Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารประกอบการสอนบัญชีเช่าซื้อ

เอกสารประกอบการสอนบัญชีเช่าซื้อ

Published by saengaor, 2019-03-14 22:40:40

Description: เอกสารประกอบการสอนบัญชีเช่าซื้อ

Search

Read the Text Version

Previewการบัญชีช้นั สงู 1 Advanced Accounting I ผชู้ ่วยศาสตราจารยท์ ัศนียน์ ารถ ลม้ิ สทุ ธิวนั ภมู ิ วท.บ. (การบญั ช)ี มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ บช.ม. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ T59009-1 ตําราเล่มน้ีผา่ นการพจิ ารณาโดยผูท้ รงคุณวุฒแิ ลว้

การบัญชชี น้ั สงู 1 Advanced Accounting I ผแู้ ตง่ ผู้ชว่ ยศาสตราจารยท์ ศั นียน์ ารถ ลิ้มสทุ ธิวนั ภมู ิ สงวนลขิ สทิ ธิ์ การทาํ ซา้ํ ดดั แปลง หรอื เผยแพรส่ ว่ นใดสว่ นหนึง่ ของหนังสอื เล่มนี้ ตอ้ งได้รบั ความยนิ ยอมจากผแู้ ตง่ พิมพค์ รั้งท่ี 6 เดือนกรกฎาคม 2559 จาํ นวน 90 เล่ม เจ้าของ มหาวิทยาลัยกรงุ เทพ ผู้พมิ พแ์ ละผโู้ ฆษณา พรชยั เสมแจง้ ออกแบบปก กรรณิการณ์ จตุพร วริ ชา ณ พัทลุง Previewจดั พมิ พแ์ ละจดั จําหน่ายสํานกั พมิ พ์มหาวทิ ยาลยั กรุงเทพ 9/1 หมู่ 5 ถนนพหลโยธนิ ตาํ บลคลองหนึ่ง อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120 โทร. 0-2902-0299 ต่อ 2859 โทรสาร 0-2902-0299 ตอ่ 2850 http://bupress.bu.ac.th e-Mail: [email protected] ข้อมลู ของบัตรรายการ Cataloging in Publication Data ทศั นยี น์ ารถ ล้มิ สทุ ธวิ ันภูม.ิ การบญั ชีชั้นสงู 1 = Advanced accounting I / ทศั นยี น์ ารถ ล้ิมสทุ ธิวนั ภูมิ ; คณะบัญชี มหาวทิ ยาลัยกรุงเทพ. -- พิมพ์ครัง้ ท่ี 6. -- ปทมุ ธานี : สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, 2559. 394 หนา้ : ภาพประกอบ. ภาคผนวก. บรรณานุกรม. ISBN 978-974-219-254-9 ISBN 978-974-219-244-0 (E-book) 1. การบัญช.ี (1) มหาวทิ ยาลยั กรุงเทพ. คณะบญั ช.ี (2) ช่อื เร่อื ง. (3) ชอื่ เรื่อง : Advanced accounting I. HF5655 .T5 ท366ก 2559 CIP ใบรบั แจง้ ความตามพระราชบัญญตั ิการพิมพ์ พ.ศ. 2484 เลขท่ี 1/2549 AC321/ tassaneenart.l/ sarunrat.p/ sudarat.k

Preview คาํ นํา ตาํ ราการบญั ชีช้ันสงู 1 เลม นี้ เรยี บเรยี งขึน้ เพ่อื ใชป ระกอบการเรียนการสอนของนักศึกษาคณะบัญชี ระดับ ปริญญาตรี นอกจากน้ีสามารถใชเ ปน แนวทางปฏิบัตงิ านของผทู าํ บัญชแี ละผสู นใจทว่ั ไป เนอ้ื หาของตําราเปนไปตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ฉบับที่ ๕/๒๕๕๓ เร่ือง หลักสูตรตัวอยางปริญญาตรี ทางการบญั ชีท่กี ําหนดแนวทางในการรับรองปริญญาทางการบญั ชี สําหรบั การรับสมัครเปนสมาชิกสามัญของสภาฯ โดยมีผลบงั คับใชตง้ั แตป การศกึ ษา พ.ศ. 2552 เปน ตนไป กลา วคือ ประกอบดว ย 10 บท ดงั น้ี บทท่ี 1 การฝากขาย บทที่ 2 การขายผอนชําระ บทท่ี 3 นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการ ทางบัญชแี ละขอผดิ พลาด บทที่ 4 การบัญชีสําหรับสัญญากอสราง บทท่ี 5 การบัญชีสําหรับธุรกิจอสังหาริมทรัพย บทที่ 6 การบญั ชีสาํ หรับรายการท่ีเปน เงินตราตา งประเทศและการแปลงคางบการเงิน บทที่ 7 การบัญชีสํานักงานใหญ และสาขา บทที่ 8 การบัญชีสําหรับสัญญาเชา บทที่ 9 การบัญชีสําหรับการปรับโครงสรางหนี้ที่มีปญหา บทที่ 10 งบการเงนิ ระหวางกาล ในแตละบทเขยี นตามมาตรฐานการบญั ชีที่สภาฯ ประกาศใชล าสดุ ของแตล ะเรอ่ื งนน้ั ผูเขียนขอกราบขอบคุณ ผูทรงคุณวุฒิท้ัง 2 ทาน คือ รองศาสตราจารย ดร.พนารัตน ปานมณี และ รองศาสตราจารย ดร.ศศิวมล มีอําพล ที่ไดกรุณาเปนผูพิจารณาผลงานและไดใหคําแนะนําในการแกไขเพื่อให เน้ือหาของตําราเลมน้ีมีความสมบูรณย่ิงขึ้น เจาของผลงานตางๆ ที่ผูเขียนใชประกอบการเรียบเรียงจนตําราเลมนี้ เสร็จสมบูรณ และครอู าจารยทกุ ทานที่ประสทิ ธิป์ ระสาทวิชาความรูใหแกผูเขยี น ในการพิมพค รงั้ ท่ี 4 ผเู ขียนไดปรับปรุงรูปแบบการนําเสนอบทท่ี 1 การฝากขาย บทที่ 6 การบัญชีสําหรับ รายการท่ีเปนเงินตราตา งประเทศและการแปลงคางบการเงิน ไดเพมิ่ กระดาษทําการเพ่ือแปลงคางบการเงิน ผูเขียน ขอขอบคณุ อาจารยส ุธี คทวณิช ท่ีกรณุ าใหคาํ แนะนําสําหรบั การปรับปรงุ ครั้งน้ี หวังวาตําราเลมน้ีจะเปนประโยชนแกนักศึกษา ผูทําบัญชี และผูสนใจทั่วไป หากมีขอผิดพลาดประการใด ผูเขยี นขอนอมรบั ไวเพอื่ แกไ ขในโอกาสตอไป ทศั นียนารถ ลมิ้ สุทธวิ นั ภูมิ การบญั ชีช้นั สงู 1 (3)

สารบญั บทท่ี 1 การฝากขาย (Consignments) 1 1 ความหมายของการฝากขาย 2 ประโยชนข องการฝากขาย 2 สญั ญาการฝากขาย 3 หนาทแ่ี ละสิทธิของผฝู ากขาย 3 หนา ท่แี ละสิทธิของผูรบั ฝากขาย 5 ความแตกตางระหวา งการขายกบั การฝากขาย 6 การบญั ชีเกย่ี วกบั การฝากขาย การรบั รรู ายการคา เกย่ี วกับการฝากขายของผฝู ากขายและผรู ับฝากขาย 7 16 วธิ ีที่ 1 รบั รูก ารฝากขายแยกจากการขายปกติ 34 วธิ ที ี่ 2 รับรูการฝากขายรวมกับการขายปกติ 34 สินคา คงเหลือของผฝู ากขาย (Consignor’s Inventory) 34 การแสดงรายการฝากขายในงบการเงิน 35 การแสดงสนิ คาคงเหลือในงบแสดงฐานะการเงิน 37 การแสดงงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ 37 ความรับผดิ ในการเสยี ภาษมี ูลคา เพม่ิ 37 ดานผฝู ากขาย 37 ดานผรู บั ฝากขาย สรปุ 39 Preview 39 บทท่ี 2 การขายผอ นชําระ (Installment Sale) 39 39 ลกั ษณะทัว่ ไปของการขายผอ นชําระ 40 ความหมายของการขายผอ นชําระ 40 ลักษณะของการขายผอนชําระ 42 54 วธิ กี ารบัญชเี ก่ียวกบั การขายผอนชําระ 57 วธิ กี ารรบั รูก ําไรทั้งจํานวนในงวดบัญชที ่มี กี ารขายผอ นชําระ 66 วธิ กี ารรับรกู ําไรเปนรายไดตามสวนของเงนิ สดทีไ่ ดรบั ชาํ ระในแตล ะงวดบัญชี 71 การรบั สินคาเกา เพื่อแลกเปลีย่ นสินคาใหม (Trade-ins) การผดิ นัดชําระหนแี้ ละการยึดสินคาคนื (Default and Repossessions) การคํานวณดอกเบีย้ จากหนค้ี งคางตามสญั ญาการขายแบบผอนชําระ สรุป การบญั ชชี น้ั สงู 1 (5)

บทท่ี 3 นโยบายการบญั ชี การเปลยี่ นแปลงประมาณการทางบญั ชี และขอ ผดิ พลาด (Accounting Policies, Changes in Accounting Estimates and Errors) 72 ความหมายการเปลย่ี นแปลงทางบญั ชี (Accounting Changes) 72 การเปลย่ี นแปลงทางบญั ชี 72 73 การเปล่ยี นแปลงนโยบายการบัญชี 73 การบนั ทกึ บญั ชี 74 งบการเงินเปรียบเทยี บ 76 การเปด เผยขอ มูล 86 86 การเปลย่ี นแปลงประมาณการทางบัญชี 87 การบนั ทึกบัญชี 87 งบการเงนิ เปรียบเทยี บ 92 การเปด เผยขอมูล 92 92 การแกไ ขขอผดิ พลาด (Correction of Errors) 93 ความหมายของขอผดิ พลาด 93 การบนั ทกึ บัญชี และการแสดงงบการเงนิ 94 การเปด เผยขอมูล 118 126 สาเหตขุ องการเกดิ ขอผดิ พลาดทางบัญชี ประเภทของขอผดิ พลาดและวธิ ีการแกไ ขขอ ผดิ พลาด กระดาษทาํ การเพ่อื แกไ ขขอผิดพลาด สรุป Preview บทที่ 4 การบญั ชสี ัญญากอสรา ง (Accounting for Construction Contracts) 127 ความหมายของสัญญากอสราง 127 ประเภทของสัญญากอสรา ง 127 การวัดมลู คาของรายไดค ากอสรางและตนทุนการกอ สรา ง 128 รายไดค า กอสราง 128 ตนทนุ การกอสราง 128 การรบั รูรายไดคา กอ สรางและตนทนุ การกอ สรา ง 129 การบันทกึ รายไดต ามอัตราสวนรอยละของงานทีท่ าํ เสร็จ (Percentage-of-Completion Method) 130 การบัญชสี าํ หรับสัญญากอ สรางในกรณีทีข่ าดทนุ 137 การบันทกึ รายไดไ มเกินจาํ นวนตน ทุนการกอสรา งทีเ่ กิดข้ึน ซึ่งมคี วามเปนไปไดคอ นขา งแน ท่จี ะไดรบั คืนตนทนุ นั้น 139 การเปดเผยขอ มูล 140 สรปุ 142 (6) การบัญชชี ้นั สงู 1

บทท่ี 5 การบญั ชสี ําหรบั ธรุ กิจอสังหาริมทรัพย (Accounting for Real Estate) 144 144 ความหมายของอสงั หารมิ ทรัพย 144 ตน ทนุ การพฒั นาอสงั หารมิ ทรพั ย 145 145 ตนทุนโครงการ (Project Cost) 146 ตน ทนุ ทางออ ม (Indirect Project Cost) 146 การบัญชสี ําหรับรายไดของธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย 146 สัญญาการใหบรกิ าร 148 149 ประมาณผลของรายการบญั ชที ่เี กย่ี วของกบั การใหบริการไดอยางนา เชือ่ ถือ กรณีทีเ่ งินคา งวดต่ํากวา มูลคา ของงานท่ที ําเสรจ็ 150 กรณที เ่ี งินคางวดสงู กวา มลู คา ของงานท่ที ําเสรจ็ 152 155 ไมสามารถประมาณผลของรายการบัญชีที่เก่ยี วของกบั การใหบ รกิ ารได 155 อยางนา เชือ่ ถอื สญั ญาการขายสนิ คา การเปด เผยขอมลู สรปุ Preview บทท่ี 6 การบญั ชีสําหรบั รายการท่ีเปน เงินตราตา งประเทศและการแปลงคา งบการเงิน (Accounting for Foreign Currency Transactions and Translation 157 Financial Statement) 157 ความหมายของเงินตราตางประเทศ 157 อัตราแลกเปล่ียน (Exchange Rate) 158 ลักษณะของกจิ กรรมทเี่ กยี่ วกับตางประเทศ การบัญชสี าํ หรับรายการคาทเ่ี ปนเงนิ ตราตา งประเทศ (Accounting for Foreign Currency 158 Transactions) 158 169 รายการคา ทเี่ ปนเงนิ ตราตางประเทศ (Transactions in Foreign Currencies) 175 กิจการมหี นว ยงานในตางประเทศ 176 การปองกันความเส่ยี งจากอตั ราแลกเปลี่ยนเงนิ ตราตา งประเทศ (Foreign Currency Hedge) 177 ประเภทหลักของตราสารอนุพนั ธ 178 การบญั ชีปอ งกันความเสีย่ ง (Hedge Accounting) 182 การบญั ชขี องตราสารอนุพันธทไ่ี มเขา เงอ่ื นไขของการปอ งกันความเสยี่ ง 183 การบญั ชีของตราสารอนุพันธท่ีเขา เงอ่ื นไขของการปอ งกันความเสยี่ ง 187 การปองกนั ความเสี่ยงในมูลคายุติธรรมตอ สินทรัพยสทุ ธิทเ่ี ปนเงินตราตางประเทศ 190 การปอ งกนั ความเส่ยี งในมูลคายุตธิ รรมตอหน้ีสินสทุ ธทิ ี่เปนเงนิ ตราตางประเทศ การปองกนั ความเส่ียงในกระแสเงินสดตอ สินทรัพยสุทธหิ รอื หนส้ี ินสุทธิ ทเี่ ปนเงินตราตางประเทศ การบัญชีช้นั สูง 1 (7)

การปองกันความเสย่ี งในมลู คายุตธิ รรมและการปองกนั ความเสี่ยงใน 191 กระแสเงนิ สดจากภาระผูกพันทเี่ ปน เงินตราตางประเทศ 193 การปองกนั ความเส่ยี งตอ เงินลงทนุ สุทธใิ นหนวยงานตา งประเทศ 194 สรปุ 198 บทที่ 7 การบัญชสี าํ นักงานใหญแ ละสาขา (Home Office and Branch Accounting) 198 198 ความหมายของสาํ นักงานใหญ สาขา และตวั แทน 199 ความแตกตา งระหวา งตัวแทนและสาขา 200 การบัญชขี องตัวแทน (Agency Accounting) 200 203 วธิ ีท่ีทราบผลการดําเนินงานของตัวแทนแตล ะแหง แยกจากสาํ นกั งานใหญ 204 วธิ ที ่ีทราบผลการดําเนินงานรวมของตัวแทนและสาํ นักงานใหญ 208 การบัญชขี องสาขา (Branch Accounting) การสงสินคา ไปสาขา (Merchandise Inventory Shipments to a Branch) 218 กระดาษทาํ การและงบการเงินรวมของสาํ นักงานใหญและสาขา 223 งบพสิ จู นย อดบัญชเี ดินสะพัดสํานักงานใหญแ ละบัญชเี ดนิ สะพดั สาขา 224 (Reconciliation of Home Office and Branch Current) 231 สินทรัพยไมหมนุ เวียนทีส่ าขามีไวใ ชใ นการดําเนินงาน การโอนสินทรัพยร ะหวา งสาขา (Inter-branch Transfer of Asset) 233 สรปุ 233 Preview 233 บทที่ 8 การบญั ชสี ําหรับสัญญาเชา (Accounting for Leases) 233 235 ลกั ษณะทัว่ ไปของสญั ญาเชา 235 ความหมายของสัญญาเชา 235 ลกั ษณะของสญั ญาเชาระยะยาว 236 ประโยชนของการเชา ระยะยาว 236 236 ประเภทของสัญญาเชาระยะยาว 242 สัญญาเชา การเงิน 242 สัญญาเชา การดาํ เนินงาน 242 268 หลกั เกณฑทใ่ี ชใ นการพิจารณาจดั ประเภทของสัญญาเชาระยะยาว 268 ดา นผูเชา 274 ดา นผใู หเ ชา การบญั ชสี าํ หรับสัญญาเชาระยะยาว การบญั ชสี าํ หรับสญั ญาเชาการเงนิ ทางดานผูเชา การแสดงรายการและการเปดเผยขอมลู ในงบการเงินดานผูเชา การบัญชีสัญญาเชา การเงินที่มลี ักษณะเปนการใหกยู มื โดยตรงดานผใู หเชา การบัญชสี ําหรับสญั ญาเชาการเงนิ ทมี่ ีลักษณะเปน การขายดานผใู หเ ชา (8) การบญั ชีชั้นสงู 1

การบัญชสี าํ หรับสญั ญาเชาการดําเนนิ งานทางดา นผูเชา 278 การบัญชสี าํ หรับสัญญาเชาการดาํ เนนิ งานทางดานผูใหเชา 278 การเปดเผยขอมูลของผูเชาและผูใหเชาสําหรบั สญั ญาเชาดาํ เนนิ งาน 280 เปรยี บเทียบสัญญาเชา การเงินกับสัญญาเชา การดําเนินงาน 281 การขายและเชากลับคืน 281 สรปุ 284 บทที่ 9 การบญั ชีสาํ หรบั การปรับโครงสรา งหน้ีท่มี ปี ญหา Preview (Accounting for Troubled Debt Restructuring) 285 285 ความหมายของโครงสรางหน้ี และการปรับโครงสรา งหนท้ี ่ีมีปญ หา 285 โครงสรา งหน้ี 285 การปรบั โครงสรา งหนท้ี ม่ี ปี ญ หา 287 287 วธิ ีการปรับโครงสรางหน้ที ม่ี ีปญหา 288 วธิ ปี ฏบิ ัติทางการบญั ชีสาํ หรับการปรบั โครงสรางหนท้ี ี่มปี ญ หา 288 288 การโอนสินทรัพยเพ่อื ชาํ ระหนีท้ ัง้ หมด 289 ดานลกู หนี้ 289 ดา นเจาหน้ี 289 290 การโอนสว นไดเ สยี ในสวนของเจาของเพ่อื ชาํ ระหนที้ ัง้ หมด ดานลูกหน้ี 290 ดา นเจาหนี้ 290 290 การเปลยี่ นแปลงเง่ือนไขการชาํ ระหนี้ กรณที ่ี 1 ราคาตามบัญชีของหนีท้ ี่มีอยเู ดิมสูงกวาจาํ นวนเงนิ ที่ตอ งจายในอนาคตตาม 294 294 เง่ือนไขใหม 294 ดา นลกู หน้ี 299 ดา นเจาหนี้ 299 299 กรณที ี่ 2 ราคาตามบัญชขี องหน้ีทม่ี ีอยเู ดมิ ตาํ่ กวาจํานวนเงินท่ตี อ งจา ยในอนาคตตาม 302 เงอ่ื นไขใหม 303 ดา นลูกหน้ี 303 ดานเจาหนี้ 303 การปรับโครงสรา งหนีท้ ่มี ปี ญหาในหลายลักษณะ ดานลูกหน้ี ดานเจาหนี้ การปรบั โครงสรา งหน้ที ีม่ เี งื่อนไขเกี่ยวกบั จาํ นวนหนท้ี ี่อาจเกิดขึ้น เรอื่ งอื่นๆ ท่ีเกีย่ วของ ดา นลกู หนี้ ดา นเจาหน้ี การบัญชีช้นั สูง 1 (9)

การวดั มลู คาหนี้ภายหลังการปรับโครงสรางหนี้ 304 การเปดเผยขอ มลู 304 304 ดานลกู หนี้ 304 ดา นเจาหน้ี 305 สรปุ 307 บทท่ี 10 งบการเงนิ ระหวา งกาล (Interim Financial Statement) 307 307 ความหมายของงบการเงินระหวา งกาล 308 วตั ถุประสงคข องการจดั ทาํ งบการเงนิ ระหวางกาล 308 ประโยชนของงบการเงนิ ระหวางกาล 309 รปู แบบของงบการเงนิ ระหวา งกาล 309 การรับรูและการวัดมลู คา ของรายการในงบการเงนิ ระหวางกาล 310 314 การรบั รแู ละการวดั มลู คา ของรายไดใ นงบการเงนิ ระหวางกาล 314 การรบั รแู ละการวัดมลู คาของคาใชจายในงบการเงนิ ระหวางกาล 314 การรบั รแู ละการวดั มูลคาของสินทรัพยในงบการเงนิ ระหวา งกาล 314 การรบั รแู ละการวัดมลู คาของหน้สี ินในงบการเงนิ ระหวา งกาล 315 ประมาณการหนี้สิน 316 การปรับยอ นหลังงบการเงนิ ระหวา งกาลของงวดกอน 329 หมายเหตปุ ระกอบงบการเงนิ ตามท่กี ําหนด การนําเสนอขอมูลระหวา งกาล 330 สรปุ 336 Preview 343 แบบฝกหัดบทที่ 1 การฝากขาย 352 แบบฝกหดั บทที่ 2 การขายผอนชําระ 354 แบบฝกหัดบทท่ี 3 นโยบายการบัญชี การเปล่ียนแปลงประมาณการทางบัญชี และขอ ผดิ พลาด 358 แบบฝกหัดบทท่ี 4 การบญั ชีสัญญากอ สรา ง 367 แบบฝกหัดบทที่ 5 การบญั ชีสาํ หรับธุรกิจอสงั หาริมทรัพย 376 แบบฝกหัดบทท่ี 6 การบญั ชสี ําหรับรายการทเี่ ปนเงนิ ตราตางประเทศและการแปลงคางบการเงนิ 382 แบบฝกหัดบทท่ี 7 การบัญชสี ํานักงานใหญแ ละสาขา 386 แบบฝกหดั บทที่ 8 การบญั ชีสําหรับสัญญาเชา แบบฝกหัดบทท่ี 9 การบัญชีสําหรับการปรบั โครงสรางหน้ีทม่ี ปี ญหา 387 แบบฝกหัดบทที่ 10 งบการเงนิ ระหวา งกาล 391 บรรณานุกรม ภาคผนวก (10) การบัญชชี ้นั สูง 1

1บทที่ การฝากขาย Consignments เจาของและผูบริหารธุรกิจท้ังหลายตางตองการใหธุรกิจของตนมีความม่ังคั่งสูงสุด จึงจําเปนตองขยาย ชองทางการจําหนายสินคาใหกวางขวางและลดคาใชจาย วิธีการขยายชองทางการจําหนายวิธีหน่ึงในหลายวิธี คือ การนําสินคาไปฝากขายตามสถานท่ีตางๆ เชน หางสรรพสินคา รานคาตางๆ ทั่วประเทศ ซึ่งจะชวยใหยอดขาย เพมิ่ ขน้ึ สง ผลใหก าํ ไรเพิม่ ขึ้น การฝากขายจงึ มคี วามสําคัญตอระบบเศรษฐกจิ ความหมายของการฝากขาย การฝากขาย (Consignments) หมายถึง การที่กิจการผูเปนเจาของสินคาซึ่งเรียกวา ผูฝากขาย (Consignor) สงสินคาไปฝากไวกับอีกกิจการหนึ่งซ่ึงเรียกวา ผูรับฝากขาย (Consignee) เพื่อใหผูรับฝากขายทําหนาที่เปน ตัวแทนของตนในการทํากิจกรรมตางๆ เพื่อใหเกิดการขายสินคา ท้ังน้ี สินคาฝากขายคงเหลือท่ีผูรับฝากขายยังเปน กรรมสิทธ์ิของผูฝากขาย เมื่อผูรับฝากขายขายสินคาใหแกลูกคาไดกรรมสิทธ์ิในสินคาจึงจะโอนเปนของลูกคา ณ จุดน้ี ความเส่ียงและผลตอบแทนทั้งหมดของสินคาไดโอนจากผูฝากขายเปนของลูกคาแลวรายไดจากการขายเกิดข้ึน ดังนัน้ ผฝู ากขายจะตอ งบันทกึ การขาย การท่ีผูรับฝากขายทําหนาท่ีเปนตัวแทนจะไดรับผลตอบแทนเปนคานายหนาหรือช่ืออ่ืนตามท่ีตกลงกัน โดยผูรบั ฝากขายจะจัดทํารายงานการขายพรอมสงเงนิ สดคงคางหลังหักผลตอบแทนของตนคืนใหแกผูฝากขายตาม เวลาที่ตกลงกนั จากความหมายทก่ี ลา วมาอาจสรปุ เปนแผนภาพ ไดด ังนี้ Preview ผฝู ากขาย สง สนิ คาไปฝากขาย ความเสย่ี ง ผรู ับฝากขาย ขายสนิ คาใหลูกคาความเสย่ี ง ลกู คา และผลตอบแทนของสนิ คา ท่สี ง และผลตอบแทนท้ังหมดของ ไปฝากขายยงั เปน ของผูฝากขาย สนิ คา ทส่ี งไปฝากขายโอนจาก รายไดของผูฝากขายยงั ไมเกิดขน้ึ ผฝู ากขายเปน ของลกู คา ณ จุดน้ี รายไดของผูฝากขายเกิดขน้ึ แลว สงเงนิ คงคา งซงึ่ กค็ ือ เงินสดคา เกบ็ เงนิ จากลกู คา ขายคงเหลอื หลังหกั คาใชจ า ยแลว แผนภาพท่ี 1 ความหมายของการฝากขาย

Previewประโยชนของการฝากขาย ผฝู ากขาย 1. เปนการขยายตลาด ซง่ึ สามารถทําไดในเวลาอันรวดเรว็ และทั่วถึง โดยใชเงนิ ทนุ นอ ยกวาการเปดสาขา หรือการจางพนักงานขาย นอกจากนี้ในกรณีที่สินคาของผูฝากขายเปนสินคาใหมยังไมเปนท่ีรูจักของตลาด ผูคาปลีก อาจลังเลท่ีจะซ้ือสินคาไปขาย เพราะมีความเสี่ยงที่จะขายสินคาไมได การฝากขายจึงเปนวิธีท่ีจะนําสินคาออกสู ตลาดได 2. ประหยัดคา ใชจายกวา การเปด สาขาหรอื จา งพนกั งานขาย 3. สามารถควบคุมราคาขายปลีกของสินคาใหเทากนั ทุกทไี่ ด เพราะผูฝากขายเปนผูกาํ หนดราคาขายปลกี เอง 4. มีสิทธิเรียกสนิ คาคืน ในกรณที ่ผี รู บั ฝากขายกลายเปน บุคคลลมละลาย ผูฝากขายมีสิทธิเรียกสินคาและ เงินสดคาขายสนิ คา คืนจากผูรบั ฝากขายไดท นั ที เจา หน้ขี องผรู บั ฝากขายไมมสี ิทธทิ จี่ ะยดึ สนิ คาและเงนิ สดดงั กลา วไว ผูรบั ฝากขาย 1. หลีกเลี่ยงความเสี่ยงของการเปนเจาของ กลาวคือ ไมตองรับภาระเมื่อขายสินคาไมไดหรือสินคาลาสมัย ชาํ รุดบกพรอ ง เสื่อมคุณภาพ หรอื กรณที รี่ าคาตลาดของสนิ คา ลดลงความเสยี หายดังกลาวจะตกเปน ของผฝู ากขาย 2. ใชเงินลงทุนนอย กลาวคือ ผูรับฝากขายไมตองจายเงินสดซื้อสินคา แตจะไดรับสินคาจากผูฝากขาย เพ่ือนํามาขายและไดร ับผลตอบแทนเปนคานายหนา สัญญาการฝากขาย ในการฝากขายท้ังผูฝากขายและผูรับฝากขายตองทําสัญญาการฝากขาย เพ่ือระบุถึงหนาท่ีและสิทธิของ แตละฝายเปนลายลักษณอักษรอยางชัดเจน เพ่ือหลีกเล่ียงความขัดแยงท่ีอาจเกิดข้ึนภายหลัง สัญญาการฝากขาย จะตองระบสุ ง่ิ ตอไปน้เี ปนอยา งนอ ย 1. การกาํ หนดเก่ยี วกับ ราคาขาย วิธีการขาย คือ เปน เงินสดหรอื เงนิ เชื่อ ระยะเวลาของการชําระหน้ี การ ใหค ํารบั รองหรอื การคํ้าประกันคณุ ภาพของสนิ คา 2. การกําหนดผลตอบแทนของผรู ับฝากขาย ซง่ึ อาจไดร ับเปน คา นายหนา คาเชารานหรือผลตอบแทนอื่น ตามที่ตกลงกนั 3. การกําหนดจํานวนเงินทดรองจายที่ผูฝากขายควรใหแกผูรับฝากขาย เพื่อใหผูรับฝากขายนําไปจาย คาใชจายตา งๆ เก่ียวกบั การฝากขาย เชน คา โฆษณา คาขนสง เปนตน 4. การกําหนดจํานวนเงินที่ผูฝากขาย ขอใหผูรับฝากขายสงเงินคาขายสินคาฝากขายใหตนลวงหนากอน ไดรบั รายงานการขายหรือทีเ่ รียกวา เงนิ ลว งหนา 5. กําหนดเวลาทผ่ี รู บั ฝากขายตองทาํ และสงรายงานการขาย พรอมเงินคงคางใหแกผฝู ากขาย 6. วธิ กี ารสงและรับสินคา ฝากขาย วิธกี ารคนื สินคาฝากขายทีช่ ํารุด 7. วิธีการเก็บและดูแลรักษาสินคาฝากขาย ซ่ึงมักระบุใหผูรับฝากขายตองดูแลสินคาเหลานี้เสมือนเปนสินคา ของตน และตองเก็บรกั ษาสนิ คา ฝากขายแยกจากสินคา ของตน หากผูฝากขายและผูรับฝากขาย มิไดท ําสัญญาการฝากขายไวตอกันหรือเน้ือหาในสัญญาการฝากขายมิได กําหนดถึงเร่ืองท่ีเปนขอพิพาทระหวางผูฝากขายกับผูรับฝากขาย ใหนํากฎหมายเร่ืองตัวการและตัวแทนมาบังคับ ใชก บั ท้งั สองฝา ย 2 การบญั ชชี นั้ สงู 1

หนา ที่และสทิ ธขิ องผฝู ากขาย หนาที่ของผูฝากขาย ผฝู ากขายมีหนาท่ตี อ งปฏบิ ตั ิตอผูรับฝากขายในฐานะตวั แทนของตน ดังนี้ 1. ตองสง สินคาที่มีคณุ ภาพดีตรงตามคาํ โฆษณาไปใหแกผ รู ับฝากขาย 2. ตอ งรบั ผดิ ชอบตอ คาํ รับรองหรอื การค้าํ ประกันทผ่ี ูรับฝากขายใหแกลกู คา 3. เปนผูรับผิดชอบคาใชจายเกี่ยวกับการฝากขายสินคาและตองจายชดเชย สําหรับคาใชจายท่ีผูรับ ฝากขายไดจ ายแทนไป 4. จายเงินทดรองจายเพื่อใหผูรับฝากขายนําเงินดังกลาว ไปจายคาใชจายเก่ียวกับการรับฝากขายที่อาจ เกิดข้นึ ในอนาคต เชน คา ขนสง คาติดตง้ั เปน ตน 5. จา ยผลตอบแทนใหแกผ รู บั ฝากขายเม่อื ผรู ับฝากขายขายสนิ คา ได ผลตอบแทนนี้อาจอยูในรูปคานายหนา หรอื คาเชารา น เปน ตน สทิ ธิของผูฝากขาย ผฝู ากขายมีสิทธิเรียกรองจากผูรบั ฝากขาย ดังน้ี 1. มสี ิทธิในสนิ คาฝากขายทผี่ รู บั ฝากขายยังขายไมได 2. มีสิทธิไดรับรายงานการขาย (Sales Account) พรอมรับเงินสดคาขายสินคาคงเหลือหลังหักคานายหนา คาใชจายทีผ่ ูรับฝากขายจายแทนไป เงินทดรองจาย และเงนิ ลวงหนา หนาทแี่ ละสิทธขิ องผูร ับฝากขาย หนา ทีข่ องผรู ับฝากขาย 1. เก็บและดแู ลรักษาสนิ คา ทีร่ บั ฝากขายอยางเชนผูเ ปน เจาของพึงปฏบิ ัติ 2. แยกสินคาของตนเองและสินคาที่รับฝากขายออกจากกัน เพ่ือความสะดวกในการบันทึกการขาย และ การตรวจนับสินคาคงเหลือไดถูกตอง นอกจากน้ีควรแยกลูกหนี้ของตนเองออกจากลูกหนี้ที่เกิดจากการรับฝากขาย เพอื่ จะไดทราบวา ลกู หนร้ี ายใดเปนของผฝู ากขาย 3. ตองขายสินคาตามราคาที่ผูฝากขายกําหนด กรณีที่ผูฝากขายยินยอมใหผูรับฝากขายขายสินคาเปน เงินเช่ือและเปนผูพิจารณาการใหสินเชื่อแกลูกคา ผูรับฝากขายตองพิจารณาการใหสินเช่ือดวยความระมัดระวัง และตดิ ตามเก็บหนใี้ หค รบเสมอื นเปน การขายเช่ือของตนเอง 4. ตองสงเงินคาขายสินคาคงเหลือหลังหักคานายหนา คาใชจายท่ีตนจายแทน เงินทดรองจายและเงิน ลว งหนาคืนใหแกผฝู ากขายตามเวลาทีต่ กลงกนั 5. ตองจดั ทาํ รายงานเกี่ยวกับกิจกรรมการคาท่ีตนไดทาํ แทนผูฝากขายไปทั้งหมด สงใหแกผูฝากขายตาม ระยะเวลาที่ตกลงกัน รายงานนี้เรียกวา รายงานการขาย (Sales Account) รายงานนี้จะบอกขอมูลเกี่ยวกับ รายละเอียดและปริมาณสินคาที่รับฝากขาย ปริมาณ และมูลคาที่ขายได คาใชจายตางๆ ที่เกิดขึ้นและผูรับฝากขาย จา ยเงนิ แทนไปกอน จาํ นวนเงนิ ทสี่ ง ใหผ ฝู ากขายและจาํ นวนเงนิ ท่ยี งั คางชาํ ระแกผูฝ ากขาย Preview การบัญชีชนั้ สูง 1 3

ตัวอยา งรายงานการขายทางดานผูรับฝากขาย รายงานการขาย รานเอก 543 ถนนสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร การฝากขายเลขท่ี 1345 วันท่ี 30 ธนั วาคม 25X1 ขายสนิ คา ในนาม: บริษัทฮาตาริไทย จาํ กดั สาํ นักงาน: เลขที่ 649 ถนนลาดพรา ว เขตวงั ทองหลาง กรุงเทพมหานคร รายงานการขายสนิ คา: ตูเยน็ รุน FQ 154 ขนาด 5 คิว จาํ นวน 10 เครื่อง วัน เดอื น ป รายการ จํานวนสินคา จํานวนเงนิ 25X1 (เครอื่ ง) (บาท) ธันวาคม 1 1 Preview ยอดคงเหลอื ยกมา 1 – 30 ไดร บั 11 รวม 12 1 – 30 ขายตูเ ย็นขนาด 5 คิว เคร่ืองละ 4,000 บาท 10 40,000 คาใชจ าย:- คาขนสงสินคาเขา รา น 550 คา ขนสง สินคา ใหล กู คา 600 คาซอมตามคาํ รบั ประกัน 200 คาโฆษณา 3,000 คานายหนา 800 5,150 ยอดคงคาง 34,850 จํานวนเงินท่สี งชําระพรอมรายงานการขาย 34,850 ยอดเงนิ คา งชําระ - ยอดคงเหลอื ยกไป 2 สทิ ธขิ องผูรับฝากขาย 1. ไดรบั คา ตอบแทนการทํางานเปนรายไดคา นายหนา หรอื รายไดคา เชา ราน ฯลฯ ในอตั ราท่ีตกลงกนั 2. มีสิทธไิ ดรบั เงนิ ชดเชยคา ใชจายตางๆ เก่ียวกับการฝากขายท่ีผูรับฝากขายจายแทนไป เชน คาโฆษณา คา ขนสง คาเกบ็ รักษาสินคา เปนตน 3. มีสิทธิท่ีจะใหคํารับประกันคุณภาพของสินคาท่ีรับฝากขายตามธรรมเนียมการคาแกลูกคา โดยผูฝาก ขายจะเปน ผูรับผดิ ชอบตอ คาํ รบั ประกันน้ี 4. มีสิทธิขายสนิ คา ทรี่ ับฝากขายเปนเงินเช่ือ และสามารถพิจารณาการใหสินเชื่อแกลูกคาได ถาระบุไวใน สญั ญาการฝากขาย 4 การบัญชีชน้ั สูง 1


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook