Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 01 วิวัฒนาการและเทคโนโลยีของระบบสื่อสาร

บทที่ 01 วิวัฒนาการและเทคโนโลยีของระบบสื่อสาร

Published by sasitornamornpun, 2016-09-23 00:03:56

Description: บทที่ 01 วิวัฒนาการและเทคโนโลยีของระบบสื่อสาร

Search

Read the Text Version

บทท่ี 1 ววิ ฒั นาการและเทคโนโลยขี องระบบส่ือสาร1.1การติดต่อสื่อสาร มนุษยเ์ ราอยกู่ นั เป็นหมู่คณะ จาป็นตอ้ งมีการสื่อสาร (communication)ติดต่อกนั การติดต่อส่ือสารในระยะทางใกลๆ้ กนั จะใชภ้ าษาพดู คุยกนั ใชส้ ญั ลกั ษณ์เครื่องหมายแสดงความหมายต่างๆ สิ่งเหล่าน้ีรู้กนั ในหม่คู ณะหรือกลุ่มคนพวกเดียวกนั เร่ืองการส่ือสารระยะทางไกลน้ีวา่ การโทรคมนาคม(Telecommunication) ในสมยั โบราณการส่ือสารระยะทางไกลที่นิยมใชเ้ ช่นใชส้ ัญญาณควนั ใชก้ ระจกสะทอ้ นแสงอาทิตย์ รูปท่ี 1.1การส่งจดหมายไปยงั ผรู้ ับ

การติดต่อสื่อสารระหวา่ งกนั ท้งั สองฝ่ ายตอ้ งมีการตกลงในรูปแบบของสัญญาณและความหมายท่ีใช้ การกาหนดรูปแบบของสัญญาณแทนขอ้ ฒลู ต่างๆ เม่ือพจิ ารณาแลว้ พบวา่ นนั่ เอง การใช้รหสั (code) ในการส่งข่าวสารขอ้ มลู เป็นการช่วยเพ่ิมประสิทธิภาพของการสื่อสารนอกจากน้นั การใชร้ หสั ในการส่งข่าวสารได้ การแปลง รหสั ออกมาเป็นข่าวสารขอ้ มูล จะตอ้ งเป็นพวกที่เขา้ ใจรหสั เท่าน้นั1.2 ววิ ฒั นาการระบบสื่อสาร การส่ือสารถือเป็นส่วนสาคญั ในการติดต่อข่าวสารถึงกนั การพฒั นาดา้ นการส่ือสารข้ึนมาเพือ่ การเอ้ืออานวยดา้ นความสะดวกในการส่งข่าวสารมากข้ึน ติดต่อสื่อสารไดไ้ กลเพ่ิมข้ึนติดต่อส่ือสารไดไ้ กลมากข้ึน พ.ศ. 2375 แซมมวลมอร์ส (Samuel F.B. Morse) ไดป้ ระดิษโทรเลขข้ึนมา โดยใชจ้ ุด (Dots) และขีด (Dashes) เป็นรหสั ในการสง้ ข่าวสาร จนถึงวนั ที่ 3 มีนาคม พ.ศ.2386 แซมมวลมอลมอร์สไดร้ ับอนุญาตจากรัฐสภาอเมริกนั ใหต้ ิดต้งั เสาโทรเลขรหวา่ งวอชิงตนักบั ติมอร์เพือ่ ใชร้ ับข่าวสาร และในวนั ท่ี 24 พฤษาภาคม พ.ศ. 2387 ไดท้ าการส่งโทรเลขเป็นขอ้ ความประวตั ิศาสตร์วา่ “What hathGod wrought” (อะไรต่างๆ เป็นสิ่งท่ีพระเจา้สร้างข้ึน) พ.ศ. 2419 อเลก็ ซานเดอร์ เกรแฮมเบลล์ (Alexander Graham Bell) และผชู้ ่วยของเขา โทมสั เอ วตั สนั (Thomas A. Watson) ไดป้ ระดิษฐโ์ ทรศพั ทข์ ้ึนเม่ือวนั ท่ี10 มีนาคม พ.ศ. 2419 เบลด์ ใ้ ชค้ าพดู ประวตั ิศาสตร์วา่ “Mr. Watsoncome here Iwant you”(คุณวดั สนั โปรดมาท่ีน่ีผมตอ้ งการคุณ) โทรศพั ทท์ ี่เบลลป์ ระดิษฐข์ ้ึนในการทดลองคร้ังน้ียงั ไม่เหมาะสมท่ีจะใชง้ านจริง จนกระทงั่ ปี พ.ศ. 2420 บริษทั เวสเทรินยเู นียน(Western Union Company) ไดใ้ หบ้ ริการโทรศพั ทค์ ู่สายแรกระหวา่ งซมั เมอร์วลิ ลีกบั บอสตนั และไดม้ ีการเปิ ดชุมสายโทรศพั ทข์ ้ึนบริการโทรศพั ทข์ ้ึนบริการธุรกิจเป็นคร้ังแรกท่ีนิวฮาเวน การส่ือสารดว้ ยคล่ืนวิทยาศาสตร์ 3 ท่าน ผเู้ ร่ิมตน้ ในการสื่อสารดว้ ยคล่ืนวิทยคุ ือ เจนส์แมกซเ์ วลล(์ James C.Maxwell) พ.ศ. 2407 ไดน้ าเอาทฤษฎีและสมมติฐานของ ไมเคิลฟาราเดย์ (Michael Faraday) โจเซฟ เฮนรี (Joseph Henry) และ ฮานคริสเตียนเออสเตด (Hans Christian Oersted) มารวมกนั เขา้ เป็นพ้ืนฐานเบ้ืองตน้ ของหลกั การ

วทิ ยุ และยงั พบการแพร่กระจายคลื่นแม่เหลก็ ไฟฟ้ า ซ่ึงสามารถเดินทางไปในอากาศหรือสุฯฃญญากาศไดด้ ว้ ยความเร็วแสงคือ 3 x 108 เมตรต่อวนิ าที ไฮนร์ ิส เฮิรตซ์ (Heinrch Hertz) ในปี พ.ศ. 2423 ไดน้ าเอาทฤษฎีของแมกซ์ เวลล์มาทาการทดลอวโดยการสร้างคล่ืนแม่เหลก็ ไฟจากวงจรออสซบเบเตอร์ที่ประกอบดว้ ยตวั เกบ็ประจุ(c) และตวั เหนร่ยวนา(L) เพือ่ ทาการรับแลส่งคลื่นวทิ ยเุ ฮิรตซ์สามารถวดั ความยาวคล่ืน( ) และความถ่ีของคล่ืน(F) ท่ีกาเนิดข้ึนมา ทาใหน้ ามาคานวณความเร็ว(V) ของคล่ืนแม่เหลก็ ไฟฟ้ าไดจ้ ากสมการ กกู ลิเอลโม มาโคนี (Gugliemo Marconi) ในปี พ.ศ. 2438 ไดป้ ระดิษฐ์ระบบส่ือสารแบบโทรเลขไร้สายชุดแรกข้ึนมา ต่อมาปี พ.ศ. 2442 ไดม้ ีการส่งวทิ ยโุ ทรเลขขา้ มช่องแคบองั กฤษเป็นคร้ังแรก ไปยงั อาณานิคม ปี พ.ศ. 2448 เซอร์ แอมโบรส เฟลมมิง (Sir Ambrose Fleming) ไดส้ ร้างหลอดอิเลก็ ตรอนไดโอดสาเร็จ ปี พ.ศ. 2450 ลี เดอ ฟอเรส (Lee De Forest) ไดป้ ระดิษฐห์ ลอดสูญญากาศ(Vacuuum Tube) ชนิดหลอดไทรโอด (Triode) ข้ึนมา ใชข้ ยายสญั ญาณคลื่นวทิ ยแุ ละเสียงไดใ้ ชใ้ นการส่งสญั ญาณคล่ืนวทิ ยโุ ทรเลข ปี พ.ศ. 2460 ในประเทศสหรัฐอเมริกา ไดม้ ีกลุ่มบุคคลนกั วทิ ยสุ มคั รเล่นไดท้ ดลองเปล่ียนสัญญาณสื่อสารจากจุดและขีด มาเป็นสญั ญาณพดู ผา่ นสายอากาศไปและประดิษฐ์เครื่องรับเพอื่ ช่วยในการกาะจายเสียงใหด้ งั มากข้ึน วนั ที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2463 ไดเ้ ปิ ดการสื่อสารทางไกลในทางการคา้ ข้ึน โดยใชก้ ารสื่อสารทางวทิ ยรุ ะหวา่ งสหรัฐอเมริกากบั ต่างประเทศ

ปี พ.ศ. 2464 มีการเปิ ดสถานีวทิ ยกุ ระจายเสียงหลายสถานีเช่น WSZ, KYW,WGY, และ WEAF เป็นตน้ ปี พ.ศ. 2468 ไดม้ ีการวจิ ยั ทางดา้ นฝเทรทศั นใ์ นหอ้ งทดลอง ต่อมาปี พ.ศ. 2471 สถานีW2 X BS ในนิวยอร์ค ใหบ้ ริษทั RCA จดั ต้งั เครื่องส่งโทรทศั นโ์ ดยใชไ้ อโคโนสโคป(Iconoscpe) เป็นกลอ้ งโทรทศั นแ์ ละปรับปรุงแกไ้ ขเป็นกลอ้ งแบบใชไ้ คนสโคป(Kinescope) ต่อมา ปี พ.ศ. 2474 สถานีโทรทศั นไ์ ดถ้ ูกต้งั ข้ึนท่ีตึกเอม็ ไพร์เตท โดยสถานีRCA-NBC ปี พ.ศ. 2484 FCC ไดใ้ หไ้ ดใ้ หอนุญาตการส่งโทรทศั นแ์ บบการคา้ มีสถานี NBCในกรุงนิวยอร์กส่งออกอากาศเป็นสถานีแรกต่อมาเดือนตุลาคม พ.ศ. 2489 บริษทั RCAแสดงระบบต่างๆ ทางอิเลก็ ทรอนิกส์ของโทรทศั น์สี จนถึง พ.ศ. 2492 ปี พ.ศ. 2497 บริษทั โซนี่ไดเ้ สนอเครื่องรับวทิ ยแุ บบทรานซิสเตอร์เครื่องแรกออกมาไห้คนรู้จกั ปี พ.ศ. 2500 รัสเซียส่งดาวเทียมดวงแรกชื่องสปุตนิก(Sputnik) ข้ึนสู่อวกาศ ลกั ษณะดาวเทียมแสดงดงั รูปที่ 1.2 รูปที่ 1.2 ดาวเทียมสื่อสารลอยตวั อยใู่ นอวกาศ

ปี พ.ศ. 2503 บริษทั AT&T ติดต้งั ระบบชุมสายโทรทศั นอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์ เป็นคร้ังแรกลาฒนาระบบส่ือสารเป็นระบบโครงข่ายบริการส่ือสารร่วมแบบดิจิตอล ISDN(Integrated Service Digital Network) ปี พ.ศ. 2512 เริ่มการพฒั นาอินเทอร์เน็ตใชใ้ นการส่ือสารขอ้ มูลต่างๆ ปี พ.ศ. 2524 บริษทั ฮาเยส(Hayes) ไดเ้ สนอโมเดม็ (Modem) ความเร็ว 300บิตต่อวนิ าที(bps) ออกสู่ตลาด ปี พ.ศ. 2535 มีการกาเนิดเวลิ ด์ ไวด์ เวป หรือ WWW . (Word Wide Web) ปี พ.ศ. 2539 มีการ บริษทั ณ็อคเวลล์ (Rockwell) เสนอโมเดม็ ความเร็ว 56 กิโลบิตต่อวนิ าที(Kbps) ออกสู่ตลาด ปี พ.ศ. 2544 เร่ิมใหบ้ ริการระบบโทรคมนาคมเคล่ือนท่ียคุ ท่ี 3 หรือ 3 G (3rdGenertaion)1.3 ววิ ฒั นาการของเส้นใยแสง การสื่อสารดว้ ยเส้นใยแสง เริ่มตน้ ในปี พ.ศ. 2164 วลิ เลบรอร์ด สเนลล์(Willebroed Snell) ไดค้ ิดคน้ สูตรการคานวณการหกั เหของแสง รู้จกั กนั ดีในชื่อกฎของสเนลล์ (Snell’s Law) ปี พ.ศ. 2473 วลิ ลิส แลมป์ (Willis Lamb) คน้ พบวา่ เส้นใยแสง สามารถนาแสงได้ระยะไกลๆโดยท่ีแสงจะเคล่ือนที่อยเู่ ฉพาะ ภายในเส้นใยแสงปี พ.ศ. 2494 นกั วจิ ยั กลุ่มหน่ึงในประเทศสหรัฐอเมริกาไดท้ ดสอบการส่งสัญญาณภาพผา่ นเส้นใยแสง พบวา่ เสน้ ใยแสงหลายๆ เสน้ ที่นามามดั รวมกนั สามารถส่งสญั ญาณภาพได้ ปี พ.ศ. 2496 นารินเดอร์ ซิงคาปานีไดพ้ ฒั นาเสน้ ในแสงชนิดใหม่มีประสิทธภาพการนาแสงดีกวา่ เดิมมาก เป็นเส้นในแสงชนิดท่ีมี 2 ช้นั ลกั ษณะเส้นในแสงแสดงดงั รูปที่ 1.3

รูปท่ี 1.3 เสน้ ในแสง ปี พ.ศ. 2505 ทีโอดอร์ เมนแนน ประดิษฐเ์ ลเซอร์ที่ทาจากสารก่ึงตวั นาเป็นแหล่งกาเนิดแสงท่ีเหมาะสมกบั การสื่อสารผา่ นใยแสง ปี พ.ศ. 2509 ชาร์เลส คาวและชาร์เลส ฮอคแมนไดเ้ สนอวา่ ระบบการสื่อสารผา่ นเส้นใยแสง น่าจะเป็นระบบที่เหมาะสมสาหรับการสื่อสารทางไกล ปี พ.ศ. 2513 โรเบอร์ด มวั เรอร์ และคณะนกั วติ ยั ของบริษทั คอร์นิง แกลส ไดผ้ ลิตเส้นใยแงท่ีมีการดูดกลืนแสงต่าทาใหส้ ่งสญั ญาณแสงไดไ้ กลหลายกิโลเมตรปี พ.ศ. 2523 บริษทั AT&T ไดเ้ ร่ิมติดต้งั ระบบการสื่อสารผา่ นเสน้ ใยแสงเชื่อมต่อระหวา่ งเมืองบอสตนั ปี พ.ศ. 2524 บริษทั คอร์นิงแกลส ไดเ้ ริ่มผลิตเส้นใยแสงแบบโหมดเดียวเพอ่ื การพาณิชย์ ปี พ.ศ. 2526 บริษทั ตา้ งๆ เช่น AT&T และ MCI ไดเ้ ริ่มติดต้งั ระบบส่ือสารผา่ นเสน้ใยแสง โดยใชเ้ สน้ ใยแสงแบบโหมดเดียว1.4 การใชง้ านของสื่อสารโทรคมนาคม การใชง้ านของการส่ือสารอิเลก็ ทรอนิกส์ จะถูกขยายเพ่มิ ข้ึนตามจานวนประชากรที่ เพิ่มข้ึน ตวั อยา่ งท่ีเห็นไดช้ ดั เจนของการส่ือสาร เช่นการเช่ือมโยงระหวา่ งศูนยควบคุม คอมพิเตอร์ กลไกบอกข่าวอตั โนมตั ิ 1.4.1 ระหวา่ งบุคคลถึงบุคคล ข่าวสารและขอ้ มลู ถกู ส่งติดต่อกนั โดยสัญญาณเสียงปกติใชโ้ ทรศพั ทห์ รือวทิ ยุ ถูกเรียกวา่ การสื่อสารดย้ เสียง

1.4.2 ระหวา่ งระบบคอมพวิ เตอร์ถึวอุปกรณ์ที่อยรู่ อบนอก ในระบบน้ีระบบคอมพิวเตอร์เป็นตวั ส่งขอ้ มลู โดยการรายงานส่งไปยงั เคร่ืองพิมพ์ ซ่ึงเป็นการติดต่อกนั ตามปกติโดยตรงถึงเคร่ืองคอมพิวเตอร์ 1.4.3 ระหวา่ งคอมพิวเตอร์ถึงคอมพิวเตอร์ ตวั อยา่ งเช่นในปัจจุบนั มีการใชค้ อมพิวเตอร์ทาเป็นสานกั งานหนงั สือพมิ พน์ านาชาติ คอมพวิ เตอร์สานกั งานหลกั ถูกใชเ้ ป็นทางเขา้ ของบทความใชแ้ กไ้ ขและเตรียมการออกแบบแต่ละหนา้ ของหนงั สือพิมพก์ ารพิมพท์ าไดง้ ่ายในเมืองมีความแน่นอนในการจดั ส่งใหผ้ อู้ ่านในทุก ๆ เชา้ ถดั ไป 1.4.4 ระบบกระจาย เป็นระบบท่ีใชง้ านเฉพาะงานมีกล่แงขอ้ ลที่ฉลาดสามารถจดั การเบ้ืองตน้ กบั ข่าวสาร กล่องขอ้ มูลน้ีจะส่งข่าวสารท่ีสาคญั ไปที่คอมพวิ เตอร์ศนู ยก์ ลาง กลองขอ้ มลูที่ฉลาดน้ีถกู เรียกวา่ โลคอลฟรอนตเ์ อนด์ หรือ ตวั ควบคุม ตวั อยา่ งการสื่อสารระบบการจายแสดงดงั รูปท่ี 1.4 รูปท่ี 1.4 การสื่อสารระบบการจาย จากรูปที่ 1.4 แสดงการสื่อสารระบบกระจายเช่น โรงงานอุตสาหกรรมอาจใช้ไมโครโปรเซสเซอร์ขนาดเลก็ เป็นฐานใชค้ วบคุมโดยตรง และแสดงผลการทางานของหมอ้ ตม้ขนาดใหญ่ท่ีมรส่วนที่แตกต่างกนั ของสีท่ีผลิตข้ึนมา และสวน่ ปนะกอบท่ีเหมาะสมตามข้นั ตอนการผลิตสีที่ใชท้ ี่ความสมั พนั ธ์กบั ตวั ควบคุมทอ้ งถ่ิน ตวั ควบคุมทอ้ งถ่ินใชว้ ิธีการรับการส่ังการจากคอมพิวเตอร์ศนู ยก์ ลาง ซ่ึงจดั การท้งั หมดในการผลิตและใชง้ านในแต่ละหมอ้ ตม้

1.4.5 การส่ือสารภายใคอมพวิ เตอร์ การสื่อสาร ลกั ษณะน้ีมีความจาเป็มากในการส่งผา่ นขอ้ มลู จากส่วนหน่ึงของระบบไปยงั ส่วนอ่ืน ๆ หรือแมภ้ ายในโครงสร้งเดียวกนั1.5 ลกั ษณะและชนิดของระบบสื่อสาร ส่วนมากแลว้ ระบบสื่อสารที่สร้งข้ึนมาใชง้ านจใชใ้ นการส่งข่าวสารจากจุดหน่ึงใปยงั จุดอื่นๆ ไม่สนใจการออกแบบระบบ ทุก ๆ ระบบการส่ือสารมีหลกั การเบ้ืองตน้ เหมือนกนั แสดงได้ดงั รูปท่ี 1.5 รูปที่ 1.5 หลกั ารเบ้ืองตน้ ของระบบส่ือสาร จากรูปที่ 1.5 แสดงหลกั การเบ้ืองตน้ ของระบบส่ือสารท่ีปลายดา้ นหน่ึงหรือดา้ นผสู้ ่งข่าวสารอาจเป็นไดท้ ้งั บุคคล คอมพวิ เตอร์ หรืออุปกรณ์อ่ืน ๆ ข่าวสารถกู ส่งไปใหเ้ คร่ืองส่งข่าวสารถกู ส่งออกไปในระบบส่ือสารโดยการเชื่อมต่อไปยงั ปลายท่จากผสู้ ่งไปยงั ผรู้ ับท่ีปลายดา้ นรับมีอุปกรณ์ท่ีรับข่าวสารแยกออกจากการเชื่อมต่อและส่งผา่ นข่าวสารไปยงั ผใู้ ช้ 1.5.1ระบบทางเดียว เป็นการส่งขอ้ มลู ไดใ้ นทิศทางเดียวจากปลายดา้ นหน่ึงไปยงั ที่อื่นแสดงไดด้ งั รูปที่ 1.6

รูปท่ี 1.6 ระบบส่ือสารทางเดียว จากรูปที่ 1.6 แสดงระบบสื่อสารทางเดียว โรงสร้างประกอบดว้ ย เครื่องส่งหน่ึงเคร่ืองและเครื่องรับหน่ึงเคร่ือง ตวั อยา่ งการเชื่อมต่อแบบทางเดียว ระบบเคเบิลทีวีโดยการส่งภาพไปยงั จอโทรทศั นซ์ ่ึงถกู ส่งมาจากหอ้ งส่งของระบบส่งไปยงั แต่ละบา้ น ผเู้ ช่าดว้ ยสายเคเบิลตอั ยา่ งอื่น ๆ เช่น ระบบส่งเสียงตามสาย 1.5.2 ระบบสองทางเตม็ รูปแบบ หรือเรียกส้ัน ๆ วา่ แบบสองทาง เป็การส่งขอ้ มลูเช่ือมต่อถึงกนั ไดใ้ นสองทิศทางพร้อม ๆ กนั ในแต่ละปลายทางประกอบดว้ ยเคร่ืองส่งเครื่องรับและสามารถใชง้ านไดพ้ ร้อมกนั แสดงดงั รูปท่ี 1.7

รูปที่ 1.7 ระบบส่ือสารสองทางเตม็ รูปแบบ จากรูปท่ี 1.7 แสดงระบบส่าอสารสองทางเตม็ รูปแบบ ตวั อยา่ งการเช่ือมต่อสอวทางเตม็รูปแบบเช่นระบบโทรศพั ท์ คู่สนทนาท้สั องสามารถพดู คุยกนั ไดพ้ ร้อมกนั ในเวลาเดียวกนั ถา้ตอ้ งการ ไม่ไดเ้ สมอไปท่ีระบบส่ือสารเตม็ รูปแบบตอ้ งการวงจรมากกวา่ ท่ีแต่ละปลายและมราการเช่ือมต่อสองทาง 1.5.3 ระบบสองทางคร่ึงรูปแบบ ในการเชื่อมต่อแบบสองทางคร่ึงปู แบบน้นั ปลายแต่ละดา้ นสามารถส่งไดแ้ ต่ตอ้ งเป็นดา้ นใดดา้ นหน่ึงในเวลาร้ันที่ปลายท้งั สองดา้ นสามารถส่งหรือรับข่าวสารไดเ้ หมือนกนั โดยการเชื่อมต่อระหวา่ งปลายท้งั สองตอ้ งแบ่งเวลากนั แสดงดงั รูปท่ี1.8

รูปท่ี 1.8 ระบบสื่อสารสองทางคร่ึงรูปแบบ จากรูปท่ี 1.8 แสดงระบบสื่อสารสองทางคร่ึงรูแบบ การเชื่อมต่อเพอ่ื ส่ือสารถึงกนั ไม่สามารถส่งพร้อมกนั กรือรับพร้อมกยั ไดใ้ นเวลาเดียวกนั การจะทาไดพ้ ร้อมกนั โดยปลายดา้ นหน่ึง ดป็นควั ส่ง ปลายอีกดา้ นหน่ึงตอ้ งเป็นตวั รับมีสวติ ซต์ ดั ต่อการทางานช่วยทาหนา้ ท่ีในการทางานตวั อยางการเชื่อมต่อระบบส่ือสารสองทางค่ึงรูปแบบเช่นวทิ ยสื่อสารยา่ นปนะชาชนหรือCB หรือวทิ ยสุ ่ือสารสมคั รเล่น1.6 โครงสร้างพ้นื ฐานของระบบสื่อสาร

โครงสร้างพ้นื ฐานของระบบส่ือสารโทรคมนาคมแบ่งออกไดเ้ ป็นส่วนประกอบต่าง ๆแสดงไดด้ งั รูปที่ 1.9 รูปท่ี 1.9 โครงสร้างพ้นื ฐานของระบบส่ือสาร 1. ผสู้ ่งข่าวสาร เป็นแกล่งกาเนิดข่าวสารต่าง ๆ เช่น สญั ญาณภาพ สัญญาณ เสียง และ ขอ้ มูข่าวสาร เป็นตน้ 2. ผรู้ ับข่าวสาร เป็นจุดหมายปลายทางของข่าวสารท่ีส่ง การทีจะรับข่าวสารไดน้ ้นั ขบวนการส่งข่าวสารตอ้ งครบสมบรู ณ์ตามระบบสื่อสาร 3. การเขา้ รหสั เป็การแปลงขอ้ มลู ข่าวสารที่จะส่งไปยงั ปลายทางใหอ้ ยรู่ ูปของรหสั สัญญาณทางไฟฟ้ าท่ีบรรจุขอ้ มลู ข่าวสารท้งั หมดไวเ้ พื่อช่วยใหผ้ สู้ ่งข่าวสารและผรู้ ับ ข่าวสารมราความเขา้ ใจตรงกนั 4. การถอดรหสั เป็นการแปลงรหสั สัญญาณทางไฟฟ้ าใหก้ ลบั มาเป็นขอ้ มลู ข่าวสาร ทางดา้ นผรู้ ับข่าวสาร 5. ตวั กลางในการส่ง เป็นสื่อกลางท่ีข่าวสารใชใ้ นการเดินทางไปจากตน้ ทางถึง ปลายทาง 6. สัญญาณรบกวน เป็นสัญญาณท่ีเกิดข้ึนตามธรรมชาติมีอยทู่ ว่ั ไปมกั จะรบกวนและลดทอนสญั ญาณทางไฟฟ้ าที่ส่งออกไปอาจเกิดข้ึนไดท้ ้งั ทางดา้ นผสู้ ่งข่าวสาร ผรู้ ับข่าวสาร1.7 ขอ้ มูลใชใ้ นการส่ือสาร

ในการสื่อสารชอ้ มูลข่าวสารต่าง ๆ จาเป็นตอ้ งเก่ียวขอ้ วกบั ระบบสื่อสารท้งั สิ้นในการส่ือสารน้นั จพเป็นตอ้ งเปล่ียนขอ้ มูลข่าวสารใหไ้ ปอยใู่ นรูปรหสั สญั ญาณทางไฟฟ้ า ขอ้ มลูข่าวสารท่ีอยใู่ นรูปของสัญญาณไฟฟ้ ามีลกั ษณะ สญั ญาณไฟฟ้ า 2 ลกั ษณะ คือ สญั ญาณอะนาลอ็ ก และสัญญาณดิจิตอล ลกั ษณะสัญญาณอะนาลอ็ ก และสัญญาณดิจิตอลแสดงดงั รูปท่ี1.10 รูปที่ 1.10 ขอ้ มูลข่าวสารในรูปสญั ญาณไฟฟ้ า

จากรูปที่ 1.10 (ก) เป็นขอ้ มลู ข่าวสารในรูปสญั ญาณไฟฟ้ าแบบสญั ญาณอะนาลอ็ กการสื่อสารแบบน้ีเช่นการส่ิอสารทางโทรศพั ทแ์ ละการส่ือสารทางวทิ ยโุ ทรศพั ท์ สัญญาณอะนาลอ็ กจะอยใู่ นรูปสสัญญาณคล่ืนไซน์ มีระดบั ความแรง เปลียนแปลงตามระดบั ความดงั ของเสียง และมีความถี่ เปล่ียนแปลงตามเสียงทุม้ แหลมท่ีป้ นเขา้ มา เรียกการสื่อสารแบบน้ีวา่ การส่ือสารสัญญาณอะนาลอ็ ก ส่วนรูปท่ี 1.10 (ข) เป็นชอ้ มูลข่าวสารในรูปสญั ญาณไฟฟ้ าแบบสัญญาณดิจิตอล อยใู่ นรูปของสัญญาณ 2 ระดบั การส่ิอสารแบบน้ีเช่นการส่ือสารทางคอมพวิ เตอร์การส่งขอ้ มูลดเวยสญั ญาณดิจิตอลลอจิก เป็นตน้

รูปท่ี 1.11 การสิอสารดว้ ยสญั ญาณไฟฟ้ าในรูปสญั ญาณดิจิตอล


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook