Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ชีวะOrganelles

ชีวะOrganelles

Published by intukan2622, 2021-08-05 03:37:05

Description: ชีวะOrganelles

Search

Read the Text Version

ORGANELLES Thanks Template from Slidesgo น.ส.อินทุกานต์ เรืองแสนสกลุ ม.4/3 เลขท่ี26

NUCLEUS คือออร์แกเนลลท์ ่ีมีเยอ่ื หุม้ พบในเซลลย์ แู คริโอต ภายในบรรจุสารพนั ธุกรรม ซ่ึงจดั เรียงตวั เป็น DNA สายยาว รวมตวั กบั โปรตีนหลายชนิด มีเยอื่ หุม้ 2 ช้นั ช้นั ในเป็นที่อยขู่ อง Chromatin ช้นั นอกมี Ribosome เกาะอยู่ ส่วนที่ห่อหุม้ คือ Nuclear envelope มีองคป์ ระกอบที่สาํ คญั 3 อยา่ ง คือ 1.NUCLEOLUS 2.CHROMATIN 3.NUCLEAR ENVELPOE

NUCLEOLUS • เป็นโครงสร้างใหญ่สุดภายในนิวเครียส • เป็นบริเวณที่มีการสร้าง Ribosome RNA (rRNA) • ประกอบดว้ ยโปรตีน, DNA และ RNA

CHROMATIN คือ สายของดีเอน็ เอ(DNA)สายยาวเพียงสายเดียวท่ีพนั ตวั รอบโปรตีนท่ีชื่อ“ฮิสโตน(histone)”เอาไว้ ทาํ ให้รูปร่างของ โครมาทิน(chromatin)มีรูปร่างคลา้ ยลูกปัดท่ีมีลกั ษณะเรียงต่อๆกนั โดยมีสายของดีเอน็ เอ(DNA)พนั รอบลูกปัดน้นั อยู่ โครมาทิน(chromatin)จึงเป็นสารประเภท “นิวคลีโอโปรตีน (Nucleoprotein)

NUCLEAR MEMBRANE เป็ นเย่ือบางๆ 2 ช้ัน เรียงซ้อนกนั ที่เยื่อนีจ้ ะมีรู เรียกว่านิวเคลยี ร์ พอร์ (nuclear pore) หรือ แอนนูลสั (annulus) ทําหน้าทเี่ ป็ นทางผ่านของสารต่างๆ ระหว่างไซโทพลาซึมและนิวเคลยี ส นอกจากนีเ้ ย่ือหุ้มนิวเคลยี สยงั มีลกั ษณะเป็ นเย่ือเลือกผ่านเช่นเดยี วกบั เยื่อหุ้มเซลล์

GOLGI APPARATUS Golgi apparatus หรือ Golgi body หรือ Golgi complex หรือ Dictyosome ลกั ษณะเป็นถุงเรียงซอ้ นกนั เป็นช้นั ๆ มี 2 ดา้ น คือ cis และ tran มีหนา้ ที่รวบรวมและขนส่งโปรตีนท่ีไดจ้ าก ER

ENDOPLASMIC RETICULUM Endoplasmic reticulum หรือ ER มีลกั ษณะเป็นตะข่าย มีท่ออยภู่ ายใน แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ 1.ROUGH ENDOPLASMIC RETICULUM 2.SMOOTH ENDOPLASMIC RETICULUM

ROUGH ENDOPLASMIC RETICULUM • พืน้ ผิวหยาบเน่ืองจากมี ribosome เกาะอยรู่ อบๆ • เป็นสว่ นที่ต่อกบั เยื่อห้มุ nucleus เสมอ • มีหน้าท่ีสงั เคราะห์โปรตีนออกสนู่ อกเซลล์ • พบมากในเซลล์อ่อนและตอ่ มใต้สมอง

SMOOTH ENDOPLASMIC RETICULUM • พ้ืนผวิ เรียบ • สงั เคราะห์ไขมนั • เผาผลาญคาร์โบไฮเดรต • ลา้ งสารพิษ • ควบคุมความเขม้ ขน้ ของแคลเซียมไออน

RIBOSOME -เป็นออร์แกเนลลท์ ี่ไม่มีเยอ่ื หุม้ และ มีขนาดเลก็ ที่สุด -ถูกสงั เคราะห์มาจาก nucleolus และ ribosomal protein -พบอยทู่ ี่ 5 ตาํ แหน่ง คือ free ribosome (cytosol) , เกาะกบั เยอ่ื หุม้ nuclues , เกาะอยบู่ น RER , mitochondria , chloroplast -มีขนาด 70s (30s + 50s) และ 80s (40s + 60s) -มีหนา้ ที่สงั เคราะห์สาย polypeptide และ protien

LYSOSOME • พบเฉพาะในเซลลส์ ตั ว์ • เป็นถุงท่ีบรรจุ Hydrolytic enzyme สาํ หรับยอ่ ยโปรตีน Polysaccharides และ กรดนิวคลีอิก • ยอ่ ยสลายอนุภาคและโมเลกลุ ของอาหารภายในเซลล์ • ทาํ ลายเซลลท์ ี่หมดอายหุ รือหมดหนา้ ท่ี • ทาํ ลายเช้ือโรค และสิ่งแปลกปลอมต่างๆ • มีฉายาวา่ เป็นถุงฆ่าตวั ตาย

CYTOSKELETON เป็นเสน้ ใยโปรตีนและเป็นโครงกระดูของเซลล์ ทาํ ใหอ้ อร์แกเนลต่างๆยดึ ติดกนั มี 3 ชนิด เรียงตามขนาด ได้ ดงั น้ี 1.MICROTUBLE 2.INTERMEDIATE FILAMENT 3.MICROFILAMENT

MICROTUBULE • มีโครงสร้าง คือ Tubulin polymer • ทาํ ใหเ้ ซลลค์ งรูป • ทาํ ใหเ้ ซลลเ์ คลื่อนที่ (cilia , flagellum) • ช่วยในการแบ่งเซลล์ (สร้าง spindle fiber)

INTERMEDIATE FILAMENT เป็นเสน้ ใยโปรตีนท่ีมีขนาดใหญ่กวา่ ไมโครฟิ ลาเมนต์ แต่เลก็ กวา่ ไม โครทูบูล ประกอบดว้ ยโปรตีนที่อยใู่ นกลุ่มเคอราติน มีหนา้ ท่ีคือ 1. ช่วยรักษารูปร่างของเซลลอ์ ินเตอร์ มีเดียท ฟิ ลาเมนตท์ นต่อแรงดึง ภายนอก เช่นเดียวกบั ไมโครฟิ ลาเมนต์ 2. ช่วยยดึ ออร์แกเนลลบ์ างอยา่ งใหอ้ ยกู่ บั ท่ี เช่น นิวเคลียสถูกยดึ ใหอ้ ยใู่ น กรงท่ีทาํ ดว้ ย อินเตอร์มีเดียทฟิ ลเมนต์ 3. สร้าง นิวเคลียร์ลาร์มินาร์ (nuclear larninar)

MICROFILAMENT • มีโครงสร้างเป็น Actin Filament • มีเสน้ ผา่ นศูนยก์ ลาง 7 nm. • ทาํ ใหเ้ ซลลค์ งรูป • ทาํ ใหก้ ลา้ มเน้ือ หด – คลาย • ช่วยในการ Cyclosis

MITOCHONDRIA • มีเยอ่ื หุม้ 2 ช้นั • เยอ่ื หุม้ ภายในท่ีพบั กนั ไปมา เรียกวา่ Cristae • ของเหลวภายใน เรียกวา่ Matrix • มี Ribosome อยู่ • มีหนา้ ท่ีเป็นแหล่งสร้างพลงั งานใหแ้ ก่เซลล์ • ผลิต ATP จากกระบวนการหายใจระดบั เซลล์ • สามารถสงั เคราะห์โปรตีนและจาํ ลองตวั เองได้ • มีช่ือเฉพาะคือ Power house of cell และ Cellular respiration

VACUOLE เป็น Vesicle ขนาดใหญ่ โดย Vacuole ในสตั วเ์ ลก็ กวา่ ในพืช สามารถทาํ หนา้ ที่เป็นท่ีเกบ็ หลง่ั และถ่ายของเหลวภายในเซลล์ แบ่งไดอ้ อกเป็น 3 ประเภท คือ Contractile vacuole Food vacuole Sap vacuole • มีหนา้ ทีรักษา • บรรจุอาหาร • สะสมสารชนิดต่างๆ • พบในเซลลเ์ มด็ เลือด สมดุลของน้าํ เช่น สารสี น้าํ แร่ธาตุ • พบในโปรโตซวั ขาวบนสิ่งมีชีวิต • ในพืชท่ีมีอายมุ ากจะมี เซลลเ์ ดียวหรือสตั ว์ น้าํ จืด เล้ียงลูกดว้ ยนม Vacuole ขนาดใหญ่ เรียกวา่ Central vacuole

PEROXISOME • มีลกั ษณะคลา้ ย Lysosome • กาํ จดั H₂O₂ ใหก้ ลายเป็น H₂O และ O₂ • สลายกรดไขมนั ในข้นั ตอน Oxidation • ทาํ ลายสารพิษ เช่น แอลกอฮอล์ • พบมากในเซลลต์ บั

CHLOROPLAST • มีเยอื่ หุม้ 2 ช้นั • ของเหลวภายใน เรียกวา่ Stroma • ช้นั ที่พบั ไปมาภายใน Stroma เรียกวา่ Granum และ บริเวณผวิ ของ Granum เรียกวา่ Thylakoid • พบในเฉพาะเซลลพ์ ชื (ไม่พบในสาหร่ายสีเขียวแกมน้าํ เงิน) • มีหนา้ ที่สงั เคราะห์แสงใหแ้ ก่พชื • สามารสงั เคราะห์โปรตีนและจาํ ลองตวั เองได้

CENTRIOLE -เป็นส่วนที่อยใู่ กลน้ ิวเคลียส พบในเซลลส์ ตั ว์ และโพรทีสตบ์ างชนิด มีขนาดเลก็ ใส มีรัศมีแผ่ ออกมาโดยรอบมีรูปร่างคลา้ ยท่อทรงกระบอก ในแต่ละเซลลจ์ ะมีเซนทริโอล 2 อนั เรียงใน ลกั ษณะต้งั ฉากกนั หนา้ ที่ของเซนทริโอล คือ ช่วยในการเคลื่อนท่ีของโครโมโซมในขณะท่ีมีการ แบ่ง เซลล์ ช่วยในการเคล่ือนท่ีของเซลลบ์ างชนิด

VESICLE -ทาํ หนา้ ที่แตกต่างกนั ออกไป ข้ึนกบั สารที่บรรจุอยู่ ในเวสิเคิลน้นั เวสิเคิลบางชนิดในเซลลส์ ตั ว์ เช่น ไลโซโซม (Lysosome) มีเอนไซมต์ ่างๆ อยู่ ภายใน เอนไซมเ์ หล่าน้ีสามารถยอ่ ยสารไดห้ ลายอยา่ ง เช่น คาร์โบไฮเดรต ลิพิด โปรตีนและสารอื่นๆ ทาํ ใหม้ ีการยอ่ ยสารต่างๆ ภายในเซลล์ นอกจากน้ียงั สามารถ ยอ่ ยเช้ือโรคต่างๆ หรือส่ิงแปลกปลอมท่ีเขา้ สู่เซลล์ เช่น การยอ่ ยเช้ือโรค ของเซลลเ์ มด็ เลือดขาว

CELL MEMBRANE • เป็นเยอื่ หุม้ ท่ีห่อหุม้ เซลลเ์ อาไว้ มีโครงสร้างประกอบดว้ ยช้นั ไขมนั เรียงตวั กนั 2 ช้นั (lipid bilayer) • มีโครงสร้าง 2 ส่วน คือ ส่วนหวั และส่วนหาง โดยช้นั ไขมนั จะเอาส่วนหวั (polar head) ซ่ึงมี คุณสมบตั ิชอบน้าํ (hydrophilic) หนั ออกดา้ นนอกเพ่ือสมั ผสั กบั น้าํ ท่ีอยภู่ ายนอกเซลล์ และเอาส่วน หาง (tail) ซ่ึงมีคุณสมบตั ิไม่ชอบน้าํ (hydropho bic) หนั เขา้ ดา้ นใน ระหวา่ งช้นั ไขมนั 2 ช้นั จะมี โมเลกลุ อ่ืน ๆ เช่น โปรตีน คาร์โบไฮเดรต แทรกอยเู่ ป็นระยะ ๆ

CELL WALL -เป็นส่วนท่ีอยภู่ ายนอกเยอื่ หุม้ เซลล์ ประกอบดว้ ยคาร์โบไฮเดรตเป็นจาํ นวนมาก เม่ือสร้างใหม่ ๆ ผนงั เซลลจ์ ะมีลกั ษณะบางๆ ต่อมาจะหนาข้ึนเพราะมีการสะสมสารต่าง ๆ โดยช้นั ใหม่ท่ีเกิด จะติดกบั ส่วนของเยอ่ื หุม้ เซลล์ ทาํ ใหช้ ้นั เก่าถูกดนั ห่างออกจาก โปรโตพลาสต์ ช้นั ใหม่น้ีเรียกวา่ ผนงั เซลลช์ ้นั ที่ซ่ึงจะมีความหนาไม่เท่ากนั ตลอด ทาํ ใหเ้ กิดลกั ษณะท่ีเป็นรูเปิ ด เพ่ือใหส้ ารต่างๆ เคล่ือนผา่ นไดเ้ รียกวา่ พิท ผนงั เซลลม์ ีส่วนประกอบทางเคมีท่ีสาํ คญั คือ ไมโครไฟบริลลา โพลีแซคคาไรด์ , แมทริกซ์ โพลีแซคคาไรด์ , ลิกนิน , โปรตีน ,น้าํ ,ส่วนท่ีหุม้ ห่อภายนอกจะเป็นสารพวกคิวติเคิล

PLASMODESMATA ● พลาสโมเดสมาตา เป็นช่องวา่ งเลก็ จาํ นวนมาก ที่อยบู่ นผนงั เซลล์ มีขนาดเสน้ ผา่ นศูนยก์ ลางประมาณ 50-60 นาโนเมตร ช่วยทาํ หนา้ ท่ีเชื่อม เซลล์ ที่อยใู่ กลเ้ คียงกนั เพื่อช่วยในการขนถ่ายสิ่งต่างๆระหวา่ งเซลลพ์ ชื เช่น น้าํ สารอาหาร ฮอร์โมน ซ่ึงอาจจะอยรู่ วมกนั อยา่ งหนาแน่น ถึง 1 ลา้ นช่องต่อตารางมิลลิเมตร ซ่ึงจะกินพ้ืนท่ีประมาณ 1% ของ พ้ืนที่ผวิ ของผนงั เซลลเ์ ท่าน้นั

THANK YOU


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook