Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 6 กระดาษทำการของผู้สอบบัญชี

หน่วยที่ 6 กระดาษทำการของผู้สอบบัญชี

Published by Patumwadee Sophathorn, 2019-12-31 05:49:07

Description: หน่วยที่ 6 กระดาษทำการของผู้สอบบัญชี

Search

Read the Text Version

หนว ยที่ 6 กระดาษทําการของผสู อบบญั ชี สาระการเรียนรู 1. ความหมายของกระดาษทําการของผสู อบบญั ชี 2. วัตถุประสงคในการจัดทาํ กระดาษทาํ การ 3. รูปแบบเนื้อหาของกระดาษทาํ การ 4. การกาํ หนดดัชนกี ระดาษทําการและการอา งองิ 5. ประเภทกระดาษทาํ การ 6. การสอบทานกระดาษทาํ การ 7. การเกบ็ รกั ษากระดาษทําการ สมรรถนะการเรียนรู 1. อธบิ ายความหมายกระดาษทาํ การของผูสอบบัญชีได 2. บอกวตั ถุประสงคใ นการจดั ทํากระดาษทาํ การได 3. อธิบายรูปแบบและเนอื้ หาของกระดาษทําการและการอา งอิงได 4. อธิบายการกาํ หนดดัชนกี ระดาษทาํ การและการอางองิ ได 5. อธิบายประเภทของกระดาษทําการได 6. อธบิ ายการสอบทานกระดาษทาํ การได 7. อธิบายการเกบ็ รกั ษากระดาษทาํ การได สาระสําคัญ ในการปฏิบัติงานการตรวจสอบ ผูสอบบัญชีตองบันทึกเร่ืองตาง ๆ ทีสําคัญที่พบจากการตรวจสอบ เพือ่ เปน หลักฐานประกอบการแสดงความเหน็ ของผูสอบบัญชี กระดาษทาํ การจึงเปนหลกั ฐานท่ีแสดงถึงบนั ทึก ที่เพียงพอและเหมาะสม เกี่ยวกับเกณฑในการไดมาซ่ึงรายงานของผูสอบบัญชีและเปนหลักฐานที่แสดงวา ผสู อบบญั ชีไดม ีการวางแผนและปฏิบตั ิงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี

1. ความหมายของกระดาษทําการของผสู อบบญั ชี มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 230 เร่อื งเอกสารหลักฐานของงานตรวจสอใหไ ดความหมายของเอกสาร หลักฐานของงานตรวจสอบหรือกระดาษทาํ การของผสู อบบัญชไี วด ังน้ี เอกสารหลักฐานของงานตรวจสอบ หมายถึง บนั ทึกของวิธกี ารตรวจสอบที่ใชห ลักฐานการสอบบญั ชี ที่เกี่ยวของที่ไดรับ และขอสรุปท่ีไดจากผลการตรวจสอบและระบุวาอาจใชคําวาวา กระดาษทําการ แทน เอกสารหลกั ฐานของงานตรวจสอบ กระดาษทาํ การหรอื เอกสารหลักฐานของงานตรวจสอบจงึ เปน หลกั ฐานทแี่ สดงถึง 1. บันทกึ ทเี่ พียงพอและเหมาะสมเก่ยี วกบั เกณฑในการไดม าซ่งึ รายงานของผูสอบบัญชี 2. หลักฐานที่แสดงวาไดมีการวางแผนและปฏิบัติงานตรวจสอบมาตรฐานการสอบบัญชี และ ขอ กําหนดทางกฎหมายทเ่ี ก่ยี วขอ ง กระดาษทาํ การหรอื เอกสารของงานตรวจสอบทผี่ สู อบบัญชตี องจัดทําและรวบรวมเกบ็ ไวเปนหลักฐาน อาจไดม าจาก 1. กระดาษทําการทผี่ สู อบบญั ชจี ดั ทําข้นึ เอง ไดแ ก เอกสารท่ผี ูสอบบญั ชจี ัดทาํ ขึน้ เอง เชน กระดาษทํา การแนวการแนวการสอบบญั ชี การวเิ คราะห บนั ทึกประเดน็ ตาง ๆ สรปุ เรอ่ื งตาง ๆ ที่สาํ คญั 2. กระดาษทําการที่ผูสอบบัญชีไดรับจากลูกคา ไดแก สําเนางบทดลองที่ลูกคาจัดทํารายงานการ ประชุม หนงั สอื รับรองจากลกู คา แผนผงั โรงงาน 3. กระดาษทําการท่ีผูสอบัญชีไดรับจากบุคคลภายนอก เชน หนังสือขอขอมูลจากธนาคาร หนังสือ ยืนยันยอดลกู หน้ี การจัดทํากระดาษทําการอาจอยูในรูปของขอมูลบนกระดาษ หรือส่ืออิเล็กทรอนิกสก็ได กระดาษทําการ เปนเคร่ืองมือสําคัญในการเช่ือมโยงขอมูลขอมูลรายละเอียด หลักฐานที่ตรวจกับรายงาน การตรวจสอบ นอกจากน้ันกระดาษทําการยังใชประโยชนในการมอบหมายงานควบคุมงาน รวมท้ังเปน แนวทางในการตรวจสอบครั้งตอ ไป 2. วตั ถปุ ระสงคในการจัดทํากระดาษทาํ การ วัตถุประสงคท ีส่ าํ คญั ในการจดั ทํากระดาษทาํ การสรปุ ไดด ังน้ี 1. เพ่ือเปน หลกั ฐานประกอบการแสดงความเห็นของผสู อบบญั ชตี องบการเงินที่ตรวจสอบ 2. เปนหลักฐานที่แสดงวาไดมีการวางแผนและปฏิบัติงานตรวจสอบ ตามมาตรฐานการสอบบัญชี และขอกาํ หนดทางกฎหมายท่เี กี่ยวของ 3. ชว ยกลุมผปู ฏิบัตงิ านตรวจสอบในการวางแผนและปฏบิ ัตงิ านตรวจสอบ 4. ชวยสมาชิกในกลุมผูปฏิบัติงานตรวจสอบท่ีรับผิดชอบในการควบคุมดูแล กําหนดแนวทางและ ควบคมุ ดูแลงานตรวจสอบและปฏิบัติตามความรบั ผิดชอบในการสอบทานมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 200

5. ชวยใหระบุความรับผิดชอบของกลุมผูปฏิบัติงานตรวจสอบท่ีมีตองานท่ีทําไดเก็บรักษาบันทึกของ เรือ่ งตา ง ๆ ท่มี คี วามสําคญั ตอ เนื่องเพ่อื การตรวจสอบในอนาคต 6.ชว ยใหสามารถปฏิบัติการสอบทานการควบคมุ คณุ ภาพและตรวจทานได 3.รปู แบบและเน้ือหาของกระดาษทาํ การ รูปแบบและเนื้อหาของกระดาษทําการของผูสอบบัญชี ข้ึนอยูกับวัตถุประสงคการใชและเน้ือหาในเร่ือง ท่ตี รวจสอบ ดังนั้น จึงเปน เรอ่ื งของการใชด ลุ พนิ ิจเยี่ยงผูประกอบวชิ าชพี ของผูสอบบญั ชีเอง มาตรฐานการสอบ บัญชี รหัส 230 กลาววา เนื้อหาและขอบเขตของเอกสารหลักฐานของงานตรวจสอบท่ีตองบันทึก ไดแก เรือ่ งตาง ๆ ท่สี าํ คัญ (Significant Matters) ท่ีเกิดขึ้นระหวางการตรวจสอบ ขอสรุปท่ีไดจากเรอ่ื งดังกลาว และ ดุลพินิจเย่ียงผูประกอบวิชาชีพที่สําคัญท่ีใชเพื่อใหไดขอสรุปดังกลาว การปรึกษาหารือเก่ียวกับเรื่องตาง ๆ ท่ีสาํ คญั กับผูบ ริหาร ผูม หี นา ท่ีในการกํากับดูแล และบคุ คลอนื่ เชน บุคคลทใี่ หคําแนะนําดานวิชาชีพแกก จิ การ รูปแบบ เนื้อหา และขอบเขตของเอกสารหลักฐานของงานตรวจสอบขนึ้ อยูกบั หลายปจจัย ไดแ ก 1.ขนาดและการซบั ซอนของกิจการ 2.ลกั ษณะของวิธกี ารตรวจสอบท่ใี ช 3.ความเสี่ยงที่ระบไุ วจากการแสดงขอมลู ทข่ี ดั ตอ ขอ เทจ็ จริงอันเปนสาระสาํ คัญ 4.ความสําคญั ของหลกั ฐานการสอบบญั ชที ี่ไดรบั 5.ลักษณะและขอบเขตของขอ ยกเวนที่พบ 6.ความจาํ เปนที่จะตองบันทกึ ขอ สรุปและเกณฑในการไดมาซึง่ ขอสรุป ซึง่ ไมส ามารถระบุไดทนั ทจี าก เอกสารหลักฐานของงานทที่ ําหรอื หลกั ฐานการสอบบญั ชีท่ยี อมรบั 7.วิธีการและเคร่ืองมือตรวจสอบที่ใชกระดาษทําการท่ีดีจะตองมีขอมูลสมบูรณ ถูกตอง เขาใจงาย กระชับ มรี ายละเอียดเพียงพอตอ การสรุปและการตัดสินใจเลอื กรปู แบบรายงานของผูสอบบัญชี กระดาษทําการทีด่ คี วรประกอบดวยขอมลู ดังตอ ไปน้ี 1.หัวกระดาษทําการ หัวกระดาษทําการควรท่ีช่ือของกิจการที่ตรวจสอบ งวดบัญชี บัญชีท่ีทําการ ตรวจสอบ และชือ่ ของกระดาษทาํ การซึง่ ระบุเรอ่ื งทีต่ รวจสอบ 2.ดัชนีกระดาษทําการและการอางอิง ดัชนีกระดาษทําการและการอางอิงเปนการจัดหมวดหมู กระดาษทําการมีลักษณะคลายกับการระบุเลขหนาของหนังสือ การใหรหัสอางอิงจะเปนประโยชนในการ ตรวจสอบ ในการอางอิงจากหนาหน่ึงไปยงั อกี หนา หนงึ่ ทัง้ ยังเปนประโยชนในการรวบรวมคน หา และสามารถ จดั เกบ็ ไดโ ดยไมสูญหาย และทาํ ใหการสอบทานงานไดสะดวกแลวรวดเร็วมากขนึ้ 3. เคร่ืองหมายการตรวจสอบ (Tick Mark) เปนการใชเคร่ืองหมายหรือสัญลักษณ เพื่อแสดง ใหเห็นวาผูสอบบัญชีไดตรวจสอบขอมูลโดยวิธกี ารตรวจสอบใด โดยวธิ ีการตรวจสอบที่ใชจะตองสอดคลองกับ วัตถุประสงคการตรวจสอบ โดยปกติผูสอบบัญชีตองใสเคร่ืองหมายการตรวจสอบกํากับรายการที่ทําการ

ตรวจสอบและอธิบายความหมายของเคร่ืองหมายการตรวจสอบนั้นไวในสวนลางของกระดาษทําการ การใช เคร่ืองหมายตรวจสอบเขามาชวยในการจัดทํากระดาษทําการจะทําใหประหยัดเวลาในการเขียนวิธีการ ตรวจสอบ ตวั อยา งเคร่อื งหมายการตรวจสอบ เครอ่ื งหมาย คําอธิบาย √ ทดสอบการบวกเลขในแนวตง้ั S ตรวจสอบราคาตลาดหรือราคาขายลา สุดตอ หนว ยหลงั วนั สน้ิ งวด C ทดสอบการคํานวณ V ตรวจสอบกับใบเสรจ็ รบั เงิน ¥ ตรวจสอบกับบญั ชีแยกประเภทท่วั ไป Cf ตรวจสอบกบั หนังสอื ยนื ยันยอด 4. ลายมือช่ือผูจัดทําและวันท่ีจัดทํา เจาหนาที่ท่ีปฏิบัติงานตรวจสอบจะตองเปนผูลงลายมือชื่อ ในกระดาษทําการเพ่ือท่ีจะสามารถควบคุมการปฏิบัติงานและติดตามงานได รวมท้ังตองระบุวันท่ีจัดทําดวย เพ่ือสะดวกตอการติดตามรายการ ซ่ึงมักจะเรียงตามลําดับวันที่ตรวจสอบ รวมท้ังชวยในการวางแผน กําหนดเวลาในการตรวจสอบงวดตอ ไป 5. ลายมือผูสอบทานและวันที่สอบทานแลวเสร็จ การลงลายมือช่ือผูสอบทานและวันที่สอบทาน เพ่ือเปน หลักฐานวาผูสอบบญั ชไี ดมกี ารควบคมุ งานและสอบทานงานที่ทําโดยผูช วยผูสอบบัญชี อยางเพียงพอ และเหมาะสมหรือไม การสอบทานชว ยเพ่มิ คุณภาพของงานตรวจสอบ ในการปฏิบัติงานตรวจสอบ ผูสอบบัญชีตองจัดทํากระดาษทําการไวเปนหลักฐานในการปฏิบัติงาน ตรวจสอบ โดยขอมูลทจี่ ดบนั ทกึ ในกระดาษทําการ จะตอ งมคี วามสมบูรณและมรี ายระเอียดเพยี งพอท่ีจะแสดง ใหเหน็ วา ผูสอบบัญชีไดป ฏิบตั ิงานตรวจสอบ ตามมาตรฐานการสอบบัญชี ในการจัดทํากระดาษทําการควรมี รูปแบบที่เปนมาตรฐานของแตละสํานักงานเพ่ือประโยชนในการส่ังการ ควบคุมดูแล และสอบทาน งาน กระดาษทําการควรเก่ียวของกับวัตถุประสงคการตรวจสอบ เนื้อหากระชับรัดกุม มีระบบการใหดัชนี อางอิงการะดาษทําการอื่น (Cross-indexing) ทั้งที่มาท่ีไปอยูในเน้ือหาที่มีลําดับชั้นของการสนับสนุนขอมูล ระหวางกัน นอกจากนั้นควรมีแบบฟอรมกระดาษทําการบางอยางไวเปนมาตรฐาน เชน ใบตรวจรับเงินสด กระดาษทาํ การสรุปผลการยนื ยนั ยอดลกู หนี้ เปนตน 4.การกาํ หนดดชั นีกระดาษทาํ การและการอางองิ การกาํ หนดดชั นีกระดาษทําการและการอางองิ เพื่อใชในการอางองิ กระดาษทําการทเี่ ก่ียวของกนั รหสั ดชั นกี ารอางอิงมีประโยชนใ นการใชอ า งอิงกระดาษทําการหนา หน่ึงไปยงั กระดาษทําการอนื่ ทีเ่ กี่ยวขอ ง

และยงั เปน การจดั หมวดหมูก ระดาษทําการจะแบง ออกเปนหมวดหมกู ระดาษทําการซง่ึ ชวยใหก าร จัดเก็บ การคนหาการสอบทานงานไดสะดวกและรวดเรว็ มากข้ึน ดชั นกี ระดาษทําการแบง ออกเปน หมวดหมู ตามองคป ระกอบของงบการเงินและขน้ั ตอนของการตรวจสอบการจดั ทาํ กระดาษทําการจะมีการใหรหสั อา งองิ ประจําแตละหนา ทางมมุ บนหรอื มมุ ลางดา นขวาของหนา กระดาษ เพือ่ ใหม องเหน็ เดน ชัด สาํ นักงานแตล ะแหง อาจมีการใหรหสั ดชั นอี างองิ กระดาษทาํ การที่ตา งกัน ระบบการใหด ัชนี กระดาษทาํ การท่ีนยิ มใชมีดงั น้ี วธิ ที ่ี 1 ระบบตัวเลข วธิ ที ่ี 2 ระบบตวั อกั ษร วธิ ีท่ี 3 ระบบผสมตวั อักษรและตวั เลข วธิ ที ี่ 1 ระบบตัวเลข เปน การใชตัวเลขตอเนอื่ งตามลาํ ดับ โดยใชตวั เลขสําหรับกระดาษทาํ การหลัก สวนกระดาษทําการประกอบใชตวั เลขขยาย เชน 1 กระดาษทาํ การเงินสดและรายการเทยี บเทา เงินสด 1-1 กระดาษทาํ การใบตรวจสอบนบั เงินสดยอ ย 2 กระดาษทําการลูกหน้ีการคา 2-1 กระดาษทําการสรปุ ผลการยนื ยันยอดลูกหนี้ วธิ ีที่ 2 ระบบตัวอักษร เปน การใชต ัวอกั ษรลําดับเรียงไปตามลาํ ดับ อาจใชอ กั ษรภาษาไทยหรอื ภาษาอังกฤษ เชน A กระดาษทําการเงนิ สดและรายการเทียบเทาเงินสด B กระดาษทําการลูกหนกี้ ารคา C กระดาษทําการสินคาคงเหลอื วิธีที่ 3 ระบบผสมตวั อกั ษรและตวั เลข โดยใชตัวอักษรสาํ หรบั กระดาษทําการหลัก และตัวเลขสําหรับ กระดาษทาํ การประกอบ A กระดาษทาํ การเงนิ สดและรายการเทยี บเทา เงินสด A-1กระดาษทําการใบตรวจสอบนบั เงินสดยอย B กระดาษทําการลกู หนี้การคา B-1กระดาษทําการสรุปผลการยืนยันยอกลูกหน้ี

5. ประเภทของกระดาษทาํ การ ผสู อบบญั ชีควรจดั ทํากระดาษทําการที่มีความสมบรู ณ เพ่อื บันทึกขอมูลทีเ่ พียงพอและเหมาะสม เพอื่ ใหบ รรลวุ ตั ถปุ ระสงคการตรวจสอบและสามารถสรปุ ความเหน็ ในรายการของผสู อบบญั ชีทมี่ ตี องบการเงิน ได อยางไรกต็ าม อาจแบง ประเภทของกระดาษทําการทีผ่ ูสอบบัญชีจัดทาํ ไดดงั น้ี 1. กระดาษทาํ การขอ มลู ทว่ั ไป ไดแก โครงสรา งขององคกร สําเนาหนงั สือบริคณหสนธิขอบงั คับ ราง งบการเงนิ และรา งรายงานของผูส อบบัญชี หนงั สอื รบั รองของผูบรหิ าร หนังสอื ตอบจากทนายความ ขอ เสนอแนะเกี่ยวกับการควบคมุ ภายใน การวเิ คราะหเ ปรยี บเทยี บ แผนกานสอบบัญชโี ดยรวมแนวการสอบ บัญชี บันทกึ การสอบทาน เปน ตน 2. กระดาษทาํ การงบการเงนิ (Financial Statements Working Papers) ไดแก กระดาษทําการ งบ ทดลอง งบแสดงฐานะการเงนิ งบกําไรขาดทุน การอา งอิงจาํ นวนเงนิ ในงบการเงิน อาจใชร หัสอา งอิง F/S (Financial Statements) หรอื อาจอา งอิงไปยังงบเหลาน้นั โดนตรงเลยก็ได เชน กระดาษทําการงบการเงิน F/S (Financial Statements) กระดาษทาํ การงบแสดงฐานะการเงิน F/P (Statement of Financial Position) กระดาษทาํ การงบกาํ ไรขาดทนุ P/L (Profit and loss) กระดาษทําการงบทดลอง T/B (Trial Balance) กระดาษทาํ การรายการปรับปรงุ และจดั ประเภทบัญชีใหม (AJE Adjustment and Reclassification Entry)

สํานกั งานสอบบัญชไี ทย F/P 1 ชื่อลกู คา บริษทั รุงแสง จํากดั งวดบญั ชี 31 ธันวาคม 25x1 กระดาษทําการงบแสดงฐานะการเงิน กระดาษ ยอดตามบัญชี ยอดตามบญั ชี รายการปรับปรุง ยอดตามท่ี เดบติ เครดติ ตรวจสอบ ช่อื บญั ชี ทาํ การ 31 ธันวาคม 31 ธนั วาคม 25x1 อางองิ 25x0 25x1 สินทรัพยหมนุ เวยี น เงินสดและรายการเทียบเทา A 40,000 81,250 2,000 (1,500) 81,750 เงินสด ลูกหน้กี ารคาและลกู หนอี้ ่นื B 90,000 90,750 2,000 92,750 สนิ คา คงเหลือ C 60,000 120,000 120,000 สินทรพั ยห มุนเวยี นอ่ืน D 20,000 10,000 1,000 รวมสนิ ทรัพยหมนุ เวยี น 210,000 302,000 4,000 (1,500) 304,500     สินทรพั ยไ มหมนุ เวียน ท่ีดนิ อาคารและอปุ กรณ E 1,000,000 1,200,000 1,200,000 หกั คาเสื่อมราคาสะสม (60,000) (90,000) (10,000) (100,000) ที่ดิน อาคารและอปุ กรณสุทธิ 940,000 1,110,000 สินทรัพยไ มห มุนเวยี นอน่ื 94,000 14,000 1,100,000 1,034,000 1,124,000 (10,000) 14,000 รวมสนิ ทรพั ยไ มห มุนเวียน 1,244,000 1,426,000 (10,000) 1,114,000 รวมสินทรัพย 4,000 11,500 1,418,500     ทดสอบการบวกเลข ผูจดั ทํา .........โชค....วนั ท่ี .....10/2/25x2....... ผูสอบทาน ........ดี... วันที่.14/2/25x2.............

สาํ นักงานสอบบัญชีไทย F/P 2 ช่อื ลูกคา บรษิ ัท รุงแสง จํากดั งวดบัญชี 31 ธันวาคม 25x1 กระดาษ ยอดตามบญั ชี ยอดตามบญั ชี รายการปรับปรงุ ยอดตามที่ กระดาษทาํ การงบแสดงฐานะการเงิน ทาํ การ 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 25x1 เดบิต เครดิต ตรวจสอบ อางองิ ช่อื บัญชี 25x0 25x1 หนี้สินหมนุ เวียน G 34,000 198,000 198,000 เจา หนีก้ ารคา H 100,000 100,000 เงนิ กูยืมระยะยาวท่ีถึงกําหนด 1 ป 2,000 I 10,000 14,500 2,000 19,780 หน้สี นิ หมุนเวียนอน่ื 1,280 รวมหนส้ี ินหมุนเวยี น 44,000 313000 5,280 318,330 หนี้สินไมหมนุ เวียน   เงินกยู มื ระยะยาว J 800,000 900,000 900,000 รวมหนี้สิน   สว นของผูถือหุน K 400,000 200,000 200,000 ทุน 170 กาํ ไรสะสม L- 12,950 12,780 รวมสว นของผถู อื หุน 400,000 212,950 12,780 200,170 รวมหนี้สนิ และสวนของผถู อื หนุ 1,244,000 1,426,000 12,780 5,280 1,418,500 1,244,000 1,426,000 12,780 5,280 1,418,500      ทดสอบการบวกเลข ผูจ ัดทํา .........โชค....วนั ที่ .....10/2/25x2....... ผสู อบทาน ........ดี... วนั ท่ี.14/2/25x2.............

สํานักงานการสอบบญั ชีไทย AJE ชอ่ื ลกู คา บริษัท รงุ แสง จํากัด งวดบัญชี 31 ธนั วาคม 25x1 กระดาษทาํ การรายการปรบั ปรงุ ลําดบั ดัชนี รายการปรบั ปรุง เดบติ เครดติ อา งอิง AJE1 CC5 เดบิต คาพาหนะ 400 CC6 คาวัสดสุ ้นิ เปลือง 300 CC7 คา รับรอง 800 ������������ − 1 เครดิต เงินสดยอ ย 1500 1 ปรับปรงุ คาใชจายจากงวดเงินสดยอ ยที่ยังไมไดเบิกชดเชย ผูจัดทาํ .......โชค........วนั ที่ ......10/2/25x2 ผูสอบทาน ...ด.ี .. วนั ที่ ....14/2/25x2….. 3.กระดาษทําการหลัก (Lead Schedule) เปน กระดาษทาํ การที่สรปุ ยอดคงเหลอื จากงบทดลอง โดยแบง หมวดหมูตามองคประกอบของงบการเงนิ กรณที ่มี ีการปรับปรงุ จะตองปรับปรุงในกระดาษทําการหลกั กอน กอนที่จะอา งองิ ยอดคงเหลอื ไปยังกระดาษทําการงบการเงินการกําหนดดชั นีกระดาษทาํ การหลักแตละรายการ จะกําหนดดัชนีท่ีแตกตางกนั ตามองคประกอบของงบการเงนิ เชน เงนิ สดและรายการเทียบเทา เงินสดA ลกู หน้ีการคาและลกู หนอี้ นื่ B สนิ คา คงเหลือ C

สํานักงานสอบบัญชีไทย ช่ือลกู คา บริษัท รุง แสง จํากัด งวดบัญชี 31 ธันวาคม 25x1 กระดาษทาํ การเงินสดและรายการเทียบเทาเงนิ สด ช่ือบญั ชี กระดาษทํา ยอดตาม ยอดตาม รายการปรบั ปรุง ยอด การอา งองิ บญั ชี บัญชี เดบติ เครดิต ตามที่ 31 ธ.ค. 31 ธ.ค. ตรวจสอบ 25x0 25x1 25x1 10,000¥ เงินสดยอ ย A-1 10,000W 2,000 1,500 8,500 71,250¥ เงินฝากธนาคาร-ออมทรัพย A-2 2,000 73,250 บญั ชเี ลขท่ี 5361011715 30,000w รวมเงนิ สดและรายการเทยี บเทาเงนิ สด 40,000 81,250 2,000 1,500 81,750    W ตรวจกบั กระดาษทาํ การปก อน  ทดสอบการบวกเลข F/P ¥ ตรวจสอบกับยอดคงเหลอื ในบญั ชีแยกประเภท ณ วันท่ี 31 ธนั วาคม 25x1 สรปุ ผลการตรวจสอบ จากการตรวจสอบบัญชีเงนิ สดและรายการเทยี บเทาเงินสดในวนั ที่ 31 ธันวาคม 25x1 หากกจิ การไดป รับปรงุ ที่นาํ เสนอ สามารถสรปุ ไดวา ยอดคงเหลือเงนิ สดและรายการเทียบเทาเงนิ สดในวันท่ี 31 ธนั วาคม 25x1 แสดงยอดถูกตอ งท่ีควรใน สาระสําคัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงนิ ผูจ ัดทาํ ......เอ....วนั ท่ี ......10/2/25x2...... ผสู อบทาน ........บี..... วันที่ .....14/2/25x2.......

4.กระดาษทําการประกอบ (Lead Schedule) เปนกระดาษทาํ การท่ใี ชบนั ทกึ ขอ มลู รายละเอยี ดในบัญชี วเิ คราะหข อ มลู คํานวณหรือกระทบยอด ซึ่งยอดรวมจะอางองิ ไปยังกระดาษทําการหลัก เชน กระดาษทําการ ใบตรวจเงนิ สดยอ ย และการดาษทําการงบพิสจู นยอดเงนิ ฝากธนาคารเปนกระดาษทาํ การประกอบของกรดาษ ทาํ การหลกั เงนิ สดและรายการเทยี บเทา เงินสดซ่งึ อาจแสดงไดด ังน้ี เงินสดและรายการเทียบเทา เงินสด A (กระดาษทาํ การหลัก) ใบตรวจนับเงินสดยอย A-1 (กระดาษทาํ การประกอบ)

สาํ นักงานสอบบัญชีไทย ชื่อลูกคา บรษิ ัท รงุ แสง จํากัด งวดบญั ชี 31 ธันวาคม 25x1 กระดาษทาํ การใบตรวจนับเงนิ สดยอย วงเงนิ สดยอ ย 10,000.00 บาท ตรวจนับท่ี แผนกการเงนิ เวลา 8.30 น. ตามบญั ชี ณ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 25x1 รายการตรวจนับ ประเภท จํานวน จาํ นวนเงิน ธนบัตร 1,000.00 5 5,000.00 C 500.00 5 2,500.00 C 100.00 5 500.00 C 50.00 - - 20.00 20 400.00 เหรียญ 10.00 10 100.00 5.00 - - 1.00 - - รวมธนบัตรและเหรียญ 8,500.00  ������������−1 ใบสําคัญเงินสดยอ ยท่ียงั ไมไดเบกิ ชดเชย 1,500.00 1 รวม 10,000.00 ยอดเงินตามบญั ชี 10,000.00 ¥ ขา พเจาขอรบั รองวา ไดร ับเงิน เอกสาร และหลกั ฐานทน่ี ํามาใหท ําการตรวจนบั ตามทปี่ รากฏขา งตน คนื จากผตู รวจครบแลว ภายหลงั จากตรวจนบั และไมมตี ัวเงนิ เอกสาร หรือหลกั ฐานใดที่ถอื เปนตวั เงินนอกเหนอื ไปจากท่ไี ดมาใหตรวจนับเหลืออยู ผตู รวจนับ ....เอ .....วันท่.ี ..31/12/25x1 ผรู กั ษาเงนิ สด ....นฤมล...วนั ที่ ...31/12/25x1  ทดสอบบวกเลข ¥ ตรวจสอบกับอดคงเหลือในบัญชีแยกประเภท ณ วนั ท่ี 31 ธันวาคม 25x1 C ทดสอบการคํานวณ ผจู ดั ทํา .....เอ....วนั ท่ี ....31/12/25x1..... ผสู อบทาน ....บ.ี ...วันท.่ี ...14/2/25x2.....

5. กระดาษทําการสนับสนนุ (Supporting Schedule) เปนกระดาษทาํ การท่ีใชจดบันทกึ ขอมูล ประกอบรายการกระดาษทาํ การประกอบ เพื่อแสดงรายละเอียดใหมากขึน้ เชน ใบสําคัญจายเงินสดทยี่ งั ไมได เบกิ ชดเชย หนังสือขอขอมูลจากธนาคาร หนังสือยืนยันยอดลกู หน้ี เปน ตน เงินสดและรายการเทยี บเทา เงนิ สด A (กระดาษทําการหลัก) ใบตรวจนับเงินสดยอ ย A-1 (กระดาษทําการประกอบ) ใบสาํ คญั จายเงนิ สดยอยท่ียังไมไ ดเ บิกชดเชย ������������−1 (กระดาษทําการสนบั สนุน) 1

สํานกั งานสอบบญั ชีไทย ชอื่ ลกุ คา บรษิ ัท รงุ แสง จํากัด ������������ − 1 1 งวดบญั ชี 31 ธนั วาคม 25x1 หมายเหตุ กระดาษทาํ การใบสําคัญจา ยเงินสดยอ ยท่ียังไมไ ดเบิกชดเชย AJE1 รายการ ใบสําคญั จา ย จํานวนเงิน คาพาหนะ เลขที่ วันที่ 400.00 V คาวสั ดุส้ินเปลอื ง 300.00 V คารับรอง 12-101 29 ธ.ค 25x1 800.00 V 1,500.00  12-102 30 ธ.ค 25x1 12-103 30 ธ.ค 25x1 หมายเหตุ 1. กิจการเบกิ ชดเชยเงินสดยอยครง้ั สุดทายเม่ือวันท่ี 29 ธ.ค 25x1 ตามใบสาํ คญั เลขที่ 10-020 ถึง 12-029 สําหรับใบสาํ คญั เลขที่ 12-030 ถึงเลขท่ี 12-032 เปน คาใชจา ยงวดนจี้ ึงเสนอปรบั ปรุงบญั ชี เดบิต คาพาหนะ 400 บาท คาวสั ดุสิน้ เปลือง 300 บาท AJE1 คารบั รอง 800 บาท เครดติ เงินสดยอย 1,500 บาท 2. ใบสําคัญเงนิ สดยอ ยและเอกสารประกอบมิไดป ระทับตราคําวา “จายแลว ” ไดแนะนําลกู คา ใหประทบั ตราทกุ ครัง้ เพือ่ จะไดป อ งกนั ไมใ หเกิดปญ หาการนาํ ใบเสรจ็ และเอกสารมาเบิกซาํ้ V ตรวจสอบเอกสารหลกั ฐานประกอบการจายเงนิ ทดสอบการบวกเลข ผูจ ัดทาํ .....เอ...วนั ที่ 31/12/25x1.... ผูสอบทาน ...บ.ี ...วนั ที่ ....14/2/25x2....

6. กระดาษทาํ การสรุปผลการตรวจสอบ (Summary Working Papers) เม่อื ผสู อบบญั ชีตรวจสอบเสร็จ ส้ินในแตล ะรายการของงบการเงินผสู อบบัญชีจะสรุปผลการตรวจสอบโดยรวมสําหรับแตละองคประกอบของ งบการเงิน การสรุปดังกลาวอาจสรปุ ผลการตรวจสอบโดยจัดทาํ ในกระดาษทําการแตละเรอ่ื งท่จี ดั ทํา หรอื อาจ ทาํ กระดาษทาํ การสรุปผลการตรวจสอบแยกตางหากก็ได โดยใหด ัชนีทาํ การเรียกวา กระดาษทําการสรุป สาํ หรับรายการนัน้ ๆ ดวย ดัชนี S ซึง่ ยอมาจาก Summary เชน กระดาษทาํ การเงนิ สดและรายการเทยี บเทา เงนิ สด A กระดาษทาํ การสรปุ การตรวจสอบ-เงินสดและรายการเทยี บเทาเงินสด AS สํานกั งานาสอบบัญชีไทย ชอื่ ลกู คา บริษทั รงุ แสง จาํ กัด งวดบัญชี 31 ธนั วาคม 25x1 กระดาษทําการสรุปผลการตรวจสอบเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด สรุปผลการตรวจสอบ จากการตรวจสอบบญั ชเี งินสดและรายการเทียบเทาเงนิ สดในวนั ที่ 31 ธนั วาคม 25x1 หากกจิ การได ปรับปรุงรายการทนี่ าํ เสนอจะสามารถสรปุ ไดว า ยอดคงเหลือเงินสดและรายการเทยี บเทาเงนิ สดในวันที่ 31 ธนั วาคม 25x1 แสดงยอดถกู ตองตามท่ีควรในสาระสาํ คญั ตามมาตรฐานการายงานทางการเงนิ ผูจ ดั ทาํ ..เอ........วนั ท่ี....10/2/25x2 ผูสอบทาน ....บ.ี ..วนั ท่ี ...14/2/25x2.....

กระดาษทําการงบแสดงฐานะการเงนิ AJE 1,500 งบแสดงฐานะการเงนิ กระดาษทาํ การรายการปรบั ปรุง ณ วันท่ี 31 ธนั วาคม 25x1 F/P 1.เดบติ คาพาหนะ 400 สินทรพั ย คา วัสดุส้นิ เปลอื ง 300 สินทรัพยหมุนเวยี น คา รับรอง 800 เงนิ สดและรายการเทยี บเทา เงนิ สด A 81,750 เครดติ เงนิ สดยอย A กระดาษทาํ การหลัก-เงินสดและรายการเทียบเทาเงนิ สด ดชั นอี า งอิง ยอดตามบญั ชี ปรังปรุง ยอดตาม ตรวจสอบ เงนิ สด A-1 10,000 (1,500) AJE 1 8,500 เงนิ ฝากธนาคาร A-2 71,250 2,000 AJE 2 73,250 รวม 81,250 81,750 กระดาษทําการประกอบ A-1 กระดาษทาํ การสนบั สนุน ������������ − 1 1 กระดาษทาํ การใบตรวจนับเงนิ สดยอ ย กระดาษทาํ การเงนิ สดยอยท่ยี ังไมไดเ บกิ ชดเชย

6.การสอบทานกระดาษทาํ การ ในกรควบคุมผูช วยผสู บิ บญั ชีใหป ฏิบัติตามมาตรฐานการสอบบญั ชผี ูสอบบญั ชจี ะตองกําหนดใหมีการ สอบทานกระดาษทําการเพ่ือใหแนใ จวาการปฏิบัติงานเปนไปตามการวางแผนการปฏิบตั ิงาน และเพื่อใหง าน ตรวจสอบมีคุณภาพเปน ไปตามมาตรฐานการสอบบญั ชี การสอบทานจะตอ งทําทันทที ี่กระดาษทําการไดจดั ทาํ เสรจ็ เพื่อสามารถแกไ ขขอ บกพรองใหเรยี บรอ ยกอนทง่ี านสอบบัญชีจะเสรจ็ สิ้นสมบูรณ มาตรฐานการสอบ บญั ชี รหัส 220 เรือ่ งการควบคมุ คณุ ภาพการตรวจสอบงบการเงิน กําหนดใหผูสอบควรทําการพิจารณาเรือง ดงั ตอ ไปน้ี 1.ผตู รวจสอบไดม ีการปฏิบัติงานตามแผนการตรวจสอบและมาตรฐานวชิ าชีพและขอ กําหนดทาง กฎหมายทเี่ กี่ยวของหรือไม 2.ไดม ีการนาํ เรอื่ งที่สําคญั ตาง ๆ มาพจิ ารณาแลวหรอื ไม 3.ไดมีการขอคําปรึกษาท่เี หมาะสมและไดม กี ารบันทกึ แลนาํ ขอ สรุปที่ไดไปปฏิบัติหรือไม 4.มีความจําเปนท่ีจะตอ งปรับเปลี่ยนลกั ษณะ ระยะเวลา และขอบเขตงานตรวจสอบทีท่ าํ หรือไม 5.ขอ สรุปท่ไี ดสอดคลองกบั หลกั ฐานท่ีตรวจสอบ 6.หลักฐานทไี่ ดร บั เพียงพอและเหมาะสมท่ีสนับสนนุ รายงานผูสอบบัญชีหรือไม 7.ไดบ รรลุวัตถุประสงคของวธิ กี ารตรวจสอบหรือไม นอกจากนมี้ าตรฐานการสอบบญั ชี รหัส 230 เรือ่ งเอกสารหลักฐานของงานตรวจสอบยังกําหนดให ผูสอบบญั ชีตอ งจดั ทําเอกสารหลกั ฐานของงานตรวจสอบในเวลาอยางทันทวงที (Timely Preparation) คณุ ภาพของการตรวจสอบ และชว ยใหการสอบทานและการประเมนิ หลักฐานการสอบบญั ชีท่ีไดรับและ ขอสรปุ ทีไ่ ดเ ปนไปอยางมปี ระสทิ ธผิ ลกอนทร่ี ายงานของผสู อบบญั ชจี ะเสรจ็ สน้ิ เอกสารหลักฐานที่จัดทําขนึ้ ภายหลังการปฏบิ ตั งิ านตรวจสอบ อาจมีความถกู ตอ งนอ ยกวาเอกสารหลกั ฐานที่จัดทําขึ้นขณะที่ปฏบิ ัติงาน ตรวจสอบนั้น 7. การเกบ็ รักษากระดาษทําการ กระดาษทาํ การเปน หลักฐานที่แสดงถึงการปฏบิ ัติงานตรวจสอบบญั ชี หลักฐานทีไ่ ดรับจากการ ปฏบิ ัตงิ านตรวจสอบ และส่งิ ตรวจพบจากการตรวจสอบของผูสอบบัญชีดงั น้นั ผูสอบบญั ชตี องเก็บรักษา กระดาษทําการใหป ลอดภยั จากการถูกแกไ ข สูญหาย หรอื การนําขอมลู ทอี าจเปนความลับของกิจการไป เปดเผยตอบุคคลอน่ื กระดาษทําการทุกแผนตอ งมดี ชั นกี ระดาษทําการกาํ กบั ไว ตงั้ แตเ ร่มิ จดั ทํา เม่ือจัดทํา

กระดาษทําการเสร็จสมบรู ณแลว ใหลงลายมอื ชอ่ื และระบุวนั ท่ีจดั ทําละสงใหผูสอบทานเพ่ือสอบทานกระดาษ ทาํ การ เมือ่ ผูส อบทานไดส อบทานกระดาษทําการเสร็จใหจดั เกบ็ เปนหมวดหมเู ขาแฟมงานตรวจสอบ มาตฐาน การสอบบัญชี รหัส 230 เรือ่ งเอกสารหลักฐานของงานตรวจสอบกาํ หนดใหผ ูสอบบัญชีตอ งรวบรวมเอกสารหลกั ฐานของงาน ตรวจสอบในแฟม งานตรวจสอบและดําเดินการใหกระบวนการรวบรวมแฟมงานตรวจสอบ ข้ันสดุ ทายเสรจ็ สมบรู ณอ ยา งทนั ทว งที แฟม งานตรวจสอบ หมายถงึ แฟมหนง่ึ แฟม หรอื มากกวา หรือสื่อบันทกึ ขอมูลอื่นหนึง่ สือ่ หรือมากกวา โดยอยใู นรูปแบบเอกสารหลักฐานหรอื รปู แบบอิเล็กทรอนกิ ส ซ่ึงใชจัดเกบ็ ขอมูลเอกสารหลักฐานของงาน ตรวจสอบงานใดงานหน่ึงโดยเฉพาะ แฟม งานตรวจสอบของผสู อบของผูสอบบัญชี แบง ออกเปน 2 ประเภทใหญ ๆ ดงั น้ี 1. แฟมถาวร (Permanent File) เปน แฟม ท่เี กบ็ รวบรวมกระดาษทําการ ซ่ึงมคี วามสําคัญและเปน ประโยชนตอการตรวจสอบบญั ชีเกินกวาหนง่ึ รอบระยะเวลาบัญชหี รือตลอดระยะเวลาการเปนผสอบบัญชีของ ลกู คาแตละราย ขอมูลในแฟมถาวรควรปรับปรงุ ใหเปน ปจ จบุ ัน ดวยขอ มลู ใหมทม่ี ีความสําคัญอยางตอเน่ือง เปนประจําทุกป ตวั อยา งของกระดาษทาํ การในแฟมถาวร - โครงสรางขององคกร และแผนภมู ิองคกร - สาํ เนาหนงั สือบรคิ ณหสนธิ ขอบงั คบั สัญญา หรือขอ ตกลงที่ใชบงั คบั ระยะยาว - หนงั สือรับรองการจดทะเบียนนติ ิบคุ คล หนังสือสญั ญาเขาเปน หนุ สวน - รายงานการประชุมกรรมการหรอื รายงานการประชมุ ผูถ อื หุน - ผงั บัญชี นโยบายการบัญชี นโยบายธรุ กิจ คูมอื ปฏิบัติงานของลกู คา - รายงานการสอบบัญชีและงบการเงินของแตล ะป - ขอมลู เก่ียวกบั อุตสาหกรรม สภาพแวดลอมทางเศรษฐกิจ และกฎหมาย เปนตน 2. แฟม ปจ จุบนั (Current File) เปนแฟมทีเ่ ก็บรวบรวมกระดาษทาํ การ ท่ีเกย่ี วของโดยตรงกับงาน ตรวจสอบ ซ่งึ ขอมลู สว นใหญเก่ียวกบั การสอบบญั ชีในรอบระยะเวลาบัญชีเดยี ว ขอ มลู ในกระดาษทําการ ประเภทนี้เกีย่ วขอ งกับตวั เลข ขอ มูลในงบการเงินปใ ดปห นง่ึ เทาน้ัน

ตวั อยางของการทําการในแฟมปจจุบัน - กลยทุ ธการสอบบัญชโี ดยรวม และแนวการสอบบัญชี - หลักฐานเก่ยี วกบั การประเมนิ ความเสย่ี งสืบเน่ือง ความเสีย่ งจากการควบคมุ - แบบสอบถามการควบคุมภายใน - สาํ เนางบการเงิน และรายงานของผูส อบบญั ชสี าํ หรับปน นั้ ๆ - กระดาษทําการงบทดลอง หรือกระดาษทําการงบการเงิน - รายการเสนอใหก ิจการปรับปรงุ บัญชี หรอื จดั ประเภทใหม - แบบสอบถามการควบคุมภายใน - การวเิ คราะหเปรยี บเทยี บรายการตาง ๆ - หลกั ฐานท่ีแสดงถึงการควบคุมงานและการสอบทานงาน - จดหมายโตต อบ (รวมถึงจดหมายอเิ ล็กทรอนิกส) เกีย่ วกบั เรอ่ื งตาง ๆ ทส่ี ําคญั - หนังสอื รบั รองจากทนายความ หนังสอื รบั รงจากลูกคา เปน ตน มาตรฐานการสอบบัญชีกําหนดใหผูสอบบัญชรี วบรวมแฟม งานตรวจสอบขนั้ สุดทาย ใหเ สรจ็ สมบูรณ ในเวลาอยางทันทวงที ภายหลังวันท่ีในรายงานของผูสอบบัญชี กรอบเวลาที่เหมาะสม สําหรับการรวบรวม แฟมงานตรวจสอบขนั้ สุดทายใหเสร็จสมบูรณ โดยปกติแลว ไมเ กิน 60 วัน ภายหลังวันท่ีในรายงานของผูสอบ บญั ชี ผูสอบบญั ชีตองไมลบหรอื ท้ิงเอกสารหลักฐานของงานตรวจสอบทมี่ ีอยู หรือเพิ่มเติม เอกสารหลกั ฐานขอ งานตรวจสอบใหม ภายหลังจากท่ีการรวบรวมแฟมงานตรวจสอบข้ันสุดทายเสร็จสมบูรณแลว หากเห็นวา จําเปนตองปรับเปลี่ยนหรือเพ่ิมเติมเอกสารหลักฐานของงานตรวจสอบท่ีอยูตองบันทึกเหตุผลในการ ปรับเปล่ียน วนั ท่ีและบุคคลทป่ี รบั เปล่ียน รวมทัง้ วันที่สอบทานการปรบั เปลี่ยนหรือเพม่ิ เตมิ นัน้ มาตรฐานการควบคุมคุณภาพ ฉบับท่ี 1 กําหนดใหสํานักงานตองจัดใหมึนนโยบายและวิธีปฏิบัติ เกี่ยวกับการเกบ็ รกั ษาเอกสารหลักฐานของงานตรวจสอบระยะเวลาการเก็บรกั ษา สาํ หรับงานตรวจสอบ โดยปกติแลวไมนอยกวา 5 ป นับจากวันท่ีรายงานผูสอบบัญชี หรือใหใชวันที่ในรายงานของผูสอบบัญชี ซ่งึ สอดคลอ งกับพระราชบัญญัตกิ ารบญั ชี พ.ศ. 2543 ใหเ ก็บรักษาเอกสารทางบญั ชไี วไ มนอยกวา 5 ป กระดาษทําการถือเปนกรรมสิทธ์ิของผูสอบบัญชี ถึงแมวาบางสวนอาจเปนเอกสารของกิจการหรือ จัดทําข้ึนโดยกิจการ ผูสอบบัญชีอาจใหกิจการใชประโยชนจากกระดาษทําการได ซ่ึงขึ้นอยูกับดุลพินิจของ ผูสอบบัญชี แตกระดาษทําการไมสามารถใชเปนเอกสารหรือหลักฐานในการบันทึกทางบัญชีของกิจการได แมวาผูสอบบัญชีจะมีกรรมสิทธ์ิในกระดาษทําการ แตการเปนเจาของในกรณีน้ีแตกตางกับการเปนเจาของ สินทรัพยอยางอื่น คือ สินทรัพยอื่นท่ีเปนของผูสอบบัญชีจะนําไปใชอยางไรก็ได จะใหใครก็ทําไดทั้งส้ิน แตสาํ หรบั กระดาษทําการจะทําเชนน้ันไมได เพราะกระดาษทาํ การมขี อมลู ซ่ึงเปนความลับของกจิ การรวมอยู ดวย ดังน้ัน ผสู อบบัญชีตองระมัดระวังการใชกระดาษทําการเน่ืองจากไมพึงเปดเผยความลับของลูกคาใหแก

ผูใด การเปดเผยความลับของลูกคาที่ไดจากการปฏิบัติงานทางวิชาชีพเปนความผิดทั้งดานจรรยาบรรณตอ ลูกคาและความผิดตามกฎหมายอกี ดว ย สรปุ กระดาษทําการเปนหลักฐานสนับสนนุ การแสดงความเห็นของผูสอบบัญชตี องบการเงนิ ที่ ตรวจสอบ และเปนหลักฐานท่ีแสดงวาไดม ีการวางแผนและปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบ บัญชีและขอกําหนดทางกฎหมายที่เก่ียวของ กระดาษทําการไมมีรูปแบบและเนื้อหาที่แนนอนตายตัว แตข ึน้ อยูกบั รปู แบบ เน้ือหาและขอบเขตของเอกสารหลกั ฐานของงานตรวจสอบข้นึ อยกู ับหลายปจจัย เชน ขนาดและความซับซอนของกิจการ ลักษณะของวิธีการตรวจสอบท่ีใช ความเสย่ี งที่ระบุไวจากการแสดง ขอมูลที่ขัดขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญ ในการจัดทํากระดาษทําการตองมีการกําหนดดัชนีกระดาษทํา การ และรหัสอางอิงถึงกระดาษทําการท่ีเก่ียวของ กระดาษทําการทุกแผนตอมีดัชนีกระดาษทําการกํากับ ไวตง้ั แตเ ริ่มจัดทาํ เม่ือจัดทําการกระดาษทําการเสร็จสมบูรณแลวใหลงลายมือช่ือและระบุวันที่จดั ทําและ สง ใหผสู อบทานเพ่อื สอบทานกระดาษทาํ การเม่ือผสู อบทานไดส อบทานกระดาษทาํ การเสรจ็ ใหจดั เก็บเปน หมวดหมูเขา แฟมงานตรวจสอบใหเรียบรอ ยเพ่อื ใชประโยชนในการใชงานตอไป ผูสอบบัญชตี องเก็บรกั ษา ขอมลู ในกระดาษทาํ การไวเ ปนความลบั และเกบ็ รักษาอยา งปลอดภัย ท้ังนี้ควรเก็บรักษาไวเปนระยะเวลาที่เพียงพอตอความตองการในการใชกระดาษทําการในการ ปฏิบัติงาน มาตรฐานการควบคุมคุณภาพกําหนดวา ระยะเวลาการเก็บรักษาเอกสารหลักฐาน งานตรวจสอบโดยปกตแิ ลวจะเกบ็ ไมนอ ยกวา 5 ป นับจากท่ีในรายงานของผูสอบบัญชี ซ่ึงสอดคลองกับ พระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 ใหเก็บรักษาเอกสารทางบัญชีไวไมนอยกวา 5 ป อยางไรก็ดี ผูสอบบัญชีตองมีความรับผิดชอบในการที่จะไมเปดเผยความลับตาง ๆ เกี่ยวกับลูกคาใหผูอื่นทราบ ทั้งเวนแตในกรณีที่ตองใหถ อ ยคําในฐานะท่ีเปน พยานตามกฎหมาย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook