Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Innovation and Information Technology for Education

Innovation and Information Technology for Education

Published by KWUNTIRA TIRAWONG, 2019-07-29 04:55:23

Description: E – book ฉบับนี้ เป็นผลงานส่วนหนึ่งของกระบวนวิชา 176722 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา นางสาวขวัญทิราทิราวงศ์ รหัสนิสิต 61500642 สาขาบริหารการศึกษา วิทยาลัยการศึกษา หลักสูตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยพะเยา

Keywords: นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา

Search

Read the Text Version

คาํ นํา E – book ฉบบั นี้ เป็ นผลงานสว่ นหนึ่งของกระบวนวชิ า 176723 นวตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศทางการศกึ ษา ภาคเรยี นที่ 1 ปี การศกึ ษา 2562 ชนั้ ปี ที่ 2 ไดส้ รปุ ความรทู ้ ไี่ ดร้ บั จากการเรยี นในรายวชิ าดงั กล่าวเพอื่ ประกอบความรู ้ และเผยแพร่ ใหแ้ กผ่ ูท้ สี่ นใจ ขา้ พเจา้ นางสาวขวญั ทริ า ทริ าวงศ ์ หวงั เป็ นอย่างยงิ่ วา่ E-book ฉบบั นี้ จะเป็ นประโยชนต์ อ่ ผูส้ นใจไม่มากก็นอ้ ย ขอขอบพระคณุ อาจารย ์ ดร.วลิ าวลั ย ์ สมยาโรน ไดใ้ หค้ วามรเู ้ กยี่ วกบั นวตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศทางการศกึ ษา หาก E- book ฉบบั นีม้ ขี อ้ บกพรอ่ ง ผดิ พลาดประการใด ขา้ พเจา้ ตอ้ งอภยั มา ณ ทนี่ ีเ้ ป็ นอย่างสงู ขวญั ทริ า ทริ าวงศ ์

สารบญั หนา้ นวตั กรรม ความหมายของ 1 2 องคป์ ระกอบของนวตั กรรม 2 3 คณุ ลกั ษณะของนวตั กรรม 3 ลาํ ดบั ขนั้ การเกดิ นวตั กรรม 4 กระบวนการยอมรบั นวตั กรรม 5 5 นวตั กรรมทางการศกึ ษา 6 6 ความหมายของนวตั กรรมทางการศกึ ษา 7 นวตั กรรมทางการศกึ ษาทเ่ี ป็ นทน่ี ิยมในปัจจบุ นั 7 8 E – Learning 9 Vitual Classroom 12 Multimedia 13 ประเภทของนวตั กรรมทางการศกึ ษา ความสําคญั ของนวตั กรรมทางการศกึ ษา คณุ คา่ ของนวตั กรรมทางการศกึ ษาตอ่ การเรยี นการสอน เทคโนโลยี ความหมายของเทคโนโลยี ความสาํ คญั ของเทคโนโลยกี ารศกึ ษา 10 นวตั กรรม Vs เทคโนโลยี 11 เทคโนโลยที างการศกึ ษา แนวคดิ ทางเทคโนโลยที างการศกึ ษา แหล่งอา้ งองิ 14

หนา : 1 ความหมายของ นวตั กรรม ( Inovation) คาํ ว่า “นวตั กรรม”เป็ นคาํ ทคี่ อ่ นขา้ งจะใหม่ในวงการศกึ ษาของไทย คาํ นี้ เป็ นศพั ทบ์ ญั ญตั ขิ องคณะกรรมการพจิ ารณาศพั ทว์ ชิ าการศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร มาจากภาษาองั กฤษว่า Innovation มาจากคาํ กรยิ าว่า innovate แปลวา่ ทาํ ใหม่ เปลย่ี นแปลงใหเ้ กดิ สง่ิ ใหม่ ในภาษาไทยเดมิ ใชค้ าํ ว่า “นวกรรม” ตอ่ มาพบวา่ คาํ นีม้ คี วามหมายคลาดเคลอ่ื น จงึ เปลย่ี นมาใชค้ าํ วา่ นวตั กรรม (อา่ นว่า นะ วดั ตะ กาํ ) หมายถงึ การนําสง่ิ ใหม่ๆ เขา้ มาเปลยี่ นแปลง เพม่ิ เตมิ จากวธิ กี ารทท่ี าํ อยูเ่ ดมิ เพอื่ ใหใ้ ชไ้ ดผ้ ลดยี งิ่ ขนึ้ ดงั นั้นไม่วา่ วงการหรอื กจิ การใด ๆ ก็ตาม เมอ่ื มกี ารนําเอาความเปลยี่ นแปลงใหม่ๆ เขา้ มาใชเ้ พอื่ ปรบั ปรงุ งานใหด้ ขี นึ้ กวา่ เดมิ ทง้ั ยงั ชว่ ย ประหยดั เวลาและแรงงานไดด้ ว้ ย

หนา : 2 องคป์ ระกอบของ นวตั กรรม คุณลกั ษณะของนวตั กรรม

หนา : 3 ลาํ ดบั ขนั้ การเกดิ นวตั กรรม กระบวนการยอมรบั นวตั กรรม

หนา : 4 ความหมายของ นวตั กรรมทางการศกึ ษา ( Educational Inovation) “นวตั กรรมทางการศกึ ษา” (Educational Innovation) หมายถงึ การ นําเอาสงิ่ ใหม่ซงึ่ อาจจะอยใู่ นรปู ของความคดิ หรอื การกระทาํ รวมทงั้ สงิ่ ประดษิ ฐ ์ ก็ตามเขา้ มาใชใ้ นระบบการศกึ ษา เพอ่ื มุ่งหวงั ทจ่ี ะเปลยี่ นแปลงสง่ิ ทมี่ อี ยูเ่ ดมิ ให ้ ระบบการจดั การศกึ ษามปี ระสทิ ธภิ าพยง่ิ ขนึ้ ทาํ ใหผ้ ูเ้ รยี นสามารถเกดิ การ เรยี นรไู ้ ดอ้ ยา่ งรวดเรว็ เกดิ แรงจงู ใจในการเรยี น และชว่ ยใหป้ ระหยดั เวลาในการ เรยี น เชน่ การสอนโดยใชค้ อมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอน การใชว้ ดี ทิ ศั นเ์ ชงิ โตต้ อบ (Interactive Video) สอื่ หลายมติ ิ (Hypermedia) และอนิ เตอรเ์น็ต เหล่านี้ เป็ นตน้

หนา : 5 นวตั กรรมทางการศกึ ษาตา่ งๆ ทกี่ ลา่ วถงึ กนั มากในปัจจุบนั 1.E-Learning 2.Vitual Classroom 3.Multimedia 1.E-Learning ความหมาย e-Learning เป็ นคาํ ทใ่ี ชเ้ รยี กเทคโนโลยกี ารศกึ ษาแบบใหม่ ทยี่ งั ไม่มชี อื่ ภาษาไทยทแี่ น่ชดั และมผี ูน้ ิยามความหมายไวห้ ลายประการ ผศ.ดร. ถนอมพรเลาหจรสั แสง ใหค้ าํ นิยาม E-Learning หรอื Electronic Learning ว่า หมายถงึ “การเรยี นผ่านทางสอ่ื อเิ ลคทรอนิกสซ์ งึ่ ใชก้ ารนําเสนอเนือ้ หาทางคอมพวิ เตอรใ์ นรปู ของสอื่ มลั ตมิ เี ดยี ไดแ้ ก่ ขอ้ ความอเิ ลคทรอนิกสภ์ าพน่ิง ภาพกราฟิ ก วดิ โี อ ภาพเคลอ่ื นไหว ภาพ สามมติ ฯิ ลฯ”เชน่ เดยี วกบั คณุ ธดิ าทติ ยจ์ นั คนา ทใ่ี หค้ วาม หมายของ e- learning วา่ หมายถงึ การศกึ ษาทเ่ี รยี นรูผ้ ่านเครอื ขา่ ยอนิ เตอรเ์นตโดยผูเ้ รยี นรู ้ จะเรยี นรดู ้ ว้ ยตวั เอง การเรยี นรจู ้ ะเป็ นไปตามปัจจยั ภายใตท้ ฤษฎแี หง่ การเรยี นรู ้ สองประการคอื เรยี นตามความรคู ้ วามสามารถของผูเ้ รยี นเอง และ การ ตอบสนองในความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล(เวลาทแ่ี ตล่ ะบุคคลใชใ้ นการเรยี นร)ู ้ การเรยี นจะกระทาํ ผ่านสอื่ บนเครอื ขา่ ยอนิ เตอรเ์นตโดยผูส้ อนจะนําเสนอขอ้ มูล ความรใู ้ หผ้ ูเ้ รยี นไดท้ าํ การศกึ ษาผ่านบรกิ าร World Wide Web หรอื เวปไซด ์ โดยอาจใหม้ ปี ฏสิ มั พนั ธ ์ (สนทนา โตต้ อบ ส่งขา่ วสาร) ระหวา่ งกนั จะทมี่ กี าร เรยี นรใู ้ นสามรปู แบบคอื ผูส้ อนกบั ผูเ้ รยี นผูเ้ รยี นกบั ผูเ้ รยี นอกี คนหน่ึง หรอื

หนา : 6 ผูเ้ รยี นหนึ่งคนกบั กลุ่มของผูเ้ รยี นปฏสิ มั พนั ธน์ ีส้ ามารถ กระทาํ ผ่านเครอ่ื งมอื สองลกั ษณะคอื 1) แบบ Real-time ไดแ้ กก่ ารสนทนาในลกั ษณะของการพมิ พ ์ ขอ้ ความแลกเปลยี่ นขา่ วสารกนั หรอื สง่ ในลกั ษณะของเสยี ง จากบรกิ ารของ Chat room 2) แบบ Non real-time ไดแ้ กก่ ารสง่ ขอ้ ความถงึ กนั ผ่านทางบรกิ าร อเิ ลคทรอนิคเมลล ์ WebBoard News-group เป็ นตน้ 2.หอ้ งเรยี นเสมอื นจรงิ (Vitual Classroom) หอ้ งเรยี นเสมอื น เป็ นการจดั สง่ิ แวดลอ้ มในความวา่ งเปลา่ (space) โดยอาศยั ศกั ยภาพของเทคโนโลยคี อมพวิ เตอร ์เพอ่ื ใหเ้ ป็ นการจดั ประสบการณ์ เสมอื นจรงิ แกผ่ ูเ้ รยี น นอกจากนั้นยงั มสี ง่ิ สนับสนุน อน่ื ๆ ทจี่ ะชว่ ยทาํ ใหก้ ารมี ปฏสิ มั พนั ธแ์ บบเผชญิ หนา้ ซงึ่ บางโอกาสอาจจะเป็ นไปไม่ไดห้ รอื เป็ นไปไดย้ าก นั้น สามารถกระทาํ ไดเ้ สมอื นบรรยากาศการพบกนั จรงิ ๆ กระบวนการทง้ั หมด ดงั ทก่ี ลา่ วมานี้ มใิ ชเ่ ป็ นการเดนิ ทางไปทโ่ี รงเรยี นหรอื มหาวทิ ยาลยั แตจ่ ะเป็ น การเขา้ ถงึ ดา้ นการพมิ พ ์ การอา่ นขอ้ ความ หรอื ขอ้ มูลผ่านคอมพวิ เตอรท์ ่ี เชอ่ื มตอ่ เขา้ กบั ระบบคอมพวิ เตอรท์ มี่ ซี อฟแวร ์เพอื่ ควบคมุ การสรา้ งบรรยากาศ แบบหอ้ งเรยี นเสมอื น การมสี ่วนรว่ มจะเป็ นแบบภาวะตา่ งเวลา ซง่ึ ทาํ ใหม้ ผี ูเ้ รยี น ในระบบหอ้ งเรยี นเสมอื นสามารถเชอื่ มตอ่ เขา้ ไปศกึ ษาไดท้ กุ ทที่ ุกเวลา 3.สอื่ หลายมติ ิ สอ่ื หลายมติ นิ ั้นเป็ นสอ่ื ประสมทพ่ี ฒั นามาจากขอ้ ความหลายมติ ิ ซง่ึ แนวความคดิ เกย่ี วกบั ขอ้ ความหลายมติ ิ (hypertext) นีม้ มี านานหลายสบิ ปี แลว้ โดย แวนนิวารบ์ ุช (Vannevar Bush) เป็ นผูท้ มี่ คี วามคดิ รเิ รม่ิ เกยี่ วกบั เรอื่ งนี้ โดยเขากล่าววา่ น่าจะมเี ครอื่ งมอื อะไรสกั อย่างทชี่ ว่ ยในเรอ่ื ง ความจาํ และ

หนา : 7 ความคดิ ของมนุษยท์ จ่ี ะชว่ ยใหเ้ ราสามารถสบื คน้ และเรยี กใชข้ อ้ มูลจาก คอมพวิ เตอรไ์ ดห้ ลาย ๆ ขอ้ มูลในเวลาเดยี วกนั เหมอื นกบั ทค่ี นเราสามารถคดิ เรอื่ งตา่ ง ๆ ไดห้ ลายเรอ่ื งในเวลาเดยี วกนั ประเภทของนวตั กรรมการศกึ ษา ความสําคญั ของนวตั กรรมทางการศกึ ษา นวตั กรรมมคี วามสาํ คญั ต่อการศกึ ษาหลายประการ ทง้ั นีเ้ นื่องจากในโลก ยคุ โลกาภวิ ตั นG์ lobalization มกี ารเปลย่ี นแปลงในทกุ ดา้ นอยา่ งรวดเรว็ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ความกา้ วหนา้ ทง้ั ดา้ นเทคโนโลยแี ละสารสนเทศ การศกึ ษา จงึ จาํ เป็ นตอ้ งมกี ารพฒั นาเปลย่ี นแปลงจากระบบการศกึ ษาทมี่ อี ยเู่ ดมิ เพอ่ื ให ้ ทนั สมยั ตอ่ การเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยี และสภาพสงั คมทเี่ ปลย่ี นแปลงไป อกี ทงั้ เพอ่ื แกไ้ ขปัญหาทางดา้ นการศกึ ษาบางอย่างทเ่ี กดิ ขนึ้ อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ เชน่ เดยี วกนั การเปลย่ี นแปลงทางดา้ นการศกึ ษาจงึ จาํ เป็ นตอ้ งมกี ารศกึ ษา เกย่ี วกบั นวตั กรรมการศกึ ษาทจ่ี ะนํามาใชเ้ พอ่ื แกไ้ ขปัญหาทางดา้ น

หนา : 8 การศกึ ษาในบางเรอื่ ง เชน่ ปัญหาทเี่ กย่ี วเนื่องกบั จาํ นวนผูเ้ รยี นทมี่ ากขนึ้ การ พฒั นาหลกั สูตรใหท้ นั สมยั การผลติ และพฒั นาสอื่ ใหม่ ๆ ขนึ้ มาเพอ่ื ตอบสนอง การเรยี นรขู ้ องมนุษยใ์ หเ้ พมิ่ มากขนึ้ ดว้ ยระยะเวลาทส่ี นั้ ลง การใชน้ วตั กรรมมา ประยกุ ตใ์ นระบบการบรหิ ารจดั การดา้ นการศกึ ษาก็มสี ว่ นชว่ ยใหก้ ารใช ้ ทรพั ยากรการเรยี นรเู ้ ป็ นไปอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ เชน่ เกดิ การเรยี นรดู ้ ว้ ยตนเอง คุณคา่ และประโยชนข์ องนวตั กรรมทางการศกึ ษาตอ่ การ เรยี นการสอน 1. ชว่ ยพฒั นาศกั ยภาพ และความสามารถสงู สดุ ของบุคคล 2. ชว่ ย ขยายขอบเขตความรู ้ และโลกทศั นท์ างวชิ าการไดอ้ ยา่ งมี ประสทิ ธภิ าพ 3. ชว่ ยลดปัญหาเรอ่ื งความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล 4. ชว่ ยเปิ ดโอกาสทางการเรยี นใหก้ บั ผูเ้ รยี นอยา่ งทว่ั ถงึ 5. ชว่ ยใหค้ นสามารถปรบั ตวั ในสงั คมทเี่ ปลยี่ นแปลงอย่างรวดเรว็ ได ้ 6. ชว่ ยใหผ้ ูเ้ รยี นใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สุด ในการศกึ ษาหา ความรู ้ เพม่ิ เตมิ

หนา : 9 ความหมายของเทคโนโลยี \"เทคโนโลย\"ี หมายถงึ การนําความรทู ้ างวทิ ยาศาสตร ์ การ นําแนวคดิ หลกั การ เทคนิค วธิ กี าร กระบวนการ ตลอดจนผลติ ผล ทางวทิ ยาศาสตรม์ าประยุกตใ์ ชใ้ นระบบงานตา่ งๆ เพอื่ ปรบั ปรงุ ระบบงานน้ันๆ ใหด้ ขี นึ้ และมปี ระสทิ ธภิ าพยงิ่ ขนึ้ การนําเทคโนโลยมี าใชเ้ พอื่ กอ่ ใหเ้ กดิ ประโยชนแ์ ละเออื้ อาํ นวยใน ดา้ นตา่ งๆ ดงั นี้ 1. ดา้ นประสทิ ธภิ าพ (Efficiency) 2. ดา้ นประสทิ ธผิ ล (Effectiveness) 3. ประหยดั (Economy) 4. ปลอดภยั (Safety) ความหมายของเทคโนโลยกี ารศกึ ษา \"เทคโนโลยกี ารศกึ ษา\" หมายถงึ การนําหลกั การทาง วทิ ยาศาสตรม์ าประยุกตใ์ ชเ้ พอื่ การออกแบบและส่งเสรมิ ระบบการเรยี น การสอน เป็ นศาสตรท์ วี่ า่ ดว้ ยวธิ กี ารทางการศกึ ษา การพฒั นา และ การประยุกตว์ สั ดุ เครอื่ งมอื วธิ กี าร เพอื่ นํามาใชใ้ นสถานการณก์ าร เรยี นการสอนไดอ้ ย่างเหมาะสม ทงั้ นีเ้ พอื่ ประสทิ ธภิ าพการเรยี นรขู ้ อง คนใหด้ ยี งิ่ ขนึ้ นอกจากนีเ้ ทคโนโลยที างการศกึ ษา เป็ นการขยายแนวคดิ เกยี่ วกบั โสตทศั นศกึ ษา ใหก้ วา้ งขวางยงิ่ ขนึ้ ทงั้ นี้ เนื่องจากโสตทศั น์ ศกึ ษาหมายถงึ การศกึ ษาเกยี่ วกบั การใชต้ าดหู ฟู ัง ดงั นั้นอปุ กรณใ์ น

หนา : 10 สมยั กอ่ นมกั เนน้ การใชป้ ระสาทสมั ผสั ดา้ นการฟังและการดเู ป็ นหลกั จงึ ใชค้ าํ วา่ โสตทศั นอปุ กรณ์ ความสาํ คญั ของเทคโนโลยกี ารศกึ ษา การนําเอาเทคโนโลยกี ารศกึ ษามาใชน้ ั้น สว่ นใหญ่นํามาใช ้ ในการแกป้ ัญหา ในดา้ นการศกึ ษาก็เชน่ เดยี วกนั เพราะปัญหา ทางดา้ นการศกึ ษามากมาย เชน่ - ปัญหาผูส้ อน - ปัญหาผเู้ รยี น - ปัญหาดา้ นเนือ้ หา - ปัญหาดา้ นเวลา - ปัญหาเรอื่ งระยะทาง นอกจากนั้นการนําเทคโนโลยกี ารศกึ ษามาใชใ้ นการ เรยี นการสอนก็เพอื่ เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพทางการเรยี นการสอนและเพมิ่ ประสทิ ธผิ ลทางการศกึ ษาอกี ดว้ ย

หนา : 11 นวตั กรรม Vs เทคโนโลยี

หนา : 12 เทคโนโลยที างการศกึ ษา (Educational Technology)

หนา : 13 แนวคดิ ทางเทคโนโลยที างการศกึ ษา

หนา : 14 แหล่งอา้ งองิ 1. เอกสารประกอบการเรยี นรายวชิ า 176722 นวตั กรรมและ เทคโนโลยสี ารสนเทศทางการศกึ ษา 2. https://sites.google.com/site/technoso8/

Thank you


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook