สรปุ ความร้วู ชิ าการ จดั การเรยี นรู้ วิทยาศาสตรร์ ะดบั มธั ยมศกึ ษา นางสาวประกายฟ้า บญุ หลาย 62003161002
สารบัญ ทฤษฎีพัฒนาการ 1 2 วิจยั 3 รูปแบบการจัดการเรียนรู้ 4 แผนการจัดการเรยี นรู้
ทฤษฎีพฒั นาการ ฟรอยด์ (Freud) ได้แบ่งลำดับข้ันพฒั นาการทางเพศไว้ 5 ขน้ั ดังน้ี 1. ขัน้ ความพอใจอยบู่ รเิ วณปาก (Oral) พฒั นาการในขนั้ น้ีอยใู่ นชว่ งอายุ 0-1 ปี ในข้นั นจี้ ะมคี วามสนใจบรเิ วณปาก ปากนำความสขุ เมื่อได้ถกู อาหารสนองความ ตอ้ งการความหวิ ถ้าไม่ไดร้ ับการตอบสนองกอ็ าจจะทำให้เกิดความคับขอ้ งใจ 2. ขั้นความพอใจอยู่ที่บรเิ วณทวารหนัก (Anus) พฒั นาการในขน้ั น้ีอยู่ ในชว่ งอายุ 1-3 ปี ซึ่งเปน็ ระยะขบั ถา่ ย เด็กจะเรยี นรกู้ ารขับถา่ ย ถ้าเด็กไม่ถกู บงั คบั ก็จะ เกดิ ความพอใจ ไม่ขดั แยง้ และไมเ่ กิดความตึงเครยี ดทางอารมณ์ 3. ข้ันความพอใจอยทู่ อ่ี วัยวะเพศ (Phallic) พัฒนาการในขั้นน้ีอยใู่ นช่วง อายุ 3-6 ปี ซง่ึ เปน็ ระยะเก่ยี วข้องกบั อวยั วะสืบพันธ์ุ สนใจ อยากรู้อยากเหน็ สภาพ ร่างกายแตกต่างไปตามเพศ เรยี นร้บู ทบาททางเพศของตน เลยี นแบบบทบาทพอ่ แม่ ของตน ต้องการความรกั ความอบอุ่นจากพอ่ แม่ 4. ข้ันก่อนวยั รนุ่ (Latency) พัฒนาการในขั้นน้อี ยใู่ นช่วงอายุ 6-11 ปี เป็น ระยะสนใจสงั คมเพือ่ นฝูง เด็กจะพยายามปรับตวั ให้มีความสมั พันธท์ ่ีดีกบั บุคคลอ่นื ๆ 5. ขน้ั วยั รุ่น พัฒนาการในขน้ั นี้อยใู่ นชว่ งตัง้ แต่วัยร่นุ ถึงวัยผ้ใู หญ่ เปน็ ระยะท่ีมีความสนใจในเพศตรงข้ามมากขึ้น และเปน็ จดุ เริม่ ต้นความรกั ระหว่างเพศ
ทฤษฎีพัฒนาการ เปน็ ทฤษฎที ่อี ธิบายพฒั นาการของชีวิตตัง้ แตว่ ยั ทารกจนถงึ วยั ชรา อรี คิ สันเชื่อว่า วัย แรกของชวี ิตเป็นวยั ท่ีเป็นรากฐานเบื้องต้น และวัยต่อ ๆ มากส็ ร้างจากรากฐานน้ี ถ้า หากในวัยทารกเด็กได้รบั การดูแลอย่างดีและอบอนุ่ ก็จะช่วยใหเ้ ดก็ มีความเชื่อถือใน ผู้อนื่ ที่อยู่รอบ ๆ ต้งั แตบ่ ดิ ามารดา บุคคลต่าง ๆ ทีอ่ ย่รู อบตัวเขา จะชว่ ยให้เดก็ ช่วย ตนเอง มคี วามตง้ั ใจท่ีจะทำอะไรเอง และเมื่อเขาเติบโตข้ึนกจ็ ะเป็นผทู้ ่ีร้สู ึกวา่ ตนเองมี สมรรถภาพท่ีจะทำอะไร ได้ นอกจากนี้จะมีความซ่อื สตั ย์ต่อตนเองและผู้อื่น สามารถที่ จะยอมรับส่ิงที่ดแี ละไม่ดีของตนเองไดแ้ ละผู้อน่ื สามารถทจ่ี ะสนทิ สนมกบั ผูอ้ ื่น ทัง้ เพศ เดยี วกันและเพศตรงข้ามโดยสนิทใจ โดยไมม่ ีความอิจฉาว่าเพ่อื นจะดกี วา่ ตน เม่ือเป็น ผใู้ หญก่ ็จะเป็นผ้เู สียสละไม่เหน็ แกต่ ัวดแู ลผูท้ ่อี ่อนเยาวก์ ว่า เช่น ลูกหลาน หรือคนรุ่น หลังตอ่ ไป และเม่ืออยใู่ นวยั ชรากจ็ ะมคี วามสุข เพราะว่าไดท้ ำประโยชน์และหน้าทม่ี า อย่างเต็มทแี่ ล้ว อรี ิคสันถือว่าชีวติ ของคนเรา แต่ละวัยจะมีปัญหา บางคนก็สามารถ แกป้ ญั หาด้วยตนเอง และดำเนินชีวิตไปตามขั้น แต่บางคนก็แก้ปญั หาเองไมไ่ ด้ อาจจะ ต้องไปพบจิตแพทย์ หรือนกั จิตวทิ ยาช่วยเพ่ือแก้ปัญหา แตบ่ ุคลิกภาพของแต่ละบคุ คล เปน็ เรือ่ งทเ่ี ปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ และทกุ คน มีโอกาสท่ีจะแก้ไขบุคลกิ ภาพของตน และผู้ใหญ่ทอี่ ยู่แวดล้อมกม็ สี ่วนทจี่ ะช่วยส่งเสริมหรือแกไ้ ขบุคลกิ ภาพของผู้เยาว์ ทอ่ี ยู่ ในความดแู ลให้เจริญเติบโตเป็นผ้ใู หญ่ท่มี ีความสขุ
ทฤษฎพี ฒั นาการ การเรียนรขู้ องเดก็ เป็นไปตามพฒั นาการทางสตปิ ัญญา ซึ่งจะมพี ัฒนาการไปตามวัยตา่ ง ๆ เป็นลำดบั ข้ัน พฒั นาการเปน็ สงิ่ ท่เี ป็นไปตามธรรมชาติ ไมค่ วรท่ีจะเร่งเดก็ ให้ข้ามจาก พัฒนาการจากขนั้ หน่ึงไปสู่อกี ข้นั หน่ึง เพราะจะทำให้เกิดผลเสยี แก่เดก็ แตก่ ารจัด ประสบการณ์ส่งเสริมพัฒนาการของเด็กในชว่ งท่ีเด็กกำลงั จะพัฒนาไปสขู่ ัน้ ทส่ี งู กว่า สามารถ ช่วยใหเ้ ดก็ พัฒนาไปอยา่ งรวดเรว็ อย่างไรกต็ าม เพยี เจต์เนน้ ความสำคัญของการเขา้ ใจ ธรรมชาติและพัฒนาการของเด็กมากกว่าการกระตนุ้ เด็กให้มพี ัฒนาการเร็วขน้ึ เพียเจต์ สรุปวา่ พัฒนาการของเด็กสามารถอธบิ ายได้โดยลำดับระยะพัฒนาทางชีววทิ ยาทีค่ งท่ี แสดง ใหป้ รากฏโดยปฏิสัมพันธข์ องเดก็ กับสิ่งแวดลอ้ ม
ทฤษฎีพฒั นาการ โคลเบิรก์ แบง่ พัฒนาการทางจรยิ ธรรมออกเปน็ 3 ระดบั (Levels) แต่ละระดบั แบ่ง ออกเป็น 2 ขั้น (Stages) ระดับท่ี 1 ระดับกอ่ นกฏเกณฑส์ งั คม จะพบในเด็ก 2-10 ปี โคลเบิร์กแบ่งขั้นพฒั นาการ ระดบั น้ีเป็น 2 ขั้น คอื ข้ันที่ 1 ระดับจริยธรรมของผู้อื่น ในข้ันน้เี ดก็ จะใชผ้ ลตามของพฤติกรรมเป็นเคร่อื งช้ี วา่ พฤติกรรมของตน “ถกู ” หรือ “ผิด”เป็นต้นวา่ ถ้าเดก็ ถูกทำโทษก็จะคดิ ว่าสิ่งทต่ี นทำ “ผดิ ” และจะ พยายามหลีกเลี่ยงไม่ทำสิง่ น้ันอีก พฤติกรรมใดท่มี ีผลตามดว้ ยรางวัลหรือคำชม เดก็ ก็จะคิดวา่ ส่ิงท่ตี น ทำ “ถูก” และจะทำซำ้ อกี เพอื่ หวงั รางวัล ข้ันท่ี 2 ระดับจริยธรรมของผูอ้ น่ื ในขน้ั น้ีเดก็ จะสนใจทำตามกฎข้อบงั คับ เพอ่ื ประโยชน์ หรอื ความพอใจของตนเอง หรือทำดีเพราอยากได้ของตอบแทน หรือรางวัล พฤตกิ รรมของเด็กในข้ันนที้ ำ เพ่อื สนองความต้องการของตนเอง แต่มกั จะเปน็ การแลกเปลย่ี นกับคนอื่น เช่น ประโยค “ถา้ เธอทำให้ ฉนั ฉันจะให้.......” ระดบั ท่ี 2 ระดบั จริยธรรมตามกฎเกณฑ์สงั คม จะพบในวยั รนุ่ อายุ 10 - 16 ปี โคลเบิร์กแบง่ พฒั นาการ ระดบั น้ีเป็น 2 ขั้น คอื ข้ันที่ 3 การยอมรบั ของกล่มุ หรือสงั คม ใช้เหตผุ ลเลือกทำในส่งิ ท่ีกลุ่มยอมรบั โดยเฉพาะ เพื่อน เพือ่ เป็นทีช่ ื่นชอบและยอมรับของเพอื่ น ไม่เปน็ ตัวของตวั เอง คลอ้ ยตามการชักจงู ของผอู้ ่ืน เพอื่ ตอ้ งการรักษาสัมพนั ธภาพทด่ี ี พบในวัยรุ่นอายุ 10 - 15 ปี ขน้ั นี้แสดงพฤติกรรมเพ่อื ต้องการเป็นท่ยี อมรบั ของหมูค่ ณะ การชว่ ยเหลอื ผู้อืน่ เพือ่ ทำให้เขาพอใจ
ทฤษฎพี ัฒนาการ ข้ันที่ 4 กฎและระเบียบของสงั คม จะใช้หลกั ทำตามหน้าท่ขี องสงั คม โดยปฏิบัติ ตามระเบยี บของสงั คมอยา่ งเคร่งครัด เรยี นรู้การเป็นหน่วยหนึ่งของสังคม ปฏบิ ตั ติ ามหน้าท่ีของสังคม เพ่ือดำรงไวซ้ ึ่งกฎเกณฑใ์ นสังคม พบในอายุ13 -16 ปี ขัน้ นแ้ี สดงพฤติกรรมเพ่ือทำตามหน้าทข่ี อง สังคม โดยบุคคลรู้ถงึ บทบาทและหน้าท่ขี องเขาในฐานะเป็นหน่วยหนง่ึ ของสังคมนน้ั จงึ มีหนา้ ท่ีทำ ตามกฎเกณฑต์ ่างๆ ทส่ี งั คมกำหนดให้ หรือคาดหมายไว้ ระดบั ท่ี 3 ระดับจรยิ ธรรมอยา่ งมีวิจารณญาณ เปน็ หลักจรยิ ธรรมของผ้มู ีอายุ 20 ปี ขน้ึ ไป ผูท้ ำหรือผ้แู สดงพฤตกิ รรมได้พยายามท่ี จะตีความหมายของหลกั การและมาตรฐานทางจริยธรรมด้วยวจิ ารณญาณ ก่อนท่จี ะยึดถือเป็นหลกั ของ ความประพฤตทิ ี่จะปฏบิ ัตติ าม การตัดสินใจ “ถกู ” “ผดิ ” “ไมค่ วร” มาจากวจิ ารณญาณของตนเอง โคลเบริ ์กแบง่ พัฒนาการ ระดบั นีเ้ ป็น 2 ขั้น คือ ขนั้ ท่ี 5 สัญญาสังคมหรอื หลักการทำตามคำม่ันสัญญา ขั้นนเ้ี น้นถึงความสำคญั ของ มาตรฐานทางจรยิ ธรรมทีท่ กุ คนหรอื คนส่วนใหญใ่ นสงั คมยอมรบั ว่าเป็นส่งิ ท่ีถกู สมควรทีจ่ ะปฏิบตั ิ ตาม โดยพจิ ารณาถงึ ประโยชน์และสิทธขิ องบุคคลกอ่ นทจ่ี ะใชเ้ ป็นมาตรฐานทางจริยธรรม ไดใ้ ช้ ความคดิ และเหตุผลเปรยี บเทยี บวา่ สิ่งไหนผิดและสิ่งไหนถกู ในข้นั นก้ี าร “ถกู ” และ “ผดิ ” ขึ้นอยกู่ บั คา่ นิยมและความคดิ เห็นของบุคคลแตล่ ะบคุ คล ขน้ั ที่ 6 หลักการคณุ ธรรมสากล ขั้นน้ีเป็นหลักการมาตรฐานจริยธรรมสากล เป็น หลกั การเพอื่ มนุษยธรรม เพือ่ ความเสมอภาคในสิทธมิ นุษยชนและเพอ่ื ความยุติธรรมของมนุษยท์ ุก คน ในข้ันน้ีสง่ิ ที่ “ถูก” และ “ผดิ ” เป็นสิ่งทีข่ ึน้ มโนธรรมของแต่ละบคุ คลที่เลอื กยดึ ถอื
วิจยั ประเภทของวจิ ัยแบง่ ตามระเบยี บวธิ ีวิจัย 1. การวิจัยเชิงประวัตศิ าสตร์ (Historical research) 2. การวจิ ยั เชิงบรรยายหรอื พรรณนา (Descriptive research) 3. การวิจัยเชงิ ทดลอง (Experimental research)
วิจยั ส่วนประกอบของวจิ ยั สว่ นนำ คือ สว่ นประกอบตอนต้นของวทิ ยานิพนธ์ ภาคนิพนธ์ เพอ่ื แสดงขอ้ มูล เบอ้ื งต้นเกยี่ วกบั วิทยานิพนธ์ ภาคนิพนธ์ ดงั น้ี 1. ปกนอก ( Cover ) ประกอบด้วยปกหน้า สันปก และปกหลัก 2. ใบรองปก ( Fly leaf ) เปน็ กระดาษชนิดเดียวกับกระดาษทใ่ี ช้พมิ พ์ วทิ ยานิพนธ์ ภาคนพิ นธ์ ตอ้ งรองท้ังปกหน้าและปกหลังด้านละหนึ่งแผน่ 3. หน้าปกใน ( Title page ) มขี ้อความเหมอื นปกนอก 4. หน้าอนมุ ัติ ( Approval page ) จดั ไว้เพื่อเป็นเอกสารรับรองวา่ วิทยานพิ นธ์ ภาคนิพนธ์ ได้ ผ่านการพจิ ารณาของคณะกรรมการทป่ี รกึ ษาวิทยานิพนธแ์ ละคณะกรรมการ สอบวิทยานพิ นธ์ ภาค นพิ นธ์ และไดร้ บั การอนมุ ัตจิ ากสถาบันแลว้ 5. บทคดั ย่อภาษาไทย ( Abstract in Thai ) เปน็ ข้อความสรุปผลการวิจัย ภาคภาษาไทยท่ีช่วย ใหผ้ ู้อา่ นทราบถึงเนื้อหาของวทิ ยานพิ นธ์ ภาคนพิ นธ์อย่างรวดเรว็ 6. บทคดั ยอ่ ภาษาองั กฤษ ( Abstract in English ) คือ ข้อความสรุปผลการ วจิ ัยเหมอื น บทคดั ย่อภาษาไทยทุกประการ เพยี งแต่ถอดความเปน็ ภาษาอังกฤษ 7. กติ ติกรรมประกาศ ( Acknowledgements ) คอื ขอ้ ความทผ่ี ู้เขยี นแสดง ความขอบคณุ ต่อผใู้ ห้ ความช่วยเหลอื และให้ความร่วมมอื ในการศึกษาคน้ ควา้ เพ่อื ทำ วิทยานิพนธ์ ภาคนิพนธ์ อันแสดงถึง จรรยาบรรณทางวิชาการท่ีผวู้ ิจัยพงึ ถอื ปฏิบัติ 8. สารบญั ( Table of contents ) คอื รายการแสดงส่วนประกอบทัง้ หมด ของวิทยานิพนธ์ ภาค นิพนธ์ เรยี งตามลำดบั เลขหน้า 9. สารบญั อืน่ ๆ (ถ้าม)ี เชน่ สารบญั ตาราง สารบัญภาพหรอื สารบญั แผนภมู ิ คอื สว่ นทบ่ี อกเลขหน้า ของตาราง ภาพ หรือแผนภมู ิ
วิจยั สว่ นประกอบของวจิ ยั (ต่อ) สว่ นเนอื้ เร่ือง เนอื้ เรอ่ื งของวิทยานพิ นธ์ ภาคนิพนธ์ โดยทั่วไปที่นยิ มกนั อย่างแพรห่ ลาย ประกอบ ด้วยบทต่าง ๆ 5 บท คือ บทที่ 1 บทนำ บทท่ี 2 วรรณกรรมทเ่ี กยี่ วข้อง บทท่ี 3 วธิ ีดำเนินการวิจัย บทท่ี 4 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู บทท่ี 5 สรปุ ผลการวจิ ยั อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ สว่ นอ้างอิงประกอบด้วยบรรณานกุ รม ภาคผนวก ตวั อย่างการวเิ คราะห์ ขอ้ มูล
รปู แบบการจัดการเรยี นรู้ รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ ข้นั สรา้ งความสนใจ (Engagement) ข้นั สำรวจและค้นหา (Exploration) ขน้ั อธิบายและลงขอ้ สรปุ (Explanation) ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) ขัน้ ประเมิน (Evaluation)
แผนการจดั การเรยี นรู้ องค์ประกอบของแผนการ จดั การเรยี นรู้ ส่วนหวั ประกอบด้วยชอ่ื หนว่ ยการเรียนรู้ รหัสวชิ า ชื่อวชิ า กลุม่ สาระ การเรยี นรู้ จำนวนช่ัวโมงสอน ชือ่ ผูส้ อน ชอื่ โรงเรียน ภาคการศึกษา สว่ นที่ 2 ประกอบดว้ ย มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชว้ี ดั จดุ ประสงค์การ เรียนรู้ สาระสำคญั เป้าหมายการเรยี นรู้/สาระการเรยี นรู้ ชิน้ งาน/ ภาระงาน กิจกรรมการเรยี นรู้ ส่อื /นวัตกรรม และแหลง่ เรียนรู้ ส่วนท่ี 3 ประกอบด้วย การวดั และประเมินผล และบนั ทึกหลงั การสอน
Search
Read the Text Version
- 1 - 12
Pages: