการแสดงขอมลู ท่ีขดั ตอขอเทจ็ จรงิ ทยี่ งั ไมถ ูกแกไ ข และสถานการณท ร่ี ายการเหลานัน้ เกดิ ขน้ึ การกําหนดความมีสาระสําคัญในการวางแผนงานตรวจสอบชวยใหผูสอบบัญชีปฏิบัติงานอยางมี ประสทิ ธภิ าพ โดยมุง เนน การตรวจสอบที่สําคัญและชวยใหกําหนดวธิ ีการตรวจสอบใหเหมาะสมกับสถานการณ เกณฑใ นการพิจารณาระดบั ความมสี าระสําคัญ การกําหนดระดับความมสี าระสาํ คญั เปนการใชดุลยพนิ ิจเยี่ยงผปู ระกอบวชิ าชพี ของผสู อบบัญชเี กณฑ ท่ีผูสอบบัญชีมกั ใชในการนาํ มาเปน ฐานที่ใชในการคาํ นวณระดบั ความมีระดับความมีสาระสาํ คญั คือ การพิจารณาจากองคประกอบท่ีสาํ คญั ในงบการเงิน 5 - 10 % ของยอดดําไรกอนภาษี

1 – 1% ของยอดสนิ ทรพั ยร วม 2 1 2 - 1 % ของยอดรายไดรวม 1 % ของยอดสว นของผถู ือหนุ นอกจากกําหนดตามอัตรารอยละแลวยังอาจกําหนดเปนจํานวนเงิน เชน ผูสอบบัญชีกําหนดระดับ ความมีสาระสําคญั ไว 100,000 บาทขึ้นไป ดังน้ัน สําหรับการตรวจสอบบญั ชีเจา หนี้การคา นัน้ คอื ผสู อบบัญชี จะเลอื กรายการเจาหนีท้ ่ีมีจํานวนเงิน 100,000 บาทข้ึนไป ดังนั้น การแสดงขอ มลู ท่ีขัดตอขอเท็จจริงท่ีเกนิ กวา 100,000 จงึ จะเสนอเปน รายการทปี่ รบั ปรุงตอ งบการเงิน ในข้ันตอนน้ีผูสอบบัญชีควรวางแผนการตรวจสอบ เพ่ือใหความเส่ียงในการสอบบัญชีอยูในระดับท่ี ยอมรับได และประเมินความเสยี่ งสบื เนอื่ งดว ยซ่งึ จะกลาวรายละเอียดในหนวยตอไป 4. ประเมินความเสย่ี งทยี อมรบั ไดแ ละความเสย่ี งสืบเนื่อง กอ นการตรวจสอบผสู อบบญั ชจี ะประเมินความเสี่ยงในการสอบบัญชีที่ยอมรบั ไดและความเสีย่ งเนอื่ ง โดยทาํ ความเขา ใจกิจการ สภาพแวดลอมของกิจการ เกีย่ วกบั ขอ บงั คบั ทางกฎหมายปจจัยภายนอก เชน สภาพ เศรษฐกิจ อัตราดอกเบี้ย เงนิ เฟอ การดําเนินธรุ กิจ การลงทุน โครงสรา งของกิจการ การเลือกใชน โยบายบัญชี เปน ตน 5. การทําความเขา ใจระบบการควบคุมภายในและการประเมินความเสีย่ งจากควบคุม ผสู อบบัญชตี องมีความเขาใจระบบบญั ชีและการควบคมุ ภายในเพ่อื กําหนดและเขาใจเกีย่ วกบั ประเภท ของรายการทีส่ ําคัญในการดาํ เนินงานของกิจการ กระบวนการรายงานทางการเงินและทางบัญชี นอกจากนี้ ควรทําความเขาใจองคประกอบของการควบคุมภายใน ไดแก สภาพแวดลอมของการควบคุม ควรประเมิน ความเส่ียง กิจกรรมการควบคุม ระบบขอมูลสารสนเทศและการส่ือสารตลอดจนระบบการติดตามและ ประเมินผล ผูสอบบัญชีควรศึกษาและทําความเขาใจในระบบบัญชีอยางเพียงพอ เพื่อใหผูสอบบัญชีไดความรู เกยี่ วกับลักษณะและธุรกรรมตาง ๆ ประเภทของรายการทส่ี าํ คัญในการดาํ เนินงานของกิจการ การเกิดข้ึนของ รายการทบ่ี ัญชีท่ีสําคญั เอกสารประกอบการคาท่สี ําคัญ และระบบบัญชีกระบวนการรายงานทางการเงินและ ทางการบัญชีจากจุดเริ่มตนของรายการที่สําคัญจนถึงจุดส้ินสุดในงบการเงิน หลังจากท่ีผูสอบบัญชีทําความ เขาใจในระบญั ชี และระบบการควบคุมภายในแลวผูส อบบญั ชีจะประเมนิ ความเสย่ี งจากการควบคุมในเบอ้ื งตน วา กิจการมีระบบการควบคุมภายในท่ีมีประสิทธิภาพเพียงพอที่จะเช่ือถือไดและสามารถใชประโยชนในการ ปฏิบัตงิ านสอบบัญชไี ดห รือไมส ําหรบั รายละเอียดเกยี่ วกับความเส่ียงจากการควบคมุ จะกลาวในหนว ยตอ ไป 6. การจัดทํากลยทุ ธก ารสอบบญั ชีโดยรวมและแนวการสอบบัญชี การจัดทาํ กลยทุ ธก ารสอบบัญชีโดยรวม หรือแผนการสอบบัญชีโดยรวมเปนแผนงานท่ีมไี วเพอ่ื ใหการ ปฏิบัติงานสอบบัญชีมีประสิทธิผล ชวยใหแนใจวามีการพิจารณาเร่ืองที่สําคัญอยางเหมาะสม ทําใหงาน ตรวจสอบเสรจ็ อยา งรวดเรว็

ผูสอบบัญชีจะบันทึกขอมูลที่สําคัญ ๆ ซ่ึงเปนประโยชนตอการตรวจสอบไวในกลยุทธการสอบบัญชี โดยรวม และควรปรับแผนการตรวจสอบและจัดทําแนวการสอบบัญชีใหสอดคลองกับผลจากการประเมิน ความเสี่ยง เชน หากผลการประเมินความเสี่ยงจากการควบคุมอยูใ นระดับตํ่าผูส อบบัญชอี าจใชก ารทดสอบการ ควบคุม เพ่ือทีจ่ ะสนับสนุนการประเมินน้นั ในทางตรงกันขาม หากการประเมินความเส่ียงจากการควบคุมและ ความเส่ียงสืบเน่ืองอยูในระดับสูง ผูสอบบัญชีควนใชวิธีการตรวจสอบเนื้อหาสาระ เปนตน เม่ือผูสอบบัญชี พฒั นากลยุทธการสอบบัญชีโดยรวมแลว ขน้ั ตอนตอไปคือการจัดทําแนวการสอบบัญชี โดยผูสอบบัญชีจะใช แนวการสอบบัญชีในการควบคมุ และบนั ทึกการปฏิบัติงานใหเ ปน ไปตามกลยุทธก ารสอบบัญชีโดยรวม 5. การจัดทํากลยุทธการสอบบญั ชกี ารสอบบญั ชโี ดยรวม ในการวางแผนงานตรวจสอบนัน้ มาตรฐานการสอบบัญชีฉบับ 300 เร่ืองการวางแผนงานตรวจสอบ งบการเงิน กําหนดใหผูสอบบัญชตี องจัดทํากลยุทธการสอบบัญชีโดยรวม มาตรฐานเดิมใชคําวาแผนการสอบ บัญชีโดยรวม ซ่ึงเปนการกําหนดขอบเขต ชวงเวลา และแนวทางของการตรวจสอบและเปนแนวทางในการ พัฒนาแผนการตรวจสอบ ในการจัดทาํ กลยทุ ธก ารสอบบัญชโี ดยรวม ผสู อบบญั ชตี อ งระบเุ รื่องดังตอไปน้ี 1. ระบลุ กั ษณะของงานตรวจสอบซึ่งจะกําหนดขอบเขตของงาน 2. ทําความเขาใจในวตั ถุประสงคข องการรายงานตามขอตกลงรับงาน เพ่ือการกาํ หนดชวงเวลาในการ ตรวจสอบ และลกั ษณะของการสื่อสารทจี่ าํ เปน 3. พิจารณาปจ จยั ตาง ๆ ซ่ึงผูสอบบัญชใี ชดลุ พินิจเยี่ยงผปู ระกอบวชิ าชพี แลวเห็นวามีนัยสาํ คัญในการ กําหนดแนวทางในการทํางานของกลุมผปู ฏิบัติงานตรวจสอบ 4. พิจารณาถึงผลของกิจกรรมเบื้องตนของการสอบบัญชี และพิจารณาวาความรูของผูสอบบัญชีที่ รบั ผดิ ชอบงานตรวจสอบที่ไดจากการปฏบิ ตั ิงานอน่ื ในกจิ การนนั้ ๆ มคี วามเกย่ี วของหรอื นํามาใชไดหรอื ไม 5. กําหนดลักาณะ ชว งเวลา และขอบเขตของทรัพยากรท่ีจาํ เปน ทจ่ี ะใชในการตรวจสอบบญั ชี ในการจัดทํากลยุทธการสอบบัญชีโดยรวมและแนวการสอบบัญชจี ะจัดทําในข้ันตอนสุดทายของการ วางแผนหลังจากท่ไี ดทําความเขาใจในระบบบัญชแี ละระบบการควบคุมภายใน รวมทั้งการประเมินความเสีย่ ง แลว ผูสอบบัญชีจะบันทึกขอมูลตาง ๆ ท่ีรวบรวมไดไวกระดาษทําการกลยุทธการสอบบัญชีโดยรวม ดงั ตวั อยางตอ ไปนี้

บริษัท รนุ แสง จํากดั กลยุทธการสอบบญั ชโี ดยรวม สาํ หรบั ปส้ินสดุ วนั ท่ี 31ธนั วาคม 25x1 1. ขอบเขตการตรวจสอบ ตรวจสอบเพื่อแสดงความเห็นตองบการเงินของบริษัท รุงแสง จํากัด สําหรับปส้ินสุดวันที่ 31 ธันวาคม 25x1 นอกจากรายงานของ ผูสอบบัญชีแลว บริษทั ฯ ยังตองการขอเสนอแนะเกี่ยวกบั จุดออน ของการควบคมุ ภายในเพื่อนาํ ไปปรบั ปรุงการปฏิบตั ิงานและการดําเนนิ ของบริษัท ฯ ใหดีข้นึ 2. ขอมูลเกี่ยวกบั บรษิ ทั บริษัท รุงแสง จํากัด จดทะเบยี นกอ ตัง้ เมื่อวันที่ 31 ธนั วาคม 25x0 ต้ังอยูเ ลขที่ 15 ถนนประชาอุทิศ 54 แขวงทงุ ครุ เขตราษฎรบ ูรณะ กรงุ เทพมหานคร บริษทั ฯ ประกอบกจิ การผลติ และขายอุปกรณเครอ่ื งครวั 3. สภาพแวดลอ มของการควบคุมภายใน ผูบ รหิ ารของบริษัทมีทัศนคติที่ดตี อระบบควบคุมภายใน โดยจัดใหมโี ครงสรางองคก รทเี่ หมาะสมระบบบัญชีและระบบการควบคุม ภายในท่ีสาํ คัญ 4. ระบบบญั ชแี ละระบบการควบคุมภายใน บรษิ ัทฯ ไมมกี ารเปล่ียนแปลงระบบบญั ชแี ละระบบการควบคมุ ภายในอนื่ ที่มสี าระสําคญั 5. ผลการดาํ เนนิ งานของกจิ การ งบการเงินระหวา งกาลสําหรับงวด 9 เดอื นสิ้นสุดวันท่ี 30 กนั ยายน 25x1 ของบริษทั ฯ เปรียบเทียบกับงบการเงินสําหรับงวดเดยี วกัน ของปก อน สามารถวเิ คราะหผลการดําเนินงานในชวง 9 เดอื นแรกของบรษิ ทั ฯ ไดด งั น้ี บรษิ ัทฯ มยี อดขายเพ่ิมข้ึนเล็กนอยจาก 240 ลานบาทในปกอเปน 241 ลานบาท (ตัวเลขทั้งปโ ดยประมาฯ) หรือเพิ่มขึ้น 0.4 % ในปน ้ี ซึ่งจากการประชมุ กับผูบริหารเพ่ือวางแผนตรวจสอบ พบวา ในปนีส้ ภาพเศรษฐกิจกระเตื้องขึ้นอยา งตอ เนื่องจากปกอน ทําใหประชาชนมี กาํ ลงั ซ้อื มากข้ึน อยางไรก็ตาม การแขง ขันระหวางปม ีความรุนแรงมาก คูแขงรายสาํ คญั ของบริษทั ฯ คือ บริษัท ก. จาํ กัด ไดป รับลดราคาขายสินคา ลงหลายรายการ และมีการออกสินคาใหมหลายรายการซ่ึงเปนสินคาประเภทเดียวกันกับของบริษัทแตม ีความทันสมัยมากกวา โดยในชวงเวลา ดงั กลา วบริษัทฯ กําลงั อยรู ะหวางการกอ สรา งโรงงานแหงท่สี อง และกาํ ลังใหบริษทั ทีป่ รกึ ษาดานการตลาดทําการวิจัยความตอ งการของผบู รโิ ภคทํา ใหบ รษิ ทั สวนเสียแบง การตลาดไปสวนหน่ึง 6. ระดบั ความมสี าระสําคัญ ระดับความมีสาระสําคญั กําหนดจากรายการในงบการเงิน คือกําไรสทุ ธิกอนภาษเี งินได สาํ หรับงวด 9 เดอื นสนิ้ สุดวนั ท่ี 30 กันยายน 25x1 ระดับความมีสาระสําคัญสําหรับการตรวจสอบ ณ วนั ส้ินงวด อาจปรับปรุงตามขอมูลท่ผี ูสอบบัญชีไดรับเพ่ิมเติม จํานวนเงินที่ถือวามี สาระสาํ คัญคอื จาํ นวนมากกวาหรอื เทากับ 5% ของกําสทุ ธิกอนภาษีเงินได 7. นโยบายการบญั ชี นโยบายการบญั ชที ่ีบริษทั ฯ ใชเ ปนไปตามมาตรฐานการรายงานทางเงิน และไมมีการเปลย่ี นแปลงนโยบายการบัญชีจากงวดบญั ชกี อน 8. การประเมินความเสีย่ งงในแตล ะระดบั รายการในงบการเงิน ความเสี่ยงสืบเนือ่ งและความเสย่ี งจากการควบคมุ สําหรบั รายการทมี่ สี าระสาํ คญั (ตามตารางแนบทา ย) 9. กําหนดการตรวจสอบ การตรวจสอบกอ นวันส้นิ งวด 1-15 พฤศจิกายน 25x1 การสงั เกตการณการตรวจนบั สนิ คาคงเหลอื 30 ธนั วาคม 25x1 การตรวจสอบวนั สน้ิ งวด 15-31 มกราคม 25x1 วนั ท่เี สนอรายงานของผูส อบบัญชี 15 กมุ พาพันธ 25x1 ขอเสนอแนะเก่ียวกับจุดออนของการควบคมุ ภายใน 15 กมุ ภาพันธ 25x1 10. อื่น ๆ

การตรวจนับสินคาคงเหลือประจําปของบริษัทฯ จะกระทําในวันที่ 30 ธันวาคม 25x1 ผูอํานวยการผายบัญชี จะแจงกําหนดการท่ี แนนอน รวมทงั้ วธิ กี ารตรวจนบั ผูสอบบัญชีกอ นวันตรวจนบั สินคาคงเหลือ ประมาณ 2 สัปดาห คณะผูต รวจสอบบัญชี นายใจ สงา งาม ผสู อบบัญชี นายโชค รกั งาน ผูชว ยผสู อบบัญชี นางสาวสดใส ซ่ือสัตย นางชาญ หาญกลา ภาพที่ 4.2 ตวั อยา งกลยุทธการสอบบัญชโี ดยรวม

ภาพที่ 4.3 การประเมนิ ความเสี่ยงแตละระดบั รายการในงบการเงนิ ปจ จัยเพมิ่ หรือลดความเส่ยี ง การประเมินความเสี่ยง รายการ ความเสยี่ ง ความเสยี่ งจารการ วธิ ีการตรวจสอบ สืบเนื่อง ควบคมุ เงินสดเงนิ ฝากธนาคารเงิน - มีจุดออ นของการควบคมุ ภายใน ตาํ่ กลาง - วิเคราะหเปรยี บเทยี บ เบกิ เกนิ บัญชธี นาคาร ของเงนิ สดและฝาก ธนาคารบา ง อยางไรก็ตาม ผูบรหิ ารพยายาม - ทดสอบการควบคุมของการ ปรบั ปรุงแกไ ขจดุ ออนดงั กลาว จา ยเงนิ และการรบั เงนิ - สอบทานงบกระทบยอดเงนิ ฝาก ธนาคาร -ขอยืนยนั ยอดธนาคาร ลูกหน้ี/ขาย/ตน ทุนขาย - เปนรายการท่มี ีสาระสําคัญ กลาง ตํ่า - วิเคราะหเปรยี บเทียบ - ไมม ีการจัดทาํ รายงานการ วิเคราะหอายุลูกหน้ีควรใช - ทดสอบการควบคุมระบบขาย วจิ ารณญาณในการต้งั คาเผือ่ หน้ี สงสยั จะสูญ และลกู หนี้ - มีการควบคมุ ภายในทส่ี ําคัญ เชน การอนมุ ตั ิสินเช่ือ - ขอยืนยันยอดลกู หนี้ - ลูกหนส้ี ว นใหญเ ปน ลูกหนี้ทม่ี ฐี านะ การเงินดี - ตรวจตดั ยอด - สอบทานความเพยี งพอของคา เผ่อื หนสี้ งสัยจะสญู สนิ คา คงเหลือ - เปนรายการท่มี ีสาระสาํ คญั กลาง ตํ่า - วิเคราะหเ ปรยี บเทยี บ - ผลการตรวจสอบทผี่ า นมา พบวา - ทดสอบการควบคุมในการรบั การควบคุมภายในเรื่องการรบั และ เบกิ จายสินคา คงเหลอื เบิกจา ยสินคาคงเหลอื มคี วาม - สงั เกตการณตรวจนับสินคา เพียงพอ - ทดสอบการคาํ นวณราคาทนุ - ตรวจสอบการตีราคา -ตรวจตดั ยอด - สอบทางความเพยี งพอของคา เผอ่ื สนิ คา ลา สมยั

ปจจัยเพิ่มหรือลดความเสีย่ ง การประเมินความเสี่ยง รายการ ความเสยี่ ง ความเสยี่ งจารการ วธิ ีการตรวจสอบ สืบเน่อื ง ควบคุม ลูกหน้/ี เจาหนก้ี ิจการท่ี - เปนรานการทเี่ กิดข้นึ เปนปกติจาก ตาํ่ ต่าํ - วเิ คราะหเ ปรียบเทียบ เก่ียวของกนั ประสบการณต รวจสอบทผ่ี านมาไม พบรายการผดิ ปกติ -ขอหนงั สือยืนยันยอด -วธิ ตี รวจสอบเนอื้ หาสาระสาํ หรบั รายการท่ีมีสาระสาํ คัญ เงินลงทนุ ชว่ั คราว - บริษัทคาดวาจะไมเกิดผลขาดทนุ ต่ํา ตํ่า - วิเคราะหเปรียบเทยี บ จากการลงทนุ เน่อื งจากมกี าร ทีด่ นิ อาคาร กระจายความเสี่ยง - วธิ ีตรวจสอบเนือ้ หาสาระสําหรับ และอปุ กรณ - ไมมรี ายการซ้อื เพิ่ม หรอื การ รายรายทีม่ ี สาระสาํ คัญ จาํ หนา ยทเี่ ปน สาระสําคญั ต่ํา กลาง - วเิ คราะหเ ปรียบเทยี บ - ตรวจนบั สินทรัพยถ าวร - วธิ ีตรวจสอบเน้อื หาสาระ - สอบทานการดอยคา ของ สนิ ทรัพย - สอบทานความเพียงพอการ ประกันภยั เงินกูยมื จากธนาคาร - มีการควบคุมภายในทส่ี ําคัญ ตา่ํ ตาํ่ - วเิ คราะหเ ปรยี บเทยี บ - คาํ ยนื ยนั ยอดธนาคาร - วธิ ีตรวจสอบเน้ือหาสาระ - สอบทานภาระผูกพัน เจา หน้กี ารคา/ซ้ือ - มกี ารควบคมุ ภายในท่สี ําคัญ กลาง ตาํ่ - วิเคราะหเ ปรยี บเทียบ -รับซือ้ และเจา หนกี้ ารคา ไมว บั ซอน - ทดสอบการควบคมุ การซื้อ - วิธีตรวจสอบเน้อื หาสาระ ทุนเรอื นหนุ และกําไร - ไมมีการเพ่ิมทนุ ในระหวา งป ตํา่ ต่ํา - วิเคราะหเ ปรียบเทียบ สะสม -มผี ลการควบคมุ ภายในทส่ี าํ คัญ กลาง ตาํ่ -วิเคราะหเ ปรยี บเทียบ คาใชจ า ยในการขายและ -ผลการวิเคราะหเปรยี บเทียบท่ีผา น -ทดสอบการควบคุมของการจาย บริหาร มามคี วามสมเหตผุ ล เงนิ เดอื น -วธิ ีตรวจสอบเนือ้ หาสาระสําหรับ รายการทม่ี ีสาระ ภาพที่ 4.3 การประเมินความเส่ยี งแตล ะระดบั รายการในงบการเงิน

รายละเอียดของงานตรวจสอบ ดชั นีกระดาษ ใจ โชค สดใส ชาญ ทาํ การ (1) (2) (1) (2) (1) (2) (1) (2) การวางแผน การสอบทาน และการควบคมุ งาน 4 10 14 14 7 10 การวเิ คราะหเ ปรียบเทียบ I 1 68 2 เหตุการณภายหลังวันที่ในงบการเงนิ II หนส้ี นิ ทีอ่ าจจะเกิดขน้ึ VI 5 10 2 16 16 ภาระผกู พนั VII 2 6 เงนิ สดและเงนิ ฝากธนาคาร VIII 2 16 เงินลงทนุ A ลกู หนกี้ ารคา 33 8 15 รายการกบั บุคคลหรอื กิจการท่ีเกี่ยวของกนั B 5 สนิ คา คงเหลอื C 16 ภาษีเงนิ ไดน ิตบิ ุคคล D 2 15 สนิ ทรัพยหมุนเวยี นอน่ื /สินทรัพย E 53 86 ท่ีดนิ อาคาร และอปุ กรณ F 5 เงินกยู มื G, J 4 เจา หน้ีการคาและต๋ัวเงินจาย H 4 10 หน้ีสนิ หมนุ เวียนอน่ื K 8 ทุนเรือนหนุ L 2 สํารองตามกฎหมาย M 68 3 กาํ ไร (ขาดทุน) สะสม N 40 68 1 รายไดแ ละคา ใชจ า ย O รวมจํานวนชว่ั โมง P 12 10 30 R 29 75 24 77 หมายเหตุ (1) การตรวจสอบกอ นวันสิน้ งวด 1-15 พฤศจิกายน 25x1 (2) การตรวจสอบวันสิ้นงวด 15-31 มกราคม 25x1 ภาพท่ี 4.4 แผนกําหนดการตรวจสอบ

6. ความหมายของแนวการสอบบญั ชี แนวการสอบบัญชี (Audit Program) หมายถึง การกาํ หนดวิธีการตรวจสอบ ลักษณะของเขตและ ระยะเวลาไวลวงหนาสําหรับงานตรวจสอบหน่ึง ๆ ซ่ึงสอดคลองกับผลการประเมินความเสี่ยงสืบเนื่อง และความเส่ียงจากการควบคุม ผูสอบบัญชีจะใชแนวการสอบบัญชีในการควบคุมและบันทึกการปฏิบัติงาน เพอ่ื ใหก ารปฏิบัตงิ านสอบบัญชีเปนไปอยา งถูกตอ ง ผูสอบบัญชีจะจัดทําแนวการสอบบัญชี หลังจากที่ไดจัดทํากุลยุทธการสอบบัญชีโดยรวมเพ่ือท่ีจะ กาํ หนดวิธกี ารตรวจสอบขอบเขตการตรวจสอบ กอนทจี่ ะปฏบิ ัตงิ านตรวจสอบ แนวการสอบบัญชมี ปี ระโยชนหลายประการ สรปุ ไดด ังนี้ 1. เพื่อใหผ สู อบบญั ชีไดใชวธิ ีการตรวจสอบที่จําเปนอยางครบถวน ทําใหไดห ลักฐานทเ่ี พียงพอตอ การ แสดงความเห็นในรายงานการตรวจสอบ 2. ผูสอบบญั ชีสามารถใชแนวการสอบบัญชีเปน คาํ สั่งงาน และเปนเครื่องมือในการมอบหมายงานแก ผูชว ยสอบบัญชี 3. ใชในการควบคุมงาน ติดตามและบันทึกการปฏิบัติงานการตรวจสอบบญั ชีใหเปนไปอยางถูกตอง และมีประสทิ ธภิ าพ แนวการสอบบัญชีถือเปนสวนหนึ่งของกระดาษกําการ ซึ่งเปนเปนกรรมสิทธิ์ของผูสอบบัญชีบัญชี ผูสอบบัญชีควบทบทวน และปรับเปล่ียนแนวการสอบบัญชีตามความจําเปน ในระหวางการตรวจสอบ เพอ่ื ใหเ หมาะสมกบั สถานการณท ่ีเปลย่ี นแปลงไป ในการจัดทําแนวการสบิ บัญชี ควรประกอบดว ยองคประกอบดังน้ี 1. วตั ถปุ ระสงคของการตรวจสอบ 2. วิธกี ารตรวจสอบ 3. ขอบเขตในการตรวจสอบ 4. เวลาที่ใชใ นการตรวจสอบ 5. ดัชนีกระดาษทําการและการอางองิ 6. ลายมือชือ่ ผูตรวจสอบและวันทีท่ ีต่ รวจสอบ ลายมอื ชอื่ ผสู อบทานและวันท่ที ี่สอบทานเสร็จส้ิน องคประกอบดงั กลาวอธิบายไดด งั นี้ 1. วตั ถุประสงคของการตรวจสอบ แนวการสอบบัญชีควรระบุถึงวัตถุประสงคของการตรวจสอบ เพ่ือใหผูปฏิบัติงานเขาใจวาวิธีการ ตรวจสอบที่ระบุในแนวการสอบบัญชี บรรลุวัตถุประสงคการตรวจสอบที่ในเรื่องใด เชน การขอคํายืนยัน ยอดลูกหนี้การคา มีวัตถุประสงคเพื่อตรวจสอบวาลูกหน้ีมีอยูจริง หรือการตรวจตัดยอดขายมีวัตถุประสงค เพื่อใหแนใ จวายอดขายไดบนั ทึกในงวดบัญชที ีถ่ ูกตอง

2. วิธกี ารตรวจสอบ วธิ ีการตรวจสอบทรี่ ะบุในแนวการสอบบัญชี จะระบึงวธิ ีการท่ีผูสอบบัญชใี ชในการรวบรวมหลักฐาน การสอบบัญชีแตละประเภท ไดแก การตรวจ การสังเกตการณ การปฏิบัติซํ้า การขอคํายืนยันและการ วเิ คราะหเ ปรียบเทยี บ เปนตน 3. ขอบเขตการตรวจสอบ ขอบเขตการตรวจสอบท่ีระบไุ วในแนวการสอบบญั ชี หมายถึง ขนาดของตวั อยางท่เี ลือกขน้ึ มาทดสอบ ระยะเวลาและจังหวะของเวลาการตรวจสอบวาตรวจสอบระหวางงวดหรือสิ้นงวด รวมท้ังลักษณะของการ ตรวจสอบวาจะใชวิธีการทําความเขาใจระบบบัญชี ระบบการควบคุมภายใน และทดสอบการควบคุมหรือ การตรวจสอบเนอื้ หาสาระ 4. เวลาท่ใี ชใ นการตรวจสอบ เวลาท่ีใชในการตรวจสอบ เปนการประมานเวลาที่คาดวาจะใชใ นการตรวจสอบและเวลาที่ใชในการ ปฏิบตั ิจริง ซ่งึ ใชค วบคุมจํานวนชั่วโมงการปฏิบตั ิงานการตรวจสอบแตละเรอื่ งใหเปน ไปตามแผนงานการสอบ บัญชีทไี่ ดกําหนดไว 5. ดชั นีกระดาษทําการและอา งองิ แนวการสอบบญั ชีควรระบุถงึ ดัชนีกระดาษทําการอางอิงงานตรวจสอบที่เก่ียวของ วางานตรวจสอบ ทไี่ ดทาํ ในแตละเร่อื งนัน้ อยใู นกระดาษทาํ การสว นใด ซึง่ จะเปนประโยชนตอการสอบทานงาน 6. ลายมอื ช่อื ผูตรวจสอบและวนั ทที่ ี่ตรวจสอบ ลายมือช่อื ผูส อบทานและวนั ทีส่ อบทานเสรจ็ สิน้ ผูปฏิบัติงานตรวจสอบควรลงลายมือช่ือและวันท่ีทําการตรวจสอบไวในแนวการสอบบัญชี เม่ือได ปฏิบัติงานตรวจสอบเสร็จสิ้น หลังจากน้ันผูสอบบัญชีจะสอบทานงานตรวจสอบที่ผูชวยผูสอบบัญชีไดปฏิบัติ ไปแลว จะลงลายมือช่ือพรอมระบุวันท่ีเปนหลักฐานวาไดสอบทานงานและควบคุมงานของผูชวยผูสอบบัญชี นนั้ แลว

ตวั อยา งแนวการสอบบัญชี บรษิ ัท............................ แนวการสอบบญั ชีบญั ชีลกู หนี้ สาํ หรับงวดสน้ิ สดุ วันที่ 31 ธนั วาคม 25x1 วตั ถุประสงคในการตรวจสอบ เพอ่ื ตรวจสอบวา 1. ลกู หนี้ ณ วันสิน้ งวดท่ีมอี ยจู ริงและไดบันทกึ ไวอยา งถูกตอ ง 2. ลูกหน้ีในงบการเงนิ แสดงยอดดว ยจาํ นวนสุทธทิ ี่คาดวาจะไดรับและมีการต้งั คา เผื่อหน้ีสงสัยจะสญู อยางเพยี งพอ 3. ลกู หน้ีการคา แสดงไวในงบการเงินและเปด เผยขอมูลอยางถูกตอง ดัชนี เวลาที่ใชใ นการ กระดาษ วิธกี ารตรวจสอบ ตรวจสอบ ตรวจโดย วนั ที่ ทาํ การ ประมาณ จริง 1.เปรยี บเทียบยอดคงเหลือลูกหน้ีและคา เผ่ือหนสี้ งสยั จะสูญป ปจจุบันกับปก อ นเพอ่ื ดคู วามแตกตา งและสอบสวนหาสาเหตุ 2. เปรียบเทยี บรายละเอียดบัญชคี มุ ยอดลูกหนี้ ณ วันส้นิ ปได ตรงกบั บญั ชียอย 3. สง หนงั สอื ยืนยนั ยอดลูกหนี้โดยดาํ เนนิ การ ดงั นี้ - สมุ ทดสอบการยนื ยนั ยอดคงเหลอื บัญชลี กู หนี้ การคาโดยจดั ทําหนงั สอื ยืนยนั ลกู หน้ีและสง หนังสือยืนยันลูกหนี้และตดิ ตามผล - หากลกู หนต้ี อบโดยมีขอ ทักทวงใหจดขอ ความ ทักทว งแลว ตรวจสอบหาสาเหตกุ รณีที่ไมไ ดร บั คําตอบ ใหขอทอ่ี ยูใหมและจดั สง อกี ครั้ง กรณที ี่ ไมไดรบั คําตอบ ใหสง อีกเปนครงั้ ท่ี 2 ทาง ไปรษณีย - หากไมไดร บั ตามคาํ ตอบหลังจากสงคร้งั ท่ี 2 ให ใชว ิธีการตรวจสออืน่ ดังน้ี - ตรวจสอบหลักฐานการขาย ไดแก ใบส่งั ของใบรับ ของโดยตรวจสอบกับใบเสรจ็ รับเงินและการนําเงิน ฝากธนาคาร 4. สอบทานความเพียงพอของคา เผ่อื หน้สี งสัยจะสญู 5. ตรวจสอบการตดั หน้สี ญู 6. ตรวจสอบรายการหกั หนี้ 7. ตรวจตัดยอดขาย สมุ ตรวจเอกสารชวงกอ นหลังวันสิ้นงวด บญั ชี

สรุป การวางแผนงานสอบบัญชีเปนข้ันตอนที่สําคัญข้ันตอนหนึ่งในกระบวนการสอบบัญชี ซึ่งชวยใหผูสอบบัญชี ซ่งึ ชว ยใหผ สู อบบญั ชีสามารถเก็บรวบรวมหลักฐานไดอยา งเพียงพอและเหมาะสม เพ่ือสรปุ ความเหน็ ของผูสอบ บัญชีไดอยางสมเหตุสมผลการวางแผนงานสอบบัญชีเริ่มต้ังแตการไดมาซึ่งความรูเก่ียวกับที่ตรวจสอบ การวิเคราะหเปรียบเทียบการกําหนดความมสี าระสําคัญและประเมินความเสี่ยงจากการควบคมุ การพัฒนากล ยุทธการสอบบัญชีโดยรวมและจัดทําแนวการสอบบัญชี ผูสอบบัญชีจะบันทึกขอมูลรายละเอียดที่จากการ วางแผนไวในกลยุทยารสอบบัญชีโดยรวม ซึ่งเปนกลยทุ ธของผูสอบบัญชีเพ่ือใชประโยชนในการวางแผนงาน การสอบบัญชี กลยุทธก ารสอบบญั ชโี ดยรวม ควรมรี ายละเอยี ดเกีย่ วกบั ธรุ กิจทต่ี รวจสอบ ความรคู วามเขาใจใน ระบบบัญชีและระบบควบคุมภายใน ความเส่ียงและสาระสําคัญ ลักษณะ ระยะเวลา ขอบเขตของวิธีการ ปฏบิ ัตงิ านตลอดจนการประสานงาน การสั่งการ การควบคุมงานและการสอบงานแทน ผสู อบบัญชีจะจัดทําแนวการสอบบัญชซี ึ่งผลมาจากการจัดทํากลยุทธการสอบบัญชีโดยรวมแนวการ สอบบัญชีเปนการกําหนดวิธีการตรวจสอบ ลักษณะขอบเขตและระยะเวลาไวลวงหนาสําหรับงานตรวจสอบ หนงึ่ ๆ ผูสอบบัญชีจะใชแนวการสอบบญั ชีในการควบคุมและบันทึกปฏิบัติงาน เพื่อใหการปฏิบัตงิ านสอบบัญชี เปนอยางถูกตอง และจะใชแนวการสอบบัญชีมอบหมายงานใหแกผูชวยผูสอบบัญชี ตลอดจนใชในการ ควบคมุ งาน ตดิ ตามงาน และบันทึกผลการปฏบิ ัตงิ านใหเ ปนไปอยางถูกตอ งและมปี ระสิทธภิ าพ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook