Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง การจัดวางองค์ประกอบศิลป์และทัศนธาตุ ม 4 ทดสอบ

ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง การจัดวางองค์ประกอบศิลป์และทัศนธาตุ ม 4 ทดสอบ

Published by krugetting, 2021-09-10 14:46:37

Description: ให้นักเรียนศึกษาใบความรู้ที่ 1

Search

Read the Text Version

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 เร่อื ง รับรงู้ านศลิ ปะ เวลา 8 ชั่วโมง ใบความรูท้ ่ี 1 เรอ่ื ง การจัดวางองคป์ ระกอบศิลปแ์ ละทศั นธาตุ ครผู ู้สอน นางสาวนริ ชร ชายทวปี ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4

มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ศ 1.1 สรา้ งสรรค์งานทัศนศลิ ปต์ ามจนิ ตนาการ และความคดิ สร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ คณุ ค่างานทัศนศลิ ป์ ถ่ายทอดความร้สู กึ ความคดิ ตอ่ งานศิลปะอยา่ งอสิ ระ ชื่นชม และประยุกตใ์ ชใ้ น ชีวิตประจำวัน ตวั ช้วี ดั ชั้นปี ศ 1.1 ม.4-6/1 วเิ คราะหก์ ารใชท้ ศั นธาตุ และหลักการออกแบบ ในการสอ่ื ความหมายในรูปแบบต่าง ๆ ศ 1.1 ม.4-6/2 บรรยายจดุ ประสงค์ และเนื้อหาของงานทัศนศลิ ป์ โดยใช้ศัพท์ทางทศั นศลิ ป์ ศ 1.1 ม.4-6/3 วเิ คราะหก์ ารเลือกใช้วสั ดุ อุปกรณ์ และเทคนิคของศลิ ปนิ ในการแสดงออกทางทศั นศิลป์ ศ 1.1 ม.4-6/4 มที ักษะและเทคนคิ ในการใช้วัสดุ อุปกรณ์ และกระบวนการทีส่ ูงข้ึน ในการสร้างงานทัศนศิลป์ ศ 1.1 ม.4-6/7 วเิ คราะหแ์ ละอธิบายจดุ มุ่งหมายของศิลปนิ ในการเลือกใชว้ สั ดุ อุปกรณ์ เทคนคิ และเนอ้ื หา เพ่อื สรา้ งสรรค์งาน ทัศนศลิ ป์ ศ 1.1 ม.4-6/9 จัดกลุ่มงานทัศนศิลปเ์ พือ่ สะทอ้ นพัฒนาการและความกา้ วหนา้ ของตนเอง ศ 1.1 ม.4-6/10 สร้างสรรค์งานทศั นศลิ ป์ไทย สากล โดยศึกษาจากแนวคิดและวธิ ีการสร้างงานของศิลปนิ ทตี่ นชนื่ ชอบ ครูผสู้ อน นางสาวนริ ชร ชายทวปี

มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ศ 1.2 เขา้ ใจความสัมพันธ์ระหวา่ งทศั นศลิ ป์ ประวตั ศิ าสตร์ และวัฒนธรรม เหน็ คุณค่างานทศั นศิลป์ ที่เปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภูมปิ ญั ญาท้องถ่ิน ภมู ปิ ัญญาไทยและสากล ตัวชว้ี ัดช้ันปี ศ 1.2 ม.4-6/1 วิเคราะห์ และเปรียบเทยี บงานทศั นศลิ ป์ในรูปแบบตะวันออกและรูปแบบตะวนั ตก ศ 1.2 ม.4-6/2 ระบงุ านทศั นศลิ ป์ของศิลปนิ ทม่ี ชี ่อื เสียง และบรรยายผลตอบรับของสังคม ศ 1.3 ม.4-6/3 อภปิ รายเกีย่ วกับอิทธิพลของวฒั นธรรมระหวา่ งประเทศทีม่ ีผลตอ่ งานทัศนศลิ ป์ในสังคม ครูผสู้ อน นางสาวนริ ชร ชายทวปี

การจดั วางองคป์ ระกอบศลิ ป์และทัศนธาตุ 1. เปา้ หมายการเรียนรู้ 1.1 ผลการเรยี นรู้ 1) รแู้ ละเข้าใจเทคนิค วิธกี ารการสรา้ งสรรค์งานดว้ ยทศั นธาตแุ ละการจดั วางองคป์ ระกอบศลิ ป์ 2) ชน่ื ชมและเห็นคุณคา่ ในการปฏิบัตงิ านศลิ ปะ 1.2 จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1) อธิบายเร่อื งเทคนคิ วธิ กี าร ทศั นธาตุและการจดั วางองคป์ ระกอบศลิ ป์ได้ 2) ปฏบิ ัตงิ านการจดั การองค์ประกอบศิลป์ ตามหลกั การปฏิบัตงิ านศลิ ปไ์ ด้ 3) บอกคณุ ค่าของการทำงานศิลปไ์ ด้ ครูผสู้ อน นางสาวนริ ชร ชายทวปี

การจัดวางองคป์ ระกอบศลิ ปแ์ ละทัศนธาตุ 2. สาระการเรยี นรู้ การจดั วางองค์ประกอบศลิ ป์ และทศั นธาตุ - ความหมาย การเกดิ และความสำคัญขององค์ประกอบศลิ ป์ - การจดั ระเบยี บในงานองค์ประกอบศลิ ป์ - หลักการองค์ประกอบศลิ ป์ - ทศั นธาตุ ครูผสู้ อน นางสาวนริ ชร ชายทวปี

ใบความรู้ เรือ่ ง การจดั วางองค์ประกอบศลิ ปแ์ ละทศั นธาตุ ความหมายองคป์ ระกอบศลิ ป์ คำวา่ องค์ประกอบ ตามความหมายพจนานกุ รมราชบัณฑิตยสถาน คือ ส่วนตา่ ง ๆ ทปี่ ระกอบกันทำให้เกดิ รูปร่าง ใหม่ข้นึ โดยเฉพาะ องค์ประกอบศิลป์ หมายถึง ส่ิงทีศ่ ิลปินและนักออกแบบใชเ้ ปน็ สอื่ ในการแสดงออกและสรา้ งความหมาย โดยนำมา จดั เขา้ ดว้ ยกันและเกิดรูปรา่ งอนั เด่นชดั (สวนศรี ศรแี พงพงษ์ : 82) องค์ประกอบศลิ ป์หมายถึง เคร่ืองหมายหรอื รูปแบบท่ีนำมาจัดรวมกันแล้วเกิดรปู รา่ งต่าง ๆ ทแี่ สดงออกในการสือ่ ความหมายและความคิดสรา้ งสรรค์ (สทิ ธศิ กั ด์ิ ธัญศรีสวสั ด์กิ ุล : 56) องคป์ ระกอบศิลป์ หมายถงึ ศลิ ปะทีม่ นุษยส์ ร้างขึน้ เพ่ือแสดงออกทางอารมณ์ ความรู้สึก ความคิดหรือความงามซง่ึ ประกอบดว้ ย สว่ นที่มนุษยส์ รา้ งขึน้ และส่วนท่ีเปน็ การแสดงออกอันเปน็ ผลท่เี กิดจากโครงสรา้ งทางวตั ถุ (ชลดู น่มิ เสมอ :18) องค์ประกอบศิลป์ หมายถงึ ส่วนประกอบตา่ งๆของศิลปะ เชน่ จุด เส้น รปู ร่าง ขนาด สัดสว่ น น้าหนัก แสง เงา ลักษณะพื้นผิว ท่ีวา่ งและสี (มานิต กรินพงศ์:51) องค์ประกอบศิลปค์ อื ความงาม ความพอดี ลงตวั อันเปน็ รากฐานเนอื้ หาของศลิ ปะ อกี ทัง้ ยังเปน็ เคร่ืองมือท่ีสำคัญ ทางศลิ ปะให้ผสู้ รา้ งสรรคไ์ ด้สอื่ สารความคิดของตนเองไปส่บู ุคคลอื่น (สุชาติ เถาทอง,สงั คม ทองมี,ธำรงศกั ดิ์ ธำรงเลศิ ฤทธิ์ ,รอง ทองดาดาษ: 3) ครผู สู้ อน นางสาวนริ ชร ชายทวปี

จากความหมายต่าง ๆ ข้างตน้ พอสรปุ ไดว้ ่า องค์ประกอบศิลป์ หมายถึงสิง่ ทีม่ นุษย์ใช้เป็นสื่อในการแสดงออก อยา่ งสรา้ งสรรค์ โดยนำสว่ นประกอบของศลิ ปะมาจดั วางรวมกนั อยา่ งสอดคล้อง กลมกลนื และมคี วามหมาย เกิดรูปรา่ งหรอื รปู แบบต่าง ๆ อันเด่นชัด ซง่ึ จากความหมายข้างตน้ จะเหน็ ได้ว่าการทีจ่ ะเกดิ ผลงานศิลปะดี ๆ สกั ช้นิ นั้น ผู้สร้างสรรค์ จะตอ้ งใชก้ ระบวนการทห่ี ลากหลายมาประกอบกนั ไดแ้ ก่ องค์ประกอบพน้ื ฐานทางศลิ ปะ องคป์ ระกอบของศิลปะ และการ จดั องคป์ ระกอบของศลิ ปะ มาถ่ายทอดลงในช้ินงานหรือผลงานนัน้ ๆ เพ่ือใหไ้ ดผ้ ลงานท่ีมคี ณุ ค่าทงั้ ด้านความงามและมี คุณคา่ ทางจิตใจอันเปน็ จดุ หมายสำคัญทีศ่ ลิ ปนิ ทกุ คนมุ่งหวังใหเ้ กดิ แกผ่ ชู้ มท้ังหลาย ครผู สู้ อน นางสาวนริ ชร ชายทวปี

ความสำคัญขององคป์ ระกอบศลิ ป์ ในการสร้างสรรคผ์ ลงานศลิ ปะในสาขาต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นสาขาวจิ ิตรศิลป์หรอื ประยกุ ต์ศลิ ป์ ผ้สู รา้ งสรรคน์ น้ั ตอ้ ง มีความร้เู บือ้ งตน้ ดา้ นศิลปะมาก่อน และศกึ ษาถงึ หลกั การองคป์ ระกอบพ้ืนฐานองค์ประกอบทสี่ ำคัญ การจดั วางองค์ประกอบ เหล่านน้ั รวมถึงการกำหนดสใี นลกั ษณะต่าง ๆ เพม่ิ เติม ให้เกิดความเข้าใจ เพอื่ เวลาท่สี รา้ งผลงานศลิ ปะ จะได้ผลงานท่ีมี คุณค่า ความหมายและความงามเป็นท่ีนา่ สนใจแกผ่ ู้พบเหน็ หากสรา้ งสรรคผ์ ลงานโดยขาดองค์ประกอบศลิ ป์ ผลงานนน้ั อาจดูด้อยค่า หมดความหมายหรอื ไมน่ า่ สนใจไปเลย ดงั นัน้ จะเห็นได้วา่ องคป์ ระกอบศลิ ป์น้นั มีความสำคัญอยา่ งมากในการสร้างงานศิลปะ มีนกั การศึกษาด้านศิลปะ หลายท่านได้ให้ทรรศนะในด้านความสำคญั ขององค์ประกอบศลิ ป์ท่ีมตี ่อการสร้างงานศิลปะไว้ พอจะสรปุ ไดด้ ังนี้ การสรา้ งสรรค์งานศลิ ปะให้ได้ดีน้ัน ผู้สรา้ งสรรค์จะตอ้ งทำความเขา้ ใจกบั องคป์ ระกอบศลิ ปเ์ ป็นพื้นฐานเสียกอ่ น ไมเ่ ชน่ นนั้ แลว้ ผลงานที่ออกมามกั ไม่สมบรู ณ์เทา่ ไรนัก ซงึ่ องค์ประกอบหลักของศิลปะก็คอื รูปทรงกับเนอ้ื หา(ชลดู นิม่ เสมอ) องค์ประกอบศลิ ป์เปน็ เสมือนหัวใจดวงหนึ่งของการทำงานศิลปะ เพราะในงานองคป์ ระกอบศลิ ป์หนงึ่ ชิน้ จะ ประกอบไปดว้ ย การร่างภาพ (วาดเส้น) การจดั วางใหเ้ กดิ ความงาม (จดั ภาพ) และการใชส้ (ี ทฤษฎสี ี)ซ่ึงแตล่ ะอยา่ งจะตอ้ ง เรียนรู้สูร่ ายละเอียดลึกลงไปอีก องคป์ ระกอบศิลปจ์ งึ เปน็ พ้นื ฐานสำคญั ทีร่ วบรวมความรู้หลาย ๆ อย่างไว้ด้วยกนั จงึ ต้อง เรยี นรกู้ อ่ นทจี่ ะศกึ ษาในเร่ืองอ่ืน ๆ (อนันต์ ประภาโส) ครผู สู้ อน นางสาวนริ ชร ชายทวปี

หลักการจดั องคป์ ระกอบพน้ื ฐาน 1. เอกภาพ หมายถึง ความเปน็ อันหนึง่ อันเดียวกนั ความสอดคล้องกลมกลืน เป็นหนว่ ยเดียวกัน ด้วยการจดั องคป์ ระกอบใหม้ ีความสมั พนั ธ์เก่ยี วข้องกันเปน็ กลมุ่ ก้อนไม่กระจัดกระจาย โดยการจัดระเบียบของรปู ทรง จังหวะ เน้ือหา ใหเ้ กิดดุลยภาพจะไดส้ ื่ออารมณ์ ความรสู้ ึก ความหมายได้งา่ ยและรวดเรว็ 2. ดุลยภาพ (Balance) ความสมดุลหรือดลุ ยภาพ หมายถึง ความเท่ากนั เสมอกนั มนี า้ หนกั หรอื ความ กลมกลนื พอเหมาะพอดี โดยมีแกนสมมตทิ ำหนา้ ท่ีแบ่งภาพใหซ้ า้ ยขวา บน ลา่ ง ใหเ้ ทา่ กนั การเท่ากันอาจไมเ่ ท่ากนั จรงิ ๆ ก็ได้ แตจ่ ะเท่ากนั ในความรู้สึกตามทีต่ ามองเห็นความสมดลุ แบ่งเป็น 2 ประเภท ดงั นี้ 2.1 ความสมดุล 2 ข้างเทา่ กัน (Symmetrical Balance) หมายถงึ การจดั วางองค์ประกอบต่าง ๆ ของศลิ ปะใหท้ ้ัง 2 ข้างแกนสมมติมีขนาด สดั สว่ น และน้าหนักเท่ากัน หรอื มรี ูปแบบเหมือนกันคล้ายกัน 2.2 ความสมดลุ 2 ขา้ งไมเ่ ท่ากนั (Asymmetrical Balance) หมายถงึ การจดั องค์ประกอบของ ศิลปะ ทั้ง 2 ขา้ งแกนสมมตมิ ีขนาดสัดสว่ นน้าหนกั ไม่เท่ากนั ไมเ่ หมอื นกัน ไมเ่ สมอกนั แต่สมดลุ กนั ในความรูส้ กึ ความ สมดลุ 2 ข้างไมเ่ ทา่ กนั คอื ภาพมคี วามสมดลุ ย์ของเน้อื หาและเรื่องราวแตไ่ ม่เทา่ กันในเร่อื งขนาด นา้ หนกั ครูผสู้ อน นางสาวนริ ชร ชายทวปี

หลกั การจดั องคป์ ระกอบพน้ื ฐาน(ตอ่ ) 3. จดุ เดน่ (Dominance) หมายถงึ สว่ นสำคญั ที่ปรากฏชัด สะดุดตาทีส่ ุดในงานศลิ ปะ จดุ เดน่ จะช่วยสรา้ ง ความนา่ สนใจในผลงานให้ภาพเขียนมีความสวยงาม มีชวี ิตชีวายง่ิ ขนึ้ จุดเดน่ เกดิ จากการจัดวางทเี่ หมาะสม และรู้จกั การเน้นภาพ (Emphasis) ทดี่ ี จุดเดน่ มี 2 แบบ คอื 3.1 จุดเดน่ หลกั เปน็ ภาพที่มีความสำคญั มากทีส่ ดุ ในเรอ่ื งท่ีจะเขียน แสดงออกถึงเรอื่ งราวทช่ี ดั เจน เดน่ ชดั ท่สี ุดในภาพ 3.2 จดุ เด่นรอง เปน็ ภาพประกอบของจุดเด่นหลัก ทำหน้าทีส่ นบั สนนุ จุดเดน่ หลัก ใหภ้ าพมคี วาม สวยงามยิง่ ขึ้น เช่น ในภาพจดุ เดน่ รองไดแ้ ก่ รปู เรอื 4. ความขดั แยง้ (Contrast) ขดั แย้งด้วยรูปทรงขัดแยง้ ดว้ ยขนาดขัดแย้งด้วยเส้นขัดแย้งดว้ ยผิวขัดแย้ง ดว้ ยสคี วามขัดแย้งที่กลา่ วมาถูกจัดวางเพ่ือใหเ้ กิดความงามทางศิลปะ 5. ความกลมกลนื (Harmony) ภาพดา้ นล่างเป็นความกลมกลืนดา้ นเรอ่ื งราวท่สี อดคลอ้ งเปน็ เรอื่ งราว เกีย่ วกับธรรมชาติ และเป็นความกลมกลืนในเรื่องสีวรรณะเดียวกัน ครผู สู้ อน นางสาวนริ ชร ชายทวปี

ทศั นธาตุ 1. จดุ (Dot) หมายถึง รอยหรอื แต้มที่มลี กั ษณะกลมๆ ปรากฏทีผ่ ิวพนื้ ไมม่ ีขนาด ความกว้าง ความยาว ความหนา เปน็ ส่งิ ที่ เลก็ ทส่ี ดุ และเป็นธาตุเริม่ แรกทท่ี ำใหเ้ กิดธาตุอื่น ๆ ขนึ้ ครผู สู้ อน นางสาวนริ ชร ชายทวปี

ทัศนธาตุ 2. เสน้ (Line) คอื จุดหลาย ๆ จุดตอ่ กันเป็นสาย เปน็ แถวแนวไปในทิศทางใดทิศทางหน่ึงเป็นทางยาวหรือ หรอื ส่งิ ทเี่ กดิ จากการขดู ขดี เขยี น ลาก ให้เกิดเป็นริ้วรอยเป็นสง่ิ ท่ีมีผลตอ่ การรบั ร้เู พราะทำใหเ้ กิดความรสู้ กึ ต่ออารมณแ์ ละจติ ใจของ มนุษย์ เสน้ เปน็ พ้ืนฐานสำคญั ของศิลปะทุกแขนง ใช้ร่างภาพเพื่อถ่ายทอดส่ิงทเี่ ห็นและสิ่งท่คี ิด จินตนาการให้ปรากฎ เป็นรปู ภาพ เสน้ มหี ลายลักษณะไดแ้ ก่ - เสน้ นอน ใหค้ วามรูส้ กึ กวา้ งขวาง เงียบสงบ นิ่ง ราบเรยี บ ผอ่ นคลายสายตา - เส้นต้ัง ใหค้ วามรสู้ กึ สูงสงา่ ม่ันคง แขง็ แรง ร่งุ เรอื ง - เสน้ เฉียง ใหค้ วามรสู้ ึกไมม่ ่ันคง เคลอ่ื นไหว รวดเรว็ แปรปรวน - เสน้ โค้ง ใหค้ วามรู้สกึ ออ่ นไหว สุภาพออ่ นโยน สบาย นุม่ นวล เยา้ ยวน - เสน้ โคง้ กน้ หอย ให้ความรสู้ กึ เคลือ่ นไหว การคลคี่ ลาย ขยายตวั มนึ งง - เสน้ ซกิ แซกหรอื เสน้ ฟันปลา ใหค้ วามรสู้ กึ รุนแรง กระแทกเป็นหว้ ง ๆ ต่นื เต้น สบั สนวุ่นวาย และการ ขดั แย้ง - เส้นประ ใหค้ วามรสู้ ึกไม่ต่อเนือ่ ง ไมม่ น่ั คง ไม่แนน่ อน ครูผสู้ อน นางสาวนริ ชร ชายทวปี

ทศั นธาตุ 3. รปู รา่ งและรปู ทรง รูปร่าง (Shape) หมายถึง เสน้ รอบนอกทางกายภาพของวตั ถุ สง่ิ ของเคร่อื งใช้ คน สัตว์ และ พืช มลี ักษณะเป็น 2 มิติ มีความกว้างและความยาว รปู รา่ ง แบ่งออกเปน็ 3 ประเภท คอื 1) รปู ร่างธรรมชาติ (Natural Shape) หมายถึง รปู ร่างท่เี กิดข้นึ เองตามธรรมชาติ เชน่ คน สัตว์ และพชื เปน็ ตน้ 2) รูปร่างเรขาคณิต (Geometrical Shape) หมายถึง รปู รา่ งทมี่ นษุ ย์สร้างขึ้นมีโครงสร้างแน่นอน เชน่ รูป สามเหล่ยี ม รปู ส่เี หลีย่ ม และรูปวงกลม เปน็ ตน้ 3) รูปร่างอสิ ระ (Free Shape) หมายถงึ รูปร่างท่ีเกิดขึ้นตามความตอ้ งการของผสู้ รา้ งสรรค์ ให้ความรสู้ ึกทเ่ี ปน็ เสรี ไมม่ โี ครงสร้างทีแ่ นน่ อนของตัวเอง เปน็ ไปตามอิทธิพลของส่งิ แวดลอ้ ม เชน่ รูปร่างของหยดน้า เมฆ และควนั เป็นตน้ รูปทรง (Form) หมายถงึ โครงสรา้ งท้งั หมดของวตั ถุท่ีปรากฏแก่สายตาในลกั ษณะ 3 มติ ิ คือ มีทงั้ สว่ นกวา้ ง สว่ นยาว สว่ นหนาหรอื ลกึ คือ จะใหค้ วามรสู้ กึ เป็นแท่ง มเี นือ้ ท่ีภายใน มีปรมิ าตร และมนี ้าหนกั ครผู สู้ อน นางสาวนริ ชร ชายทวปี

ทศั นธาตุ 4. นา้ หนักออ่ น-แก่ (Value) หมายถึง จำนวนความเขม้ ความอ่อนของสีตา่ ง ๆ และแสงเงา ตามทปี่ ระสาทตารับรู้ เมื่อเทยี บกับนา้ หนักของสี ขาว-ดำ ความอ่อนแกข่ องแสงเงาทำใหเ้ กิดมติ ิ เกดิ ระยะใกล้ไกลและสมั พนั ธก์ ับเรอ่ื งสโี ดยตรง ครูผสู้ อน นางสาวนริ ชร ชายทวปี

ทศั นธาตุ 5. สี (Color) หมายถงึ สิง่ ที่ปรากฏอยทู่ ัว่ ไปรอบ ๆ ตัวเรา ไม่วา่ จะเป็นสที เี่ กดิ ขึ้นเองในธรรมชาติ หรือ สง่ิ ทีม่ นุษยส์ ร้างข้ึน สีทำใหเ้ กิดความรู้สึกแตกตา่ งมากมาย เช่น ทำให้ร้สู กึ สดใส ร่าเริง ตน่ื เต้น หม่นหมอง หรือเศรา้ ซมึ ได้ เปน็ ตน้ สแี ละการนำไปใช้ 1.วรรณะของสี (Tone) จากวงจรสีธรรมชาติ ในทางศลิ ปะได้มกี ารแบ่งวรรณะของสีออกเป็น 2 วรรณะ คือ สวี รรณะร้อน ได้แกส่ ที ่ใี ห้ความรสู้ กึ อบอนุ่ หรอื รอ้ น เช่น สีเหลือง สม้ เหลือง สม้ ส้มแดง แดง มว่ งแดง เป็นต้น สีวรรณะเย็น ไดแ้ ก่ สีทใ่ี ห้ความรสู้ กึ เย็น สงบ สบาย เชน่ สีเขยี ว เขียวเหลอื ง เขยี วนา้ เงนิ น้าเงิน ม่วง นา้ เงนิ มว่ ง เปน็ ต้น 2.คา่ ของสี (Value of color) หมายถงึ สใี ดสหี นง่ึ ทำใหค้ ่อย ๆ จางลงจนขาวหรอื สวา่ งและทำให้คอ่ ย ๆ เขม้ ข้ึน จนมดื 3.สเี อกรงค์ (Monochrome) หมายถงึ สีท่ีแสดงอิทธิพลเด่นชัดออกมาเพียงสเี ดยี ว หรอื ใชเ้ พยี งสีเดียวในการ เขียนภาพโดยใหค้ ่าของสีออ่ น กลาง แก่ คล้ายกบั ภาพถา่ ย ขาว ดำ 4.สสี ว่ นรวม (Tonality) หมายถึง สใี ดสหี น่ึงทใี่ ห้อิทธิพลเหนือสอี ืน่ ท้ังหมด เช่น การเขยี นภาพทวิ ทัศน์ ปรากฏ สีสว่ นรวมเปน็ สเี ขยี ว สีนา้ เงนิ เป็นต้น 5.สที ปี่ รากฏเด่น (Intensity) หมายถงึ สที ่ดี แู ล้ว สะดุดตาโดยมีสีอื่น เปน็ องคป์ ระกอบ เพ่อื เสริมใหเ้ กดิ ความ เด่นชดั สดุดตามากข้ืน กว่าค่านา้ หนักเดมิ เช่นเดียวกบั ดวงจันทร์ จะเห็นเด่นชดั ในเวลากลางคืน เพราะอยู่ ทา่ มกลางท้องฟา้ ท่ีมืดหรือมีค่านา้ หนักทเี่ ขม้ ครูผสู้ อน นางสาวนริ ชร ชายทวปี 6.สตี รงข้ามกันหรือสีตดั กนั (Contrast) หมายถึง สีทอ่ี ยตู่ รงกันข้ามในวงจรสีธรรมชาติ เชน่ สแี ดงกับสีเขยี ว สนี า้ เงินกบั สสี ม้ สมี ่วงกบั สีเหลอื ง

สขี ้นั ท่ี 1 คอื แมส่ ี ได้แก่ สแี ดง สเี หลอื ง สีน้าเงิน สีข้นั ที่ 2 คือ สที ีเ่ กดิ จากสขี น้ั ท่ี 1 หรอื แม่สผี สมกนั ในอตั ราสว่ นที่เท่ากัน จะทำใหเ้ กดิ สีใหม่ 3 สี ได้แก่ สแี ดง ผสมกับสีเหลือง ไดส้ ี สม้ สีแดง ผสมกับสีนา้ เงนิ ไดส้ ีม่วง สเี หลือง ผสมกับสีน้าเงิน ไดส้ เี ขยี ว สีข้นั ที่ 3 คือ สีท่เี กิดจากสีข้นั ที่ 1 ผสมกับสขี นั้ ท่ี 2 ในอัตราสว่ นทเ่ี ทา่ กนั จะไดส้ อี ื่น ๆ อีก 6 สี คือ สแี ดง ผสมกับสีสม้ ได้สี สม้ แดง สีแดง ผสมกับสมี ่วง ไดส้ มี ว่ งแดง สีเหลือง ผสมกับสีเขียว ได้สเี ขยี วเหลือง สีน้าเงนิ ผสมกบั สเี ขียว ไดส้ ีเขียวนา้ เงนิ วรรณะของสี คอื สที ีใ่ หค้ วามรู้สกึ รอ้ น-เย็น สนี า้ เงิน ผสมกับสีม่วง ได้สีมว่ งน้าเงนิ ในวงจรสจี ะมสี รี อ้ น 7 สี และสเี ย็น 7 สี สเี หลอื ง ผสมกบั สสี ม้ ได้สีส้มเหลอื ง ซง่ึ แบ่งท่ี สมี ว่ ง กบั สเี หลอื ง ซงึ่ เปน็ ได้ทั้งสองวรรณะ ครผู สู้ อน นางสาวนริ ชร ชายทวปี

สีสว่ นรวม (Tonality) สเี อกรงค์ (Monochrome) สที ่ปี รากฏเด่น (Intensity) สีตรงข้ามกันหรือสีตัดกัน (Contrast) ครูผสู้ อน นางสาวนริ ชร ชายทวปี

ทัศนธาตุ 6. บริเวณวา่ ง (Space) หมายถงึ บรเิ วณที่เป็นความว่างไม่ใช่สว่ นทเ่ี ปน็ รปู ทรงหรือเนือ้ หา ในการจัดองคป์ ระกอบใดกต็ ามถ้าปลอ่ ยใหม้ ี พ้นื ที่ว่างมากและใหม้ รี ปู ทรงนอ้ ย การจดั นนั้ จะใหค้ วามรู้สึกอ้างว้าง โดดเดย่ี ว ครผู สู้ อน นางสาวนริ ชร ชายทวปี

ทศั นธาตุ 7. พื้นผวิ (Texture) หมายถงึ พนื้ ผิวของวัตถุต่าง ๆ ท่ีเกิดจากธรรมชาติและมนษุ ยส์ ร้างสรรคข์ น้ึ พนื้ ผิวของวตั ถุทีแ่ ตกตา่ งกนั ยอ่ มใหค้ วามรูส้ ึกท่ีแตกตา่ งกนั ดว้ ย ครผู สู้ อน นางสาวนริ ชร ชายทวปี

แบบทดสอบ ครูผสู้ อน นางสาวนริ ชร ชายทวปี