คานา หนงั สอื อิเลก็ ทรอนิกส์เลม่ นีจ้ ดั ทาขนึ ้ เพ่ือใช้ประกอบการ เรียนการสอนในวิชาภาษาซี ซงึ่ ทาให้นกั เรียนทราบถงึ ความสาคญั และประโยชน์ของเทคโนโลยี และสามารถนา ความรู้ได้รับไปประยกุ ต์ใช้ในชีวติ ประจาวนั ทงั้ ตอ่ ตนเองและ ผ้อู ื่นได้ ทางผ้จู ดั ทาหวงั เป็นอยา่ งย่ิงวา่ ผลงานหนงั สอื อิเลก็ ทรอนิกส์เลม่ นีจ้ ะเป็นประโยชน์ตอ่ ผ้ทู ่ีสนใจศกึ ษาในเร่ือง ของภาษาซีไมม่ ากก็น้อย หากมีข้อผดิ พลาดประการใดทาง ผ้จู ดั ทาต้องขออภยั มา ณ โอกาสนี ้ คณะผ้จู ดั ทา
ภาษาคอมพวิ เตอร์ คอมพวิ เตอร์แบง่ ได้เป็น 3 ระดบั 1 ภาษาเคร่ือง (Machine Language) ประกอบด้วยตวั เลขล้วน ทาให้เครื่องคอมพวิ เตอร์สามารถ ทางานได้ทนั ที 2 ภาษาระดับต่า (Low Level Language) ภาษาองั กฤษเป็นรหสั แทนการทางาน การใช้และการตงั้ ชื่อตวั แปรแทนตาแหน่งที่ใช้เกบ็ จานวนตา่ ง ๆ ซง่ึ เป็นคา่ ของตวั แปรนนั้ ๆ การใช้สญั ลกั ษณ์ช่วยให้การเขียนโปรแกรม 3 ภาษาระดับสูง (High Level Language) เป็นภาษาที่สร้างขนึ ้ เพื่อช่วยอานวยความสะดวกในการเขียน โปรแกรมโปรแกรมท่ีเขียนด้วยภาษาระดบั สงู แตล่ ะภาษาจะต้อง มีโปรแกรมท่ีทาหน้าท่ีแปล ภาษาระดบั สงู ให้เป็นภาษาเครื่อง
ภาษาซีเป็นภาษาที่ถือวา่ เป็นทงั้ ภาษาระดบั สงู และ ระดบั ต่า ถกู พฒั นาโดยเดนนิส ริดชี (Dennis Ritche) แหง่ ห้องทดลองเบลล์ (Bell Laboratories) ท่ีเมอร์รีฮิล มลรัฐนิวเจอร์ซี่ โดย เดนนิสได้ใช้หลกั การของภาษา บีซีพีแอล (BCPL : Basic Combine Programming Language) ซงึ่ พฒั นาขนึ ้ โดยเคน ทอมสนั (Ken Tomson) การออกแบบและพฒั นา ภาษาซีของเดนนิส ริดชี มจี ดุ มงุ่ หมายให้เป็นภาษา สาหรับใช้เขียนโปรแกรมปฏิบตั ิการระบบยนู ิกซ์ และ ได้ตงั้ ช่ือวา่ ซี (C) เพราะเหน็ วา่ ซี (C) เป็นตวั อกั ษร ตอ่ จากบี (B) ของภาษา BCPL
โครงสร้ างของโปรแกรมภาษาซี แบง่ ออกเป็น 3 สว่ น 1. สว่ นหวั ของโปรแกรม 2. สว่ นของฟังก์ชน่ั หลกั 3. สว่ นรายละเอียดของโปรแกรม
ชนิดของตัวแปรในภาษาซี ชนิดของตวั แปร ขนาด (bits) ขอบเขต ขอ้ มลู ท่ีเก็บ char 8 -128 ถึง 127 ขอ้ มลู ชนิดอกั ขระ ใชเ้ น้ือ 0 ถึง 255 ท่ี 1 byte unsigned char 8 -32,768 ถึง 32,767 ขอ้ มูลชนิดอกั ขระ ไมค่ ิด 0 ถึง 65,535 เคร่ืองหมาย int 16 -128 ถึง 127 ขอ้ มูลชนิดจานวนเตม็ ใช้ unsigned int 16 เน้ือท่ี 2 byte 0 ถึง 255 ขอ้ มูลชนิดจานวนเตม็ ไม่ short 8 คิดเครื่องหมาย -2,147,483,648 ถึง unsigned short 8 2,147,483,649 ขอ้ มูลชนิดจานวนเตม็ แบบส้นั ใชเ้ น้ือท่ี 1 long 32 0 ถึง 4,294,967,296 3.4*10e(-38) ถึง byte unsigned long 32 3.4*10e(38) ขอ้ มลู ชนิดจานวนเตม็ แบบส้นั ไมค่ ิด float 32 เครื่องหมาย double 64 ขอ้ มลู ชนิดจานวนเตม็ แบบยาว ใชเ้ น้ือท่ี 4 byte ขอ้ มูลชนิดจานวนเตม็ แบบยาว ไม่คิด เคร่ืองหมาย ขอ้ มูลชนิดเลขทศนิยม ใชเ้ น้ือที่ 4 byte 3.4*10e(-308) ถึง ขอ้ มูลชนิดเลขทศนิยม 3.4*10e(308) ใชเ้ น้ือที่ 8 byte long double 128 3.4*10e(-4032) ขอ้ มูลชนิดเลขทศนิยม ถึง 1.1*10e(4032) ใชเ้ น้ือท่ี 16 byte
ช่ือจะประกอบขนึ ้ จากตวั อกั ษร ตวั เลข และ เครื่องหมายขีดเส้นใต้(underscore) เทา่ นนั้ อกั ขระแรกของชื่อจะต้องเป็นตวั อกั ษร หรือ เคร่ืองหมายขีดเส้นใต้เทา่ นนั้ ตวั พิมพ์ใหญ่ และตวั พิมพ์เลก็ ถือเป็นตวั อกั ษร คนละตวั กนั เช่น Salary และ SALARY เป็นชื่อท่ีแตกตา่ งกนั เป็นต้น ชื่อมาตรฐาน ANSI C จะมีความยาวไม่ จากดั แตค่ อมไพเลอร์ตามมาตรฐาน ANSI C จะต้องสามารถจาแนกช่ือท่ีแตกตา่ งกนั ได้ อยา่ งมาก 31 อกั ขระแรก ชื่อจะต้องไมซ่ า้ กบั คาสงวน
Search
Read the Text Version
- 1 - 17
Pages: