ก คำนำ หลักธรรมของผู้ท่ีสั่งสอนหรอื ให้การศึกษา เพอ่ื นำความรู้ถา่ ยทอด ให้ผู้ศกึ ษาไดพ้ ฒั นาคุณภาพชวี ิต โดยมีจุดประสงค์คอื นำความรู้ท่ีศึกษามา ใช้ในชีวิตประจำวัน ซึ่งมีเนื้อหาของหลกั ธรรมที่สามารถนำมาปฏบิ ัติไดใ้ น ชีวิตประจำวัน การมีสติและการไต่ตรองอย่างมีวิจารณญาณในการ ตัดสินใจและแก้ปญั หาตา่ งๆได้ดว้ ยตนเอง
สารบัญ ข เรอื่ ง หน้า คำนำ ก สารบญั ข บทท่ี ๑ หลักธรรมของผ้สู ่ังสอนหรอื ใหก้ ารศึกษา 1 บทที่ ๒ หลกั ธรรมของผเู้ ล่าเรยี นศึกษา 5 บรรณานุกรม 9
๑ บทที่ ๑ หลักธรรมของผสู้ ั่งสอนหรอื ให้การศกึ ษา (ครู อาจารย์ หรอื ผแู้ สดงธรรม) ผ้ทู ำหนา้ ที่ส่ังสอน ให้การศึกษาแก่ผูอ้ ่ืน โดยเฉพาะครู อาจารย์ พงึ ประกอบดว้ ยคณุ สมบัติ และประพฤตติ ามหลักปฏิบตั ิ ดงั น้ี ก. เป็นกัลยาณมิตร ข. ตั้งใจประสิทธิ์ความรู้ ค. มีลีลาครูครบท้ังส่ี ง. มีหลกั ตรวจสอบสาม จ. ทำหนา้ ท่คี รตู ่อศษิ ย์ ก. เปน็ กัลยาณมติ ร คือ ประกอบด้วยองค์คุณของกัลยาณมิตร หรือ กัลยาณมติ รธรรม ๗ ประการ ดังน้ี ๑. ปโิ ย น่ารกั คือ มีเมตตากรณุ า ใส่ใจคนและประโยชนส์ ุขของ เขา เขา้ ถงึ จิตใจ สร้างความรู้สึกสนิทสนมเป็นกันเอง ชวนใจผ้เู รียนให้อยาก เข้าไปปรึกษาไตถ่ าม ๒. ครุ นา่ เคารพ คอื เปน็ ผหู้ นักแน่น ถอื หลักการเป็นสำคญั และ มีความประพฤตสิ มควรแกฐ่ านะ ทำให้เกดิ ความรู้สึกอบอนุ่ ใจ เป็นทพี่ ง่ึ ได้ และปลอดภยั ๓. ภาวนีโย น่าเจรญิ ใจ คือ มคี วามรจู้ รงิ ทรงภูมิปญั ญาแทจ้ รงิ และเปน็ ผู้ฝึกฝนปรับปรุงตนอย่เู สมอ เปน็ ที่นา่ ยกยอ่ งควรเอาอยา่ ง ทำให้ ศิษย์เอย่ อา้ งและรำลกึ ถึงดว้ ยความซาบซึง้ มัน่ ใจ และภาคภูมิใจ ๔. วตฺตา รจู้ กั พดู ใหไ้ ด้ผล คอื รู้จกั ชี้แจงให้เข้าใจ รู้ว่าเมอ่ื ไรควร พดู อะไร อยา่ งไร คอยให้คำแนะนำวา่ กล่าวตกั เตือน เป็นที่ปรกึ ษาท่ดี ี
๒ ๕. วจนกฺขโม อดทนตอ่ ถ้อยคำ คือ พรอ้ มทีจ่ ะรบั ฟงั คำปรกึ ษา ซักถามแมจ้ ุกจิก ตลอดจนคำล่วงเกินและคำตกั เตอื นวพิ ากษ์วจิ ารณ์ตา่ งๆ อดทน ฟงั ได้ ไมเ่ บ่ือหน่าย ไมเ่ สียอารมณ์* ๖.คมภฺ รี ญจฺ กถํ กตฺตา แถลงเรอื่ งล้ำลึกได้ คอื กล่าวชแ้ี จงเรือ่ ง ต่างๆ ทยี่ ่งุ ยากลึกซึ้งให้เขา้ ใจได้ และสอนศษิ ย์ให้ได้เรยี นรเู้ รือ่ งราวทลี่ ึกซ้งึ ยิ่งข้ึน ๗. โน จฏฐฺ าเน นโิ ยชเย ไม่ชกั นำในอฐาน คอื ไมช่ ักจูงไปในทางท่ี เส่ือมเสยี หรือเรอ่ื งเหลวไหลไมส่ มควร (อง.ฺ สตตฺ ก. ๒๓/๓๔/๓๓) ข. ต้งั ใจประสทิ ธิ์ความรู้ โดยตง้ั ตนอยู่ในธรรมของผแู้ สดงธรรม ทเี่ รยี กวา่ ธรรมเทศกธรรม ๕ ประการ คอื ๑. อนุบพุ พกิ ถา สอนให้มีขั้นตอนถกู ลำดบั คือ แสดงหลักธรรม หรือเน้ือหาตามลำดับความง่ายยากลมุ่ ลึก มีเหตุผลสมั พันธต์ ่อเนอื่ งกนั ไป โดยลำดับ ๒. ปรยิ ายทสั สาวี จบั จุดสำคญั มาขยายใหเ้ ข้าใจเหตุผล คือ ชแี้ จง ยกเหตผุ ลมาแสดง ให้เข้าใจชัดเจนในแต่ละแงแ่ ต่ละประเด็น อธิบาย ยักเย้ืองไปต่างๆ ให้มองเหน็ กระจา่ งตามแนวเหตผุ ล ๓. อนุทยตา ตั้งจิตเมตตาสอนดว้ ยความปรารถนาดี คอื สอนเขา ด้วยจติ เมตตา มุ่งจะใหเ้ ปน็ ประโยชน์แก้ผรู้ ับคำสอน ๔. อนามิสันดร ไม่มีจิตเพง่ เลง็ เห็นแกอ่ ามสิ คือ สอนเขามิใชม่ ิใช่ มงุ่ ที่ตนจะไดล้ าภ สินจา้ ง หรือผลประโยชนต์ อบแทน ๕. อนุปหจั จ์* วางจิตตรงไม่กระทบตนและผอู้ นื่ คือ สอนตาม หลักตามเน้อื หา มุ่งแสดงอรรถ แสดงธรรม ไมย่ กตน ไมเ่ สียดสีขม่ ขี่ผูอ้ ืน่ (องฺ.ปญจฺ ก. ๒๒/๑๕๙/๒๐๕)
๓ ค. มีลลี าครูครบทั้งส่ี ครทู ี่สามารถมีลลี าของนักสอน ดงั นี้ ๑. สนั ทัสสนา ช้ใี หช้ ัด จะสอนอะไร ก็ช้แี จงแสดงเหตุผล แยกแยะ อธบิ ายใหผ้ ูฟ้ งั เข้าใจแจม่ แจ้ง ดังจูงมอื ไปดูเห็นกบั ตา ๒. สมาทปนา ชวนใหป้ ฏิบตั ิ คอื ส่งิ ใดควรทำ กบ็ รรยายให้ มองเหน็ ความสำคัญ และซาบซึ้งในคณุ ค่า เห็นสมจริง จนผฟู้ ังยอมรับ อยากลงมอื ทำ หรอื นำไปปฏบิ ัติ ๓. สมตุ เตชนา เรา้ ใหก้ ลา้ คือ ปลกุ ใจให้คึกคัก เกิดความ กระตอื รอื รน้ มีกำลังใจแข็งขัน มนั่ ใจจะทำให้สำเรจ็ ไมก่ ลัวเหน็ดเหน่ือย หรอื ยากลำบาก ๔. สัมปหังสนา ปลกุ ใหร้ า่ เริง คอื ทำบรรยากาศให้สนุกสดชนื่ แจม่ ใส เบกิ บานใจ ใหผ้ ู้ฟงั แช่มช่นื มีความหวัง มองเห็นผลดีและทางสำเรจ็ จำงา่ ยๆ วา่ สอนให้ แจ่มแจง้ จงู ใจ แกลว้ กล้า รา่ เริง (เช่น ที.ส.ี ๙/๑๙๘/๑๖๑) ง. มีหลกั ตรวจสอบสาม เมือ่ พูดอย่างรวบรดั ทส่ี ุด ครอู าจตรวจสอบตนเอง ดว้ ยลกั ษณะการสอนของพระบรมครู ๓ ประการ คือ ๑. สอนด้วยความร้จู ริง รู้จริง ทำได้จรงิ จงึ สอนเขา ๒. สอนอยา่ งมีเหตุผล ใหเ้ ขาพิจารณาเข้าใจแจ้งดว้ ยปญั ญาของ เขาเอง ๓. สอนใหไ้ ด้ผลจรงิ สำเร็จความมงุ่ หมายของเรอ่ื งทส่ี อนนั้นๆ เชน่ ใหเ้ ขา้ ใจได้จริง เห็นความจรงิ ทำไดจ้ รงิ นำไปปฏิบตั ิได้ผลจรงิ เป็นต้น (อง.ฺ ติก. ๒๐/๕๖๕/๓๕๖)
๔ จ. ทำหน้าทีค่ รูต่อศิษย์ คอื ปฏบิ ัตติ อ่ ศิษย์ โดยอนุเคราะหต์ ามหลักธรรม เสมือนเปน็ ทิศเบอ้ื งขวา* ดงั นี้ ๑. แนะนำฝกึ อบรมใหเ้ ปน็ คนดี ๒. สอนให้เขา้ ใจแจม่ แจ้ง ๓. สอนศิลปวิทยาให้สิ้นเชิง ๔. ส่งเสรมิ ยกยอ่ งความดีงามความสามารถให้ปรากฏ ๕. สรา้ งเครอ่ื งคุม้ ภัยในสารทิศ คอื สอนฝึกศษิ ยใ์ ห้ใชว้ ิชาเล้ียงชพี ไดจ้ ริงและรจู้ กั ดำรงตนด้วยดี ที่จะเป็นประกันให้ดำเนินชวี ิตดงี ามโดย สวสั ดี มีความสุขความเจรญิ ** (ที.ปา. ๑๑/๒๐๐/๒๐๓)
๕ บทที่ ๒ หลกั ธรรมของผเู้ ลา่ เรยี นศกึ ษา (นกั เรียน นกั ศึกษา นักค้นควา้ ) คนที่เล่าเรยี นศกึ ษา จะเป็นนักเรียน นกั ศึกษา หรือนกั ค้นคว้าก็ ตาม นอกจากจะพึงปฏบิ ตั ิตามหลักธรรมสำหรับคนท่จี ะประสบ ความสำเร็จ คือ จักร ๔* และอิทธิบาท ๔* แลว้ ยังมหี ลักการทค่ี วรรู้ และ หลกั ปฏบิ ตั ิทคี่ วรประพฤตอิ กี ดงั ตอ่ ไปนี้ ก. รู้หลักบุพภาคของการศกึ ษา ข. มีหลกั ประกนั ของชวี ิตทพ่ี ัฒนา ค. ทำตามหลกั เสริมสรา้ งปญั ญา ง. ศกึ ษาให้เปน็ พหูสูต จ. เคารพผ้จู ุดประทีปปญั ญา ก. รหู้ ลกั บุพภาคของการศกึ ษา คือ รูจ้ กั องคป์ ระกอบทีเ่ ปน็ ปัจจัยแห่งสมั มาทิฏฐิ ๒ ประการ ดงั นี้ ๑. องคป์ ระกอบภายนอกท่ดี ี ไดแ้ ก่ มีกัลยาณมติ ร หมายถงึ รูจ้ กั หาผู้แนะนำสง่ั สอน ที่ปรึกษา เพ่อื น หนงั สือ ตลอดจนส่ิงแวดล้อมทาง สงั คมโดยทั่วไปที่ดี ท่เี กอื้ กูล ซ่ึงจะชกั จงู หรือกระต้นุ ใหเ้ กดิ ปญั ญาได้ด้วย การฟงั การสนทนา ปรกึ ษา ซกั ถาม การอา่ น การคน้ คว้า ตลอดจนการ รจู้ กั เลอื กใช้สือ่ มวลชนให้เปน็ ประโยชน์ ๒. องค์ประกอยภายในทด่ี ี ไดแ้ ก่ โยนโิ สมนสกิ าร หมายถึง การใช้ ความคิดถูกวิธี รู้จักคดิ หรือคดิ เปน็ คือ มองสิ่งทั้งหลายดว้ ยความคิด พิจารณา สบื สาวหาเหตุผล แยกแยะสงิ่ นั้น ๆ หรอื ปญั หานั้น ๆ ออกให้
๖ เหน็ ตามสภาวะและตามความสัมพนั ธ์แห่งเหตปุ ัจจยั จนเขา้ ถงึ ความจริง และแกป้ ัญหาหรอื ทำประโยชนใ์ หเ้ กิดขึ้นได้ กลา่ วโดยย่อวา่ ข้อหน่งึ รู้จักพ่ึงพาให้ได้ประโยชน์จากคนและสิง่ ทีแ่ วดลอ้ ม ข้อสอง ร้จู ักพึ่งตนเอง และทำตัวให้เป็นที่พึ่งของผ้อู ่ืน (ม.ม.ู ๑๒/๔๙๗/๕๓๙) ข. มีหลกั ประกันของชวี ิตทีพ่ ฒั นา เมอ่ื รหู้ ลกั บุพภาคของการศึกษา ๒ อย่างแลว้ พงึ นำมาปฏิบตั ิใน ชีวิตจริง พรอ้ มกบั สรา้ งคุณสมบัติอืน่ อกี ๕ ประการใหม้ ใี นตน รวมเป็น องค์ ๗ ท่ีเรยี กวา่ แสงเงนิ แสงทองของชีวติ ที่ดีงาม หรือ รงุ่ อรณุ ของ การศกึ ษา ที่พระพทุ ธเจา้ ทรงเปรยี บว่าเหมือนแสงอรุณท่ีเป็นบพุ นมิ ิตแหง่ อาทติ ยอ์ ทุ ัย เพราะเปน็ คุณสมบัติตน้ ทุนท่ีเป็นหลักประกนั ว่า จะทำให้ กา้ วหนา้ ไปในการศกึ ษา และชีวิตจะพัฒนาสคู่ วามดงี ามและความสำเร็จท่ี สูงประเสริฐอย่างแน่นอน ดงั ต่อไปนี้ ๑. แสวงแหลง่ ปญั ญาและแบบอย่างทดี่ ี ๒. มีวนิ ยั เปน็ ฐานของการพฒั นาชีวติ ๓. มีจิตใจใฝ่รู้ใฝ่สรา้ งสรรค์ ๔. มงุ่ ม่ันฝึกตนจนเต็มสดุ ภาวะที่ความเปน็ คนจะใหถ้ ึงได้ ๕. ยึดถือหลกั เหตุปจั จยั มองอะไรๆ ตามเหตุและผล ๖. ต้ังตนอยู่ในความไม่ประมาท ๗. ฉลาดคดิ แยบคายให้ได้ประโยชน์และความจรงิ
๗ ค. ทำตามหลกั เสริมสร้างปัญญา ในทางปฏบิ ัติ อาจสร้างปจั จยั แหง่ สมั มาทิฏฐิ ๒ อย่างขา้ งต้นนั้น ได้ ดว้ ยการปฏบิ ตั ิตามหลกั วุฒิธรรม* (หลักการสรา้ งความเจริญงอกงาม แหง่ ปัญญา) ๔ ประการ ๑. สปั ปุริสสังเสวะ เสวนาผรู้ ู้ คอื รู้จกั เลือกหาแหล่งวิชา คบหา ท่านผรู้ ู้ ผู้ทรงคณุ ความดี มภี มู ิธรรมภูมปิ ญั ญานา่ นับถอื ๒. สัทธมั มสั สวนะ ฟงั ดูคำสอน คือ เอาใจใส่สดบั ตรบั ฟังคำ บรรยาย คำแนะนำสง่ั สอน แสวงหาความรู้ ท้ังจากตวั บคุ คลโดยตรง และ จากหนังสือหรอื สอ่ื มวลชน ตง้ั ใจเล่าเรียน ค้นควา้ หม่นั ปรกึ ษาสอบถาม ให้เขา้ ถงึ ความรู้ที่จรงิ แท้ ๓. โยนโิ สมนสกิ าร คิดให้แยบคาย คอื รู้ เห็น ได้อ่าน ได้ฟังสง่ิ ใด กร็ ู้จักคิดพิจารณาด้วยตนเอง โดยแยกแยะให้เห็นสภาวะและสบื สาวให้ เหน็ เหตุผลว่านัน่ คอื อะไร เกดิ ข้ึนได้อยา่ งไร ทำไมจงึ เป็นอยา่ งนนั้ จะ เกดิ ผลอะไรตอ่ ไป มขี อ้ ดี ขอ้ เสยี คณุ โทษอย่างไร เปน็ ตน้ ๔. ธรรมานุธรรมปฏิบัติ ปฏิบตั ใิ หถ้ ูกหลกั นำสิ่งที่ได้เลา่ เรียนรบั ฟังและตริตรองเห็นชัดแลว้ ไปใชห้ รอื ปฏบิ ัติหรือลงมือทำ ให้ถูกต้องตาม หลกั ตามความมงุ่ หมาย ให้หลกั ย่อยสอดคลอ้ งกบั หลักใหญ่ ขอ้ ปฏิบัติยอ่ ย สอดคล้องกับจุดหมายใหญ่ ปฏิบัติธรรมอยา่ งรูเ้ ป้าหมาย เช่น สนั โดษเพือ่ เก้ือหนนุ การงาน ไมใ่ ช่สนั โดษกลายเป็นเกียจคร้าน เป็นต้น (องฺ.จตุกฺก. ๒๑/๒๔๘/๓๓๒) ง. ศึกษาให้เป็นพหสู ูต คือ จะศึกษาเล่าเรยี นอะไร ก็ทำตนให้เป็นพหสู ูตในดา้ นนัน้ ดว้ ย การสร้างความร้คู วามเข้าใจให้แจ่มแจ้งชัดเจนถงึ ขน้ั ครบ องคค์ ณุ ของ พหสู ตู (ผู้ไดเ้ รยี นมาก หรอื ผู้คงแก่เรยี น) ๕ ประการ คอื
๘ ๑. พหสุ ฺสตุ า ฟงั มาก คอื เล่าเรยี น สดบั ฟัง ร้เู ห็น อา่ น ส่ังสม ความรใู้ นดา้ นนัน้ ไว้ใหม้ ากมายกวา้ งขวาง ๒. ธตา จำได้ คือ จบั หลักหรือสาระได้ ทรงจำเรอ่ื งราวหรอื เน้อื หา สาระไวไ้ ด้แมน่ ยำ ๓. วจสา ปรจิ ิตา คล่องปาก คือ ท่องบน่ หรือใชพ้ ูดอย่เู สมอ จน แคล่วคลอ่ งจดั เจน ใครสอบถามก็พูดชี้แจงแถลงได้ ๔. มนสานุเปกฺขิตา เจนใจ คอื ใส่ใจนึกคดิ จนเจนใจ นึกถงึ ครั้งใด ก็ปรากฏเน้อื ความสวา่ งชัดเจน มองเหน็ โลง่ ตลอดไปทง้ั เรอื่ ง ๕. ทิฏฐฺ ิยา สุปฏวิ ิทธฺ า ขบได้ดว้ ยทฤษฎี คอื เข้าใจความหมาย และเหตผุ ลแจ่มแจ้งลกึ ซึ้ง รู้ทีไ่ ปท่มี า เหตุผล และความสมั พนั ธข์ อง เน้ือความและรายละเอยี ดต่างๆ ท้งั ภายในเร่อื งน้ันเอง และทเ่ี ก่ยี วโยงกับ เรื่องอน่ื ๆ ในสายวชิ าหรือทฤษฎีน้ันปรุโปรง่ ตลอดสาย (อง.ฺ ปญจฺ ก. ๒๒/๘๗/๑๒๙) จ. เคารพผู้จุดประทีปปญั ญา ในดา้ นความสัมพนั ธก์ บั ครอู าจารย์ พงึ แสดงคารวะนบั ถือ ตาม หลกั ปฏิบัติในเรอื่ งทิศ ๖ ข้อวา่ ด้วย ทิศเบื้องขวา* ดงั นี้ ๑. ลกุ ตอ้ นรับ แสดงความเคารพ ๒. เข้าไปหา เพอ่ื บำรงุ รบั ใช้ ปรึกษา ซกั ถาม รบั คำแนะนำ เปน็ ตน้ ๓. ฟังดว้ ยดี ฟงั เป็น รู้จกั ฟังใหเ้ กิดปัญญา ๔. ปรนนบิ ตั ิ ชว่ ยบรกิ าร ๕. เรยี นศลิ ปวทิ ยาโดยเคารพ เอาจรงิ เอาจงั ถอื เป็นกิจสำคญั (ท.ี ปา. ๑๑/๒๐๐/๒๐๓)
๙ บรรณานุกรม พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). ธรรมนูญชวี ิต. มหาจุฬาลงกรณราช วทิ ยาลัย, กรุงเทพฯ : ๒๕๔๐.
๑
Search
Read the Text Version
- 1 - 13
Pages: