Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการเยี่ยมชมศูนย์พัฒนาองค์ความรู้ความปลอดภัยในการทำงานเฉลิมพระเกียรติฯ

คู่มือการเยี่ยมชมศูนย์พัฒนาองค์ความรู้ความปลอดภัยในการทำงานเฉลิมพระเกียรติฯ

Description: คู่มือการเยี่ยมชมศูนย์พัฒนาองค์ความรู้ความปลอดภัยในการทำงานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสฉลองพระชนมายุ 60 พรรษา

Keywords: คู่มือการเยี่ยมชมศูนย์พัฒนาองค์ความรู้ฯ

Search

Read the Text Version

ศนู ยพ ฒั นาองคค วามรŒูความปลอดภยั ในการทำงาน เฉลิมพระเกยี รติสมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ าร ในโอกาสฉลองพระชนมายุ ๖๐ พรรษา Safety at Work Knowledge Development Center and Exhibition in celebrations on the occasion of Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn’s 60th Birthday Aniversary

สารบญั วัตถปุ ระสงค์ของการจัดต้ัง 1 ระเบยี บการเขา้ เยีย่ มชม 2 ศนู ยพ์ ัฒนาองคค์ วามรคู้ วามปลอดภยั ในการทำ�งานเฉลิมพระเกยี รติฯ ทมี่ าของศนู ย์พฒั นาองค์ความรคู้ วามปลอดภยั ในการทำ�งานเฉลิมพระเกยี รตฯิ 3 แผนผังศูนยพ์ ัฒนาองคค์ วามรู้ความปลอดภยั ในการท�ำ งานเฉลมิ พระเกยี รติฯ 4 สถานเี รียนรู้ท่ี 1 (Station 1) : อปุ กรณค์ ุ้มครองความปลอดภัยสว่ นบุคคล 5 สถานีเรียนรทู้ ี่ 2 (Station 2) : สีและเครื่องหมายเพื่อความปลอดภยั 8 สถานีเรยี นรทู้ ่ี 3 (Station 3) : การปฏิบตั งิ านในทีอ่ ับอากาศ 10 สถานีเรียนรู้ที่ 4 (Station 4) : อันตรายจากสารเคมี 12 สถานเี รยี นรทู้ ่ี 5 (Station 5) : การส่อื สารความเปน็ อนั ตราย 14 สถานเี รียนรู้ที่ 6 (Station 6) : การตัดแยกอุปกรณ ์ 16 สถานเี รยี นรู้ท่ี 7 (Station 7) : อันตรายจากไฟฟา้ 17 สถานีเรยี นรทู้ ่ี 8 (Station 8) : ความปลอดภัยในการทำ�งานกับเครื่องจกั ร 20 สถานีเรยี นรู้ที่ 9 (Station 9) : ความปลอดภยั ในงานเชอื่ ม 22 สถานเี รียนรู้ที่ 10 (Station 10) : การยกย้ายวสั ดุส่งิ ของด้วยแรงคน 24 สถานีเรยี นรู้ท่ี 11 (Station 11) : การท�ำ งานบนท่ีสูง และพน้ื ท ี่ 25 กิจกรรมสร้างความปลอดภัย 27 พน้ื ทีก่ ิจกรรมสรา้ งความปลอดภัย และเกมสเ์ พ่อื ความปลอดภัยในการท�ำ งาน



วตั ถุประสงค์ของการจดั ต้งั ศูนยพ์ ฒั นาองคค์ วามรู้ความปลอดภยั ในการท�ำ งาน เฉลิมพระเกียรติสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ในโอกาสฉลองพระชนมายุ ๖๐ พรรษา The purposes of Safety at Work Knowledge Development Center and Exhibition in celebrations on the occasion of Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn’s 60th Birthday Aniversary 1. เพื่อสร้างความรู้และประสบการณ์ในการตระหนักถึงอันตราย จากการทำ�งาน 2. เพ่อื สรา้ งความรู้ความเขา้ ใจในเร่ืองความปลอดภัยในการท�ำ งาน ทน่ี ำ�เสนอในสถานเี รยี นรคู้ วามปลอดภยั ภัยในการทำ�งาน 3. เพอ่ื สรา้ งตน้ แบบของการสอ่ื สารดา้ นความปลอดภยั ในการท�ำ งาน โดยสอ่ื ทท่ี นั สมยั และสามารถน�ำ ไปถา่ ยทอดหรอื ปฏบิ ตั งิ านไดจ้ รงิ กล่มุ เป้าหมาย • นายจา้ ง ลกู จา้ ง ผูป้ ฏิบตั งิ านในสถานประกอบกิจการ • นกั เรยี น นกั ศกึ ษา ครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศกึ ษา • ภาคีเครือขา่ ยความปลอดภยั หนว่ ยงานภาครัฐและเอกชน • ประชาชนท่ัวไปทสี่ นใจ 1

ระเบียบการเยย่ี มชม ศนู ย์พัฒนาองคค์ วามรู้ความปลอดภัยในการท�ำ งาน เฉลมิ พระเกยี รติสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสฉลองพระชนมายุ ๖๐ พรรษา การเข้าเย่ียมชมศนู ยพ์ ฒั นาองค์ความรคู้ วามปลอดภยั ในการท�ำ งานเฉลมิ พระเกียรติฯ ไมม่ ีการ เก็บค่าใชจ้ ่ายจากผเู้ ข้าเย่ยี มชม ไม่อนญุ าตใหพ้ กพาอาวุธ สง่ิ ของมคี ม วัตถไุ วไฟ วัตถรุ ะเบิด หรือสงิ่ ทกี่ ่อให้เกดิ ประกายไฟ เขา้ มาในสถานทีแ่ หง่ น้ี ทกุ พ้ืนทภ่ี ายในศนู ยพ์ ฒั นาองคค์ วามรู้ความปลอดภัยในการทำ�งานฯ เป็นเขตปลอดบหุ รแ่ี ละสุรา หากผู้เขา้ เย่ยี มชมรสู้ ึกไม่สบายหรอื พบเห็นสงิ่ ผดิ ปกติ กรุณาแจง้ วทิ ยากรหรอื เจา้ หน้าทที่ ันที ห้ามชาร์จอุปกรณ์ไฟฟ้าทุกชนิด ในพื้นที่ศูนย์พัฒนาองค์ความรู้ความปลอดภัยในการทำ�งาน เฉลิมพระเกียรติฯ กรุณาปฏิบัติตามคำ�แนะนำ�ของวิทยากรหรือเจ้าหน้าที่อย่างเคร่งครัด เนื่องจากในบางสถานี การเรียนรู้เครื่องจักรหรือเครื่องมือ และอุปกรณ์ที่ใช้พลังงานหรือสร้างพลังงานจริง ซึ่งมี อันตราย จึงไม่อนุญาตให้สัมผัสหรือจับต้อง ก่อนที่จะได้รับคำ�แนะนำ�หรือชมการสาธิตจาก วิทยากรหรือเจ้าหน้าที่ การนำ�เดก็ อายตุ ่ำ�กว่า 15 ปี เข้าเย่ียมชม ต้องอย่ภู ายใตก้ ารดแู ลของผปู้ กครองอยา่ งใกลช้ ดิ ไม่รับประทานอาหารหรือเครื่องดื่ม ในขณะเยี่ยมชมศูนย์พัฒนาองค์ความรู้ความปลอดภัยใน การทำ�งานเฉลิมพระเกียรติฯ เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการเยี่ยมชมศูนย์พัฒนาองค์ความรู้ความปลอดภัยในการทำ�งาน เฉลิมพระเกียรติฯ กรุณาเคารพสิทธิของผู้เข้าเยี่ยมชมท่านอื่นโดยการไม่พูดคุย แต่ผู้เยี่ยม ชมทุกท่านสามารถสอบถาม หรือแสดงความคิดเห็นต่อวิทยากรได้ตลอดเวลาที่เยี่ยมชมศูนย์ พัฒนาองค์ความรู้ความปลอดภัยในการทำ�งานเฉลิมพระเกียรติฯ ระหวา่ งการเยย่ี มชมศนู ยพ์ ฒั นาองคค์ วามรคู้ วามปลอดภยั ในการท�ำ งานเฉลมิ พระเกยี รตฯิ ในแตล่ ะ สถานเี รยี นรู้ หากมสี ญั ญาณแจ้งเหตฉุ กุ เฉินดงั ขนึ้ หรอื มีเหตกุ ารณ์ใดๆ ซึ่งไม่ปกตเิ กิดข้นึ ขอให้ ผู้เย่ียมชมทกุ ทา่ นอยู่ในความสงบ และปฏบิ ตั ิตามค�ำ แนะนำ�ของวทิ ยากร หรอื เจ้าหนา้ ที่โดยทนั ที เพราะสถานทีแ่ ห่งนี้ถกู ควบคุมและฝกึ ซ้อมอยา่ งสมำ�่ เสมอ เพือ่ รองรับสถานการณฉ์ ุกเฉนิ ในทุก รปู แบบ เพอื่ การควบคุมและอพยพทกุ ทา่ นออกจากอาคารอยา่ งปลอดภยั ได้ภายในเวลา 5 นาที เวลาเปิดบรกิ าร (Service Time) วันจันทร์ – วันศุกร์ 09.00 – 16.00 น. 2

ทีม่ าของ ศูนยพ์ ฒั นาองค์ความรูค้ วามปลอดภยั ในการท�ำ งานฯ ศูนยพ์ ฒั นาองค์ความร้คู วามปลอดภยั ในการท�ำ งานฯ เป็นศนู ย์การเรียนรทู้ ี่เนน้ การใหค้ วามรู้ ในรปู แบบเสมอื นจรงิ จากการดู การฟงั การสมั ผสั และการทดลองหรอื จ�ำ ลองจากของจรงิ เพอ่ื เสรมิ ทกั ษะในการเรยี นรู้ การรบั รู้ และน�ำ ไปใช้ในการท�ำ งานไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ โดยเนน้ การรบั รถู้ งึ อนั ตราย ท่ีจะเกดิ ข้ึน และนำ�ไปสู่การป้องกนั และการทำ�งานด้วยความปลอดภัย ประกอบดว้ ย สถานีเรยี นรู้ 11 สถานี และพ้ืนที่กิจกรรมสร้างความปลอดภัย และเกมสเ์ พ่ือ ความปลอดภยั ในการทำ�งาน ดังน้ี สถานีเรยี นรทู้ ี่ 1 (Station 1) : อุปกรณ์คมุ้ ครองความปลอดภยั ส่วนบุคคล สถานเี รียนรู้ที่ 2 (Station 2) : สแี ละเคร่ืองหมายเพื่อความปลอดภยั สถานเี รยี นรทู้ ี่ 3 (Station 3) : การปฏิบัติงานในที่อบั อากาศ สถานเี รยี นรู้ที่ 4 (Station 4) : อันตรายจากสารเคมี สถานเี รยี นรู้ที่ 5 (Station 5) : การสือ่ สารความเปน็ อันตราย สถานีเรียนรูท้ ่ี 6 (Station 6) : การตดั แยกอุปกรณ์ สถานีเรยี นรทู้ ่ี 7 (Station 7) : อนั ตรายจากไฟฟา้ สถานีเรยี นรู้ท่ี 8 (Station 8) : ความปลอดภัยในการทำ�งานกับเครื่องจักร สถานเี รียนรูท้ ี่ 9 (Station 9) : ความปลอดภยั ในงานเชอื่ ม สถานเี รยี นรู้ที่ 10 (Station 10) : การยกย้ายวัสดุสิง่ ของด้วยแรงคน สถานเี รียนรูท้ ี่ 11 (Station 11) : การทำ�งานบนท่ีสูง และพน้ื ทก่ี จิ กรรมสรา้ งความปลอดภยั และเกมสเ์ พอ่ื ความปลอดภยั ในการท�ำ งาน ในแตล่ ะสถานเี รยี นรมู้ เี นอ้ื หาส�ำ หรบั ผทู้ เ่ี รม่ิ เขา้ ท�ำ งานในโรงงานอตุ สาหกรรม และระบบการท�ำ งาน เพื่อให้เกิดความปลอดภยั ในการท�ำ งานเบือ้ งต้น ซ่ึงในสภาพการท�ำ งานจรงิ อาจมีสภาพทแ่ี ตกต่าง ออกไปแตย่ งั คงน�ำ หลกั การดา้ นความปลอดภยั ในการท�ำ งานไปประยกุ ต์ใช้ได้ และเปน็ พน้ื ฐานในการพฒั นา งานด้านความปลอดภัยและอาชวี อนามัยตอ่ ไป 3

แผนผงั ศูนย์พัฒนาองความรคู้ วามปลอดภัยในการทำ�งานฯ ศนู ยพฒั นาองความรูŒความปลอดภยั ในการทำงาน เฉลมิ พระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ าร ในโอกาสฉลองพระชนมายุ 60 พรรษา ณ อาคารศูนย Smart Job Center ชน้ั 3 ภายในบรเวณกระทรวงแรงงาน เขตดนิ แดง กรุงเทพมหานคร 4Station 5Station 6Station 7Station 2Station 3Station ประชา ัสมพันธ 1Station Hall of Frame Multimedia Room 11Station พื้นที่กิจกรรมสราŒ ง 8Station ความปลอดภยั ฯ 9Station 10Station 4

Station 1อุปกรณค์ ุ้มครองความปลอดภัยส่วนบคุ คล Personal Protective Equipment อปุ กรณ์ค้มุ ครองความปลอดภยั สว่ นบคุ คล (Personal Protective Equipment) หมายถึง สิ่งใดสิ่งหนึ่งที่สวมใส่ลงบนส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย หรือหลายส่วนรวมกัน โดยมี วตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื ปอ้ งกนั อนั ตรายใหแ้ กอ่ วยั วะนน้ั ๆ ไมใ่ หไ้ ดร้ บั อนั ตรายทอ่ี าจจะเกดิ ขน้ึ ในระหวา่ งการปฏบิ ตั งิ าน ส�ำ หรบั หลกั การทว่ั ไปในการควบคมุ และปอ้ งกนั อนั ตรายจากการท�ำ งาน มี 3 วธิ หี ลกั คอื 1) การควบคมุ ทต่ี น้ ตอหรอื แหลง่ ก�ำ เนดิ (Source) 2) การควบคมุ ทท่ี างผา่ น (Path) และ 3) การควบคมุ ทต่ี วั บคุ คล (Receiver) ซึง่ ในกรณีที่ไม่สามารถควบคุมท่แี หล่งอนั ตรายหรอื สภาพแวดลอ้ มในการทำ�งานทเี่ ป็นอนั ตรายได้ จำ�เปน็ ทตี่ อ้ ง ควบคมุ ทต่ี วั บคุ คล โดยการใชอ้ ปุ กรณค์ มุ้ ครองความปลอดภยั สว่ นบคุ คลทเ่ี ปน็ ทางเลอื กสดุ ทา้ ย ดงั นน้ั จงึ ควรเลอื ก และสอนใหผ้ ปู้ ฏบิ ัตงิ านใชอ้ ุปกรณ์ค้มุ ครองความปลอดภยั สว่ นบุคคลใหม้ ปี ระสิทธภิ าพมากทีส่ ดุ อุปกรณป์ ้องกันศีรษะ (Head Protection Devices) ใช้สำ�หรับป้องกันศีรษะจากการถูกกระแทก ชน หรือวัตถุตกจากที่สูงหล่นมากระทบศีรษะ ซึ่ง ก็คือ หมวกนิรภัย เป็นอุปกรณ์ป้องกันศีรษะที่มีลักษณะแข็งแรง และทำ�จากวัสดุที่ได้มาตรฐานสากล โดยมาตรฐานหมวกนริ ภยั ส�ำ หรับงานอตุ สาหกรรมของประเทศไทย คือ มาตรฐานผลิตภณั ฑอ์ ตุ สาหกรรม (มอก.368-2554) ซ่งึ สามารถป้องกนั ศรี ษะจากการตกกระแทกของเครื่องมือเล็กๆ ไม้ชิน้ เลก็ ๆ สลกั เกลยี ว แปน้ เกลยี ว หมุดย้�ำ ประกายไฟ รวมทงั้ ป้องกันอันตรายจากการช็อกไฟฟา้ นอกจากนี้ ยงั มหี มวกนริ ภยั ประเภทอ่นื ตามลักษณะความเสย่ี งของงานและเป็นไปตามมาตรฐาน สากล เชน่ มาตรฐาน American National Standards Institute, ANSI Z89.2003 ได้แก่ หมวกนิรภยั สำ�หรบั งานอตุ สาหกรรมท่กี ันกระแทกจากดา้ นบน กันกระแทกโดยรอบ กนั ไฟฟ้า เป็นต้น หรือมาตรฐาน National Fire Protection Association, NFPA ไดแ้ ก่ หมวกนริ ภยั ส�ำ หรบั ปอ้ งกันอคั คีภยั อุปกรณ์ป้องกันหู (Ear Protection Devices) การท�ำ งานในสถานท่ีทมี่ เี สียงดังมากเกินกว่าท่หี ูของคนเราจะรบั ฟงั เสยี งได้ จะท�ำ ใหเ้ กิดอนั ตราย ต่อหูและระบบการได้ยิน ซึ่งส่งผลให้เกิดการสูญเสียสมรรถภาพการได้ยิน ดังนั้นวิธีการป้องกันที่ดีที่สุด ทีจ่ ะป้องกนั การสูญเสียสมรรถภาพการไดย้ ินคอื การลดเสยี งจากตน้ กำ�เนดิ ของเสยี งตามวธิ ที างวิศวกรรม แตก่ ข็ น้ึ อยกู่ บั เงอ่ื นไขการท�ำ งานของแตล่ ะทว่ี า่ จะสามารถท�ำ ไดห้ รอื ไม่ นน่ั หมายถงึ การทจ่ี ะท�ำ การลดเสยี ง จากตน้ ก�ำ เนดิ ของเสยี งนน้ั เปน็ ไปไดน้ อ้ ยมากในแตล่ ะสภาพการท�ำ งาน ผปู้ ฏบิ ตั งิ านจะตอ้ งมอี ปุ กรณป์ อ้ งกนั หู เพอื่ ป้องกันเสียงทด่ี งั มากเกนิ ไปไมใ่ หเ้ ป็นอันตรายต่อการไดย้ ิน ประกอบด้วย 1. ปลกั๊ ลดเสยี ง (Earplugs) เป็นอุปกรณ์ใชใ้ ส่เขา้ ไปในช่องหู ซงึ่ มที ้งั แบบคงรูป (ยางพลาสติกอ่อนซิลิโคน) และไม่คงรูป (แบบโฟม) แบบใช้แล้วทิ้งและแบบที่ น�ำ กลบั มาใชใ้ หมไ่ ด้ หรอื ปลก๊ั ลดเสยี งแบบสอด Semi-insert ear plugs ประกอบดว้ ย ปล๊กั ลดเสียง 2 อนั ตดิ อยทู่ ปี่ ลายของท่คี าดศรี ษะแบบแข็ง 2. ทค่ี รอบหลู ดเสยี ง (Earmuffs) เปน็ อปุ กรณท์ ผ่ี ลติ จากวสั ดทุ อ่ี อ่ นนมุ่ มคี ณุ สมบตั ลิ ดเสยี ง และมลี กั ษณะคลา้ ยถว้ ยครอบหู ยดึ อยกู่ บั ทค่ี าดศรี ษะ และแบบใสค่ วบคกู่ บั อปุ กรณห์ มวกนริ ภยั โดยตวั ครอบหมู กี ารออกแบบตามลกั ษณะการใชง้ าน ซง่ึ ประกอบดว้ ยวสั ดปุ อ้ งกนั เสยี ง (acoustic) อยภู่ ายในทค่ี รอบหู สว่ นตวั รองรอบนอกท�ำ จากวสั ดตุ า่ งๆ เชน่ โฟม พลาสตกิ ยาง หรอื บรรจขุ องเหลวไว้ เพอ่ื ชว่ ยในการดดู ซบั เสยี ง ท�ำ ใหพ้ ลงั งานของเสยี งลดลง 5

อปุ กรณค์ ุ้มครองความปลอดภัยสว่ นบุคคล Station 1 Personal Protective Equipment อปุ กรณ์ปอ้ งกนั ตาและใบหนา้ (Eye and Face Protection Devices) เป็นอปุ กรณ์สำ�หรับช่วยป้องกัน เพ่ือลดอนั ตรายอนั อาจจะเกดิ ขนึ้ ในขณะท�ำ งานที่อาจมีเศษวัสดุ สารเคมี หรอื รังสี ท่จี ะทำ�ให้ใบหนา้ และดวงตาเปน็ อันตรายได้ แบง่ ออกเป็น แวน่ ตานริ ภยั (Protective Spectacles or Glasses) มรี ปู รา่ งลกั ษณะคลา้ ยกบั แวน่ ตาโดยทว่ั ไป แตจ่ ะแตกตา่ งกนั ในสว่ นของ ความทนทานแขง็ แรง และวสั ดทุ ใ่ี ชท้ �ำ แวน่ กบั เลนสท์ ใ่ี ชต้ ามความจ�ำ เปน็ ของลกั ษณะงานในแตล่ ะชนดิ เชน่ ปอ้ งกนั แสงจา้ ปอ้ งกนั ความรอ้ น ป้องกันสารเคมี รังสี กันลมหรือต้านแรงกระแทก ซึ่งมีทั้งชนิดที่มี กระบงั ด้านข้างชว่ ยปอ้ งกนั เศษส่ิงของวัสดุกระเดน็ เข้าทางด้านขา้ ง กบั ชนิดที่ไม่มีกระบังด้านข้างใช้สำ�หรับป้องกันอันตรายเข้าทางด้านหน้า เท่านน้ั กระบงั ปอ้ งกนั ใบหนา้ (Face Shield) เชน่ หน้ากากกรองแสง หมวกครอบกนั กรด หมวกครอบแบบจ่ายอากาศ และอุปกรณ์ป้องกันแบบใชม้ อื ถอื มีลกั ษณะโค้งครอบใบหนา้ แผงวสั ดุมที ง้ั ประเภททบึ แสงและมีช่องใส่แผน่ กรองแสงส�ำ หรับส�ำ หรบั การมองเห็น โดย แผงวัสดุโปร่งแสงจะยึดติดกบั หมวกครอบศรี ษะ หรอื สายรัด ซึง่ ตอ้ งทำ�มา จากวสั ดชุ นดิ ทนไฟเพอื่ ป้องกันแสงท่เี ป็นอันตราย อปุ กรณ์ปอ้ งกันอนั ตรายของระบบหายใจ (Respiratory Protection Devices) อปุ กรณป์ อ้ งกนั อนั ตรายของระบบหายใจ ใชส้ �ำ หรบั ปอ้ งกนั อนั ตรายทเ่ี กดิ ขน้ึ กบั ระบบหายใจ ของผทู้ ท่ี �ำ งานในลกั ษณะการท�ำ งานทม่ี มี ลพษิ หรอื มอี ปุ สรรคต์ อ่ การหายใจ ซง่ึ ผเู้ กย่ี วขอ้ ง หรอื ผู้ท่จี ะตดั สินใจใช้อปุ กรณ์ดงั กล่าว จะต้องมีความรู้ มขี อ้ มูลของสภาพแวดลอ้ มเพือ่ ที่จะเลอื กใชอ้ ุปกรณ์ได้ถกู ต้อง หากการตดั สนิ ใจเลอื กใช้เกดิ การผิดพลาดหรอื ไม่มีข้อมูล สำ�คญั มากอ่ น อาจท�ำ ใหเ้ กดิ อันตรายถงึ ชวี ิตได้ ดงั นัน้ จงึ ควรจะตอ้ งมกี ารพจิ ารณา ขอ้ มลู ดงั ตอ่ ไปนีเ้ พื่อประกอบการตัดสินใจ 1. ลักษณะของอนั ตรายทีเ่ กิดขึ้นวา่ เป็นมลพษิ ชนิดใดอยู่ในรปู แบบใด 2. ความรนุ แรงของอนั ตรายนน้ั จะตอ้ งตดั สนิ ใจวา่ ตอ้ งปอ้ งกนั ชนดิ ไหน กอ่ น-หลงั เพื่อความปลอดภัยสูงสุดของชีวิต 3. ความเข้มขน้ ของสารอันตรายเพื่อเป็นขอ้ มูลในการเลอื กใช้อปุ กรณ ์ ป้องกันทเี่ พยี งพอกบั ความเขม้ ขน้ ของสารอนั ตราย 4. รรู้ ะยะเวลาของการปอ้ งกัน เพอื่ ใหส้ ามารถเลอื กใชอ้ ุปกรณ์ไดอ้ ยา่ ง ถกู ต้องและมีระยะเวลาเพียงพอกบั การปอ้ งกัน 5. เลือกอุปกรณ์ที่เหมาะสมกับสถานที่และกิจกรรม เพื่อมิให้อุปกรณ์ เป็นภาระหรืออุปสรรคต่อการทำ�งาน 6

Station 1 อปุ กรณ์คมุ้ ครองความปลอดภยั สว่ นบุคคล Personal Protective Equipment อุปกรณป์ อ้ งกันล�ำ ตัว (Body Protection Devices) เป็นอุปกรณ์ที่สวมใส่เพื่อป้องกันอันตราย จากการกระเด็นหกรดของสารเคมี การทำ�งานในที่ มีความร้อนสูง หรือมีสะเก็ดลูกไฟ เป็นต้น ตัวอย่างอุปกรณ์ป้องกันลำ�ตัว เช่น - ชดุ ปอ้ งกนั สารเคมี ท�ำ จากวสั ดทุ ท่ี นตอ่ สารเคมี เชน่ โพลเี มอรใ์ ยสงั เคราะห์ Polyester และ เคลอื บดว้ ย polymer ชดุ ปอ้ งกนั สารเคมมี หี ลายแบบ เชน่ ผา้ กนั เปอื้ น ปอ้ งกนั เฉพาะล�ำ ตวั และขา เสอ้ื คลุมปอ้ งกันล�ำ ตวั แขน และขา เปน็ ตน้ - ชดุ ปอ้ งกนั ความรอ้ น ท�ำ จากวสั ดทุ ส่ี ามารถทนความรอ้ น โดยใชง้ านทม่ี อี ณุ หภมู สิ งู ถงึ 2000๐F เช่น ผ้าที่ทอจากเส้นใยแข็ง (glass fiber fabric) เคลือบผิวด้านนอกด้วยอลูมิเนียม เพื่อ สะทอ้ นรงั สคี วามรอ้ น หรอื ท�ำ จากหนงั เพอ่ื ใชป้ อ้ งกนั ความรอ้ น และการกระเดน็ ของโลหะทร่ี อ้ น - ชุดป้องกนั การติดไฟ จากประกายไฟ เปลวไฟ ลกู ไฟ วสั ดจุ ากฝา้ ยชบุ ดว้ ยสารปอ้ งกนั การตดิ ไฟ - เสอ้ื คลมุ ตะกวั่ เปน็ เสือ้ คลุมทีม่ ชี ัน้ ตะกั่วฉาบผิว วัสดุท�ำ จากผ้าใยแกว้ ฉาบตะกัว่ หรือพลาสติก ฉากตะกั่ว อปุ กรณป์ อ้ งกันมือ นิ้วมอื และแขน (Hand and Arm Protection Devices) ในการปฏบิ ัตงิ านที่ตอ้ งใช้สว่ นของมอื นิ้วมอื และแขน ซึ่งอาจเส่ยี งตอ่ อนั ตรายจากการถกู วัตถุมีคมบาด ตดั การขดู ขดี ท�ำ ใหผ้ วิ หนงั ถลอก การจบั ของรอ้ น หรอื การใชม้ อื สมั ผสั วสั ดอุ ปุ กรณท์ อ่ี าจกอ่ ใหเ้ กดิ อนั ตราย อื่นๆ นัน้ จำ�เป็นตอ้ งมีอุปกรณป์ อ้ งกนั โดยใชถ้ งุ มอื หรือเคร่อื งสวมเฉพาะน้ิวชนิดตา่ งๆ ตามลกั ษณะของ งานประเภทต่างๆ ถงุ มือกันบาดกันเฉือน Cut Resistant ถุงมอื หนงั ส�ำ หรับงานท่ัวไป ใสป่ อ้ งกนั ของมีคมบาด เช่น งานตัด งานกระจก งานโลหะ ของมคี ม Leather Gloves for general work ใสป่ อ้ งกันสำ�หรับงานทัว่ ไป ถงุ มอื ปอ้ งกนั ความร้อน เชน่ หยบิ จับวัสดุอุปกรณ์ จับ ราวบันได Heat Resistant Gloves ถงุ มอื หนังสำ�หรับงานเช่อื ม ใส่ป้องกนั ความรอ้ น เชน่ งานที่เกย่ี วกับท่อไอน�้ำ จับพ้ืนผิววสั ดุรอ้ น Welding ใสป่ ้องกันสะเก็ดประกายไฟส�ำ หรบั งานเชือ่ มโลหะ ถุงมอื ป้องกันกระแสไฟฟา้ Electrical Resistant Gloves ถุงมือปอ้ งกนั สารเคมี ใส่ปอ้ งกนั กระแสไฟฟา้ เช่น งานตัดแยกระบบ ไฟฟา้ แรงดนั สงู Chemical ใสป่ ้องกนั สารเคมี ถุงมอื กันลนื่ ประเภทสารประกอบไฮโดรคารบ์ อน Anti - Slip Gloves ถงุ มอื กนั ความเยน็ ใสป่ ้องกันการลืน่ ช่วยจับยึดอปุ กรณอ์ ย่างมนั่ คง Cold Resistant Gloves ใส่ปอ้ งกันความเยน็ งานทสี่ มั ผัสกบั ช้ินงานทม่ี ีอุณหภูมิต่ำ�ๆ 7

สแี ละเคร่อื งหมายเพอื่ ความปลอดภยั Station 2 Safety Sign สเี พือ่ ความปลอดภัย คือ สีทก่ี ำ�หนดในการบอกความหมายเพ่อื ความปลอดภัยตาม มอก. 635 -2554 ก�ำ หนดให้ใชส้ เี พอ่ื ความปลอดภัย รปู ทรง ความหมาย สีเพือ่ ความ สีตัด สขี อง ตัวอยา่ งของการใช้ เรขาคณติ ปลอดภัย สญั ลักษณภ์ าพ ห้าม สแี ดง สีขาว สีด�ำ - หา้ มสูบบหุ รี่ - หา้ มผา่ น (red) (white) (black) - ห้ามใช้ดมื่ บังคับให้ สฟี า้ สขี าว สขี าว - ตอ้ งสวมอปุ กรณป์ กปอ้ งตา ปฏิบัติ (blue) (white) - ตอ้ งสวมอุปกรณค์ มุ้ ครอง (white) ความปลอดภัยส่วนบคุ คล - ตอ้ งเปดิ สวิตช์ เติอื น สเี หลอื ง สีด�ำ สดี ำ� - ระวงั พน้ื ผวิ รอ้ น (yellow) - ระวังอนั ตรายจากกรด - ระวังอนั ตรายจากไฟฟา้ ปสลภอาดวภะัย สเี ขยี ว สีขาว สขี าว - ปฐมพยาบาล - ทางหนไี ฟ (green) - จดุ รวมพล อปุ กรณ์ สีแดง สขี าว สขี าว - จดุ แจง้ เหตุ เกีย่ วกบั - อุปกรณผ์ จญเพลิง อคั คีภัย (red) - อปุ กรณ์ดับเพลิงยกห้ิว 8

Station 2สีและเคร่ืองหมายเพ่อื ความปลอดภัย Safety Sign รูปแบบของเครอื่ งหมายเพื่อความปลอดภัย หมายถึง เครอื่ งหมายทีใ่ ชส้ อื่ ความหมายเกี่ยวกบั ความปลอดภยั โดยมสี ี รูปแบบ และสญั ลกั ษณ์ หรอื ขอ้ ความ แสดงความหมายโดยเฉพาะ เพ่ือความปลอดภัย 1. รูปแบบของเครอื่ งหมายเพอื่ ความปลอดภยั และสที ใี่ ช้ แบ่งเปน็ 5 ประเภท ตามจดุ ประสงค์ของการ แสดงความหมาย ความหมาย: อปุ กรณเ์ กย่ี วกับอคั คภี ัย 2. ใหแ้ สดงสญั ลกั ษณ์ภาพไวต้ รงกลางของเครอื่ งหมายโดยไม่ทบั แถบขวางสำ�หรบั เครอ่ื งหมายห้าม 3. ในกรณีที่ไม่มีสัญลักษณ์ภาพที่เหมาะสมสำ�หรับสื่อความหมายตามที่ต้องการ ให้ใช้เครื่องหมายทั่วไป สำ�หรับเครื่องหมายเพื่อความปลอดภัยแต่ละประเภท รว่ มกับเคร่ืองหมายเสรมิ Safety Sign ตวั อยา่ งสญั ลกั ษณ์เพ่ือควตาวัมอปยล‹าองสดญั ภลัยกั ษณเ พือ่ ความปลอดภัย เครอ่ งหมายหาŒ ม Danger/Stop Sign เคร่องหมายบังคบั Control Sign เคร่องหมายเตอื น Caution Sign เครอ่ งหมายแสดงภาวะปลอดภยั Safety Condition Sign เครอ่ งหมายอปุ กรณ เกี่ยวกบั อัคคีภัย Fire Equipment Signs 9

การปฏบิ ัตงิ านในท่อี ับอากาศ Station 3 Confined Space Entry รวมถึงสถานท่ที ่มี ลี กั ษณะดังตอ่ ไปนี้ ความหมายของทอี่ บั อากาศ ท่ีอบั อากาศ หมายถึง ท่ซี ึ่งมที างเข้าออกจำ�กัดและมกี ารระบายอากาศไม่เพยี งพอที่จะท�ำ ใหอ้ ากาศภายในอยู่ในสภาพที่ ถูกสขุ ลกั ษณะและปลอดภัย เชน่ อโุ มงค์ ถ้ำ� บอ่ หลมุ ห้องใต้ดนิ ห้องนริ ภยั ถังนำ้�มัน ถังหมกั ถงั ไซโล ท่อ เตา ภาชนะ หรือส่ิงอน่ื ที่มลี ักษณะคล้ายกัน นอกจากนี้ยังหมายความรวมถงึ สถานทที่ ีม่ ีลักษณะดงั ตอ่ ไปน้ี 10

Station 3 การปฏบิ ัติงานในท่อี ับอากาศ Confined Space Entry หลักท่ัวไปส�ำ หรบั การเขา้ ปฏบิ ตั งิ านในทีอ่ ับอากาศ อปุ กรณ์ที่ใช้เม่อื เขา้ ปฏิบัติงาน ลดความเสี่ยง ในท่อี บั อากาศ กอ่ นเขา้ ปฏิบตั ิงานในท่อี ับอากาศ อปุ กรณร ะบายอากาศ กรณที มี่ ีการปรับสภาพอากาศไดเŒ หมาะสม 1) เคร่องตรวจติดตาม กาซ ออกซเจน และกา ซท่เี ปšนอันตรายอนื่ ที่เก่ยี วขอŒ ง 2) ถงุ มือ 3) หมวกนิรภยั 4) รองเทŒานิรภัย หากแสงสว‹างไม‹เพียงพอ ใชŒอปุ กรณใหŒแสงสว‹างที่เหมาะสม หากไม‹สามารถปรบั สภาพใหŒเหมาะสมกบั การ ปฏบิ ตั ิงานอยา‹ งปลอดภัย ใหŒใชŒอปุ กรณ 1) ชุดกนั สารเคมี 2) หนŒากากกนั สารเคมี แบบใสกŒ รอง 3) อุปกรณช ว‹ ยหายใจ เชน‹ Air Supply หรอ Self-Contained Breathing Apparatus (SCBA) 11

อนั ตรายจากสารเคมี Station 4 Chemical Hazard ความเปน็ พิษจากสารเคมี สารเคมีได้เข้ามามีความสำ�คัญต่อวงการอุตสาหกรรม และในชีวิตประจำ�วันของคนโดยทั่วไป โดยมี การใช้กนั อย่างแพรห่ ลายและในปริมาณที่สงู มาก หากผู้ใช้ไมม่ คี วามร้ถู ึงพิษภยั ของสารเคมี หรือใชก้ ัน อยา่ งไม่ระมดั ระวงั สารเคมเี หล่านนั้ จะเขา้ สรู่ ่างกายผู้ใช้และผูท้ ่ีอยู่รอบข้าง ซงึ่ สามารถทำ�อนั ตรายตอ่ สุขภาพไดร้ นุ แรงจนถึงขน้ั เสียชวี ติ ได้ อาการเม่อื ได้รับสารเคมี สารเคมสี ามารถเขา้ สูร่ ่างกายได้ 3 ทางคือ ทางปาก โดยการดื่มกินเข้าไปจากการปนเปื้อนมากับอาหารและน้ำ�ดื่ม การใช้มือที่เปื้อนสารเคมี หยิบจับอาหารเข้าปาก หรือการกินเข้าไปโดยตรง เช่น จากความตั้งใจ (การฆ่าตัวตาย) ความเข้าใจผิดหรือความประมาท วธิ กี ารปฎบิ ตั ติ วั เมอ่ื ไดร้ บั สารเคมที างปาก 12

Station 4 อนั ตรายจากสารเคมี Chemical Hazard ทางผวิ หนงั สารเคมสี ามารถดดู ซมึ เขา้ ทางผวิ หนงั และจะดดู ซมึ ไดม้ ากยง่ิ ขน้ึ หากมบี าดแผลทผ่ี วิ หนงั หรอื เปน็ โรคผวิ หนงั อยกู่ อ่ นแลว้ นอกจากนี้แล้วสารเคมยี งั ท�ำ อันตรายโดยตรงต่อผวิ หนังจากการสมั ผัสสารเคมโี ดยตรง หรือ จากการเกิดอบุ ตั ิเหตุ อาการท่เี กิดขน้ึ เชน่ ผ่ืน รอย ไหม้ บวมแดง ปวดแสบปวดร้อน บริเวณท่สี มั ผัส สารเคมี หากสารเคมเี ข้าตาก็จะเกิดอาการอยา่ งรนุ แรง วธิ กี ารปฎบิ ตั ติ วั เมอ่ื ไดร้ บั วธิ ปี ฎบิ ตั ติ วั เมอ่ื ไดร้ บั สารเคมที างตา สารเคมที างผวิ หนงั ทางการหายใจ วธิ กี ารปฎบิ ตั ติ วั เมอ่ื ไดร้ บั สารเคมจี ากการสดู ดม เกิดจากการสูดดม หรือหายใจเอาสารเคมี ในรปู ของไอฝ่นุ ละออง ฟมู แก๊ส เข้าไปโดยตรง หรือการสูบบุหรี่ในที่ท�ำ งาน ท่ีมีสารเคมี อาการที่เกิดจะเร็วมาก เพราะเขา้ สรู่ า่ งกายได้ อยา่ งรวดเร็ว และปรมิ าณท่สี งู มากกวา่ ทางอน่ื อาการ เชน่ แนน่ หนา้ อก เวียนศรี ษะหนา้ มดื วธิ กี ารปฎิบตั ิตัวเม่ือได้รับสารเคมีทางผวิ หนงั นอกจากอนั ตรายจากพษิ ของสารเคมแี ลว้ สารเคมหี ลายประเภทสามารถท�ำ ใหเ้ กดิ อนั ตรายในรปู แบบอน่ื ๆ ไดแ้ ก่ อนั ตรายจากความไวไฟ อนั ตรายจากความไวตอ่ การเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมี และอนั ตรายจากการระเบดิ ขอ้ ปฏบิ ตั ใิ นการท�ำ งานกบั สารเคมอี นั ตราย 1. ตอ้ งเขา้ รบั การฝกึ อบรมวธิ กี ารปฏบิ ตั งิ านกบั สารเคมอี ยา่ งปลอดภยั ตามทห่ี นว่ ยงานก�ำ หนด 2. ต้องรู้จกั สารเคมีท่ีตนใช้ และศกึ ษา Safety Data Sheet (SDS) ของสารเคมีน้นั ๆ เพือ่ การป้องกนั ตนเอง และระวงั อนั ตรายได้อย่างถูกต้อง 3. ตอ้ งปฏบิ ตั งิ านตามวธิ ปี ฏบิ ตั งิ านทป่ี ลอดภยั และขอ้ ก�ำ หนดทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ความปลอดภยั 4. มกี ารเกบ็ รกั ษาสารเคมที ป่ี ลอดภยั 5. อา่ นฉลากบนภาชนะบรรจสุ ารเคมี ภาชนะใสส่ ารเคมที กุ ชนดิ ตอ้ งตดิ ฉลากทม่ี ขี อ้ มลู ผลติ ภณั ฑใ์ หช้ ดั เจน 13

การสอ่ื สารความเป็นอันตราย Station 5 Hazard Communication ระบบ GHS คืออะไร GHS ย่อมาจาก Globally Harmonized System of Classification and Labelling of Chemicals หรือ การจำ�แนกประเภท และการติดฉลากสารเคมที ่ีเปน็ ระบบเดยี วกนั ทวั่ โลก เป็นระบบการจดั การ สารเคมแี บบใหมท่ ่ชี ว่ ยใหก้ ฎระเบียบท่ีใช้ในการจ�ำ แนกประเภท และการติดฉลากสารเคมี รวมถึงเน้ือหา ของเอกสารความปลอดภัยของแตล่ ะประเทศเป็นมาตรฐานเดียวกนั ท่ัวโลก GHS มเี ร่ืองหลกั ๆ ตามทป่ี รากฏอยู่ในชื่อชัดเจนอยู่แล้ว 2 เรือ่ งคือ 1. การจำแนกประเภทสารเคมี (Classification) 2. การส่อื สารความเปนš อนั ตรายของสารเคมี (Hazard Communication) ดวŒ ยการติดฉลาก (Labelling) ซง่ พิจารณาความเปนš อนั ตราย 3 กลุ‹มดŒวยกนั คอื อนั ตราย ทางกายภาพ อันตรายตอ‹ สุขภาพ และอนั ตรายต‹อสิ่งแวดลŒอม และการจดั ทำเอกสารความปลอดภยั (Safety Data Sheet - SDS) โดย GHS กำหนดเกณฑส ำหรบั การจำแนกประเภทใหŒใชเŒ ปนš ซ่งจะส‹งผลต‹อการกำหนดหัวขŒอทต่ี Œองใส‹เขาŒ ไปในฉลาก และหัวขอŒ แบบเดยี วกนั ทว่ั โลก (สามารถศึกษาเพม่ิ ไดŒใน ระบบ GHS) ของ SDS โดยเนŒนถงึ ขนั้ ทีก่ ำหนดว‹าจะใสเ‹ นือ้ หาใน SDS GHS แบง่ การสอ่ื สารความเปน็ อนั ตราย (Hazard communications) เปน็ 2 แบบคอื 1. การตดิ ฉลาก (Labeling) ระบบ GHS ใชฉ้ ลากเปน็ เครอ่ื งมอื ในการสอ่ื สารความเปน็ อนั ตรายจาก สารเคมี โดยการแสดงคณุ สมบตั ทิ างเคมี เชน่ การระเบดิ ความไวไฟ ความเปน็ พษิ เฉยี บพลนั ความสามารถในการกอ่ มะเรง็ ความเปน็ อนั ตราย ตอ่ สง่ิ แวดลอ้ มในน�ำ้ เปน็ ตน้ โดยมกี ารใชร้ ปู สญั ลกั ษณ์ (Pictogram) เชน่ รปู กระโหลกและกระดกู ไขว้ รปู เครอ่ื งหมายตกใจ รปู เปลวไฟ รปู ถงั กา๊ ซ ภายใตค้ วามดนั เปน็ ตน้ และมคี �ำ สญั ญาณทบ่ี อกใหท้ ราบวา่ อนั ตราย หรอื ระวงั รวมทง้ั มขี อ้ ความทแ่ี สดงใหท้ ราบถงึ ลกั ษณะความเปน็ อนั ตราย ซง่ึ ท�ำ ใหผ้ ทู้ เ่ี กย่ี วขอ้ งใชค้ วามระมดั ระวงั มากขน้ึ เชน่ ความเปน็ พษิ เฉยี บพลนั สารเคมที พ่ี จิ ารณาไดว้ า่ มคี วามเปน็ อนั ตรายในลกั ษณะดงั กลา่ วจะแบง่ เปน็ 5 กลมุ่ ตามระดบั ความเปน็ อนั ตรายของความเปน็ พษิ นน้ั และมกี ารแสดง Pictogram หรอื ค�ำ เตอื นทเ่ี ปน็ ฉลากตามตวั อยา่ ง ดงั น้ี อันตราย อนั ตราย 14

Station 5 การสอ่ื สารความเปน็ อันตราย Hazard Communication ได้มีการตกลงกันว่า ผู้ผลิตหรือผู้นำ�เข้า 1. สารเคมี เปน็ ผมู้ หี นา้ ทใ่ี นการจ�ำ แนกประเภท ส�ำ หรบั ผู้จดั จ�ำ หน่ายผบู้ ริโภค หรือผ้ใู ช้งาน ทว่ั ไป กส็ ามารถท�ำ ความเขา้ ใจถงึ ความเปน็ อันตรายได้อย่างถูกต้องย่ิงข้นึ และคาดหวัง วา่ จะสามารถปอ้ งกนั อบุ ตั เิ หตทุ เ่ี กดิ จากการใช้ อย่างผิดวิธี ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และสุขภาพของมนุษยไ์ ด้มากขนึ้ รูปแบบ (Format) ของ SDS มี 16 หัวขอŒ ตามลำดับ ดงั นี้ แต่ละหัวข้อจะประกอบไปด้วยข้อความ • การระบุชอ่ สารเคมแี ละชอ่ ผŒูผลิต รายละเอยี ดเนื้อหามาก มีข้อมลู ชดั เจน • การระบุความเปšนอันตราย ยกตวั อยา่ งเช่น หวั ขอ้ 11 ข้อมลู ดา้ นพิษ • สว‹ นประกอบของขŒอสนเทศของส‹วนผสม วทิ ยา เนือ้ หาจะต้องใสข่ ้อมูลความเป็น • การปฐมพยาบาล อันตราย ตอ่ สุขภาพทกุ อยา่ งทเี่ ปน็ ไป ตาม • มาตรการในการดับเพลิง ระบบ GHS ซง่ึ หากไม่มีขอ้ มูลก็ใหใ้ ส่ • มาตรการการจดั การเมอ่ื เกดิ การหกร่ัวไหล ข้อความ ว่าไมม่ ีขอ้ มูล (not available) • การใชŒและการจดั เกบ็ รกั ษา ข้อมูลเก่ียวกับหนทางท่ีน่าจะได้รับสัมผัส • การควบคุมการรบั สัมผสั / การป‡องกนั อนั ตรายสว‹ นบคุ คล ไดง้ า่ ย อาการ (Symptoms) ที่เกยี่ วกบั • คณุ สมบัตทิ างกายภาพและทางเคมี คุณลักษณะ ทางเคมี ฟสิ ิกส์ และทางพิษ • ความคงตวั และการเกดิ ปฏิกริ ยา วทิ ยา ผลกระทบ ในทนั ทแี ละทลี่ า่ ชา้ ออก • ขอŒ มูลดŒานพษิ วทยา ไป และผลกระทบเรื้อรงั จากการได้รบั • ขŒอมูลดŒานนิเวศวทยา สมั ผสั ทัง้ ในระยะส้นั และระยะยาว และ • ขอŒ พิจารณาในการกำจัดหรอทำลาย ความเปน็ พิษอืนๆ อีก • ขŒอมลู เกย่ี วกับการขนส‹ง • ขอŒ มลู ดŒานกฎระเบยี บ • ขอŒ มลู อืน่ ๆ 2. เอกสารขอ้ มลู ความปลอดภยั (Safety Data Sheet, SDS) SDS ใหข้ อ้ มลู เกย่ี วกบั สารหรอื สารผสมในลกั ษณะเบด็ เสรจ็ เพอ่ื ใชป้ ระโยชนใ์ นสถานทท่ี �ำ งาน (Workplace) เปน็ ขอ้ มลู ท่ี เกย่ี วขอ้ งกบั ผลติ ภณั ฑ์ ซง่ึ สถานประกอบการแตล่ ะแหง่ สามารถ น�ำ ขอ้ มลู ทอ่ี ยใู่ น SDS ไปพฒั นามาตรการปอ้ งกนั ผปู้ ฏบิ ตั งิ าน ใหเ้ หมาะสมและยงั เปน็ มาตรการปอ้ งกนั สง่ิ แวดลอ้ มอกี ดว้ ย 15





อนั ตรายจากพลังงานไฟฟ้า Station 7 Electrical Hazard ความตา้ นทานของรา่ งกาย กระแสไฟฟ้าจะไหลผ่านร่างกายมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับความต้านทาน ซึ่งเป็นองค์ประกอบที่สำ�คัญ อย่างหน่งึ ความต้านทานของร่างกายคนเปลี่ยนแปลงได้ขนึ้ อยกู่ บั คณุ สมบตั ิทางกายภาพ ของแต่ละ คนสภาวะทางด้านอารมณ์และความช้ืนบนผิวหนังความต้านทานของร่างกายจะลดลงอย่างมากเม่ือ ผวิ หนงั เปยี กช้ืน ค่าความต้านทานต่อการไหลของกระแสไฟฟ้าของร่างกาย อปุ กรณ์ความปลอดภยั ปอ้ งกนั ไฟฟ้าช๊อตได้อยา่ งไร 500 โอหม 500 โอหม รา‹ งกายของคนเราเม่อื เทาŒ เปล‹า +1,000,000 โอหม 2,000,000 โอหม จะมคี วามตาŒ นทาน 500 โอหม กระแสทไี่ หล = 0.13mA ท่ีแรงดนั 400 V จะมกี ระแสไหล = 800mA ไม‹มีผลต‹อความรูŒสกึ เสียชวต 18

Station 7อันตรายจากพลังงานไฟฟ้า Electrical Hazard สายดนิ ช่วยเราได้อย่างไร สายดนิ คอื อะไร สายดนิ หมายถึง ตวั น�ำ หรอื สายไฟทต่ี ่อจากสว่ นท่ีเปน็ ตัวนำ�ไฟฟ้าหรอื เปลือกโลหะของเครื่องใชไ้ ฟฟา้ หรือ อุปกรณต์ ดิ ต้งั ทางไฟฟ้าซ่งึ ปกตเิ ปน็ ส่วนที่ไม่มีไฟและเพ่อื ใหเ้ ป็นเสน้ ทางที่สามารถนำ�กระแสไฟฟ้ากรณีท่มี ีไฟรัว่ ใหไ้ หลลงดนิ โดยผใู้ ชไ้ ฟไมเ่ กดิ อนั ตราย ขณะเดยี วกนั กเ็ ปน็ เสน้ ทางใหก้ ระแสไฟฟา้ รว่ั ไหลยอ้ นกลบั ไปยงั หมอ้ แปลง ไฟฟา้ ไดส้ ะดวก เพ่อื ให้เครื่องตดั ไฟอตั โนมัตทิ �ำ งานและตดั ไฟออกทนั ที โดยทว่ั ไปสายไฟดงั กลา่ วมกั เรียกส้นั ๆ ว่า สายดิน ประโยชนข์ องสายดิน ปอ้ งกนั ไมใ่ หม้ ผี ้ถู กู ไฟฟา้ ดดู กรณีท่มี ีกระแสไฟฟา้ รั่วจากเครื่องใช้ไฟฟา้ เนอื่ งจากกระแสไฟฟ้ารัว่ จากเครอื่ งใช้ ไฟฟา้ จะไหลลงดนิ ทางสายดนิ โดยไมผ่ า่ นร่างกายผสู้ มั ผสั เครือ่ งใชไ้ ฟฟา้ นั้น เป็นผลท�ำ ใหอ้ ุปกรณ์ป้องกนั ไฟฟ้า ลดั วงจรหรอื ไฟฟา้ รัว่ จะตัดกระแสไฟฟ้าออกทันที เครือ่ งใช้ไฟฟ้าบางประเภท เชน่ คอมพวิ เตอร์ อปุ กรณอ์ เิ ลก็ ทรอนิคส์ อปุ กรณส์ ื่อสารอาจท�ำ งานไดไ้ มส่ มบรู ณ์ หรอื ชำ�รุดไดง้ ่ายหากไมม่ ีสายดนิ การปอ้ งกันอนั ตราย เมื่อปฏิบตั งิ านเกย่ี วกบั ไฟฟ้า 19

ความปลอดภยั ในการทำ�งานกบั เคร่ืองจักร Station 8 Machine Safety เครื่องมือที่ทำ�งานโดยอาศัยพลังงานจากไฟฟ้า เครื่องยนต์และต้นกำ�ลังอื่นๆ ปกติจะขนาดใหญ่ มี น�ำ้ หนกั มาก ไมส่ ามารถเคลอ่ื นยา้ ยไดด้ ว้ ยสองมอื ใชส้ �ำ หรบั เปลย่ี นหรอื แปรรปู วสั ดดุ ว้ ยการเฉอื น กดั ขดั หรอื อดั ขึน้ รูป มีใชง้ านมากในโรงงานแปรรปู ไม้ โรงงานซ่อมสรา้ งเครอื่ งจักรและโรงกลึงท่วั ไปได้ เครอ่ื งจกั รมโี อกาสทจ่ี ะปลดปลอ่ ยพลงั งานทส่ี ะสม หรอื ตกคา้ งอยอู่ อกมาท�ำ อนั ตรายกบั ผปู้ ฏบิ ตั งิ าน ได้โดยไมค่ าดคิด ซึง่ อาจทำ�ให้ผู้ปฏบิ ัตงิ านไดร้ ับบาดเจ็บหรือเสียชวี ติ และต่อร่างกายเช่น อัคคีภัย แผล ไหม้พุพอง และอาจร้ายแรงถึงขน้ั เสยี ชวี ิตได้ การทำงานกบั เครอ่ งป˜มโลหะแบบใชŒมือกดป†มุ บังคบั 8 1 ผปูŒ ฏบิ ตั งิ าน ควรใชŒถุงมือนริ ภยั เสมอ และผŒูปฏบิ ัติ ตอŒ งแตง‹ กายใหŒเหมาะสม 2 ผปูŒ ฏิบัติงานควรสวมใสอ‹ ปุ กรณ ควรไดรŒ ับการอบรมถึงอนั ตรายทีอ่ าจเกิดข้น ป‡องกนั อันตรายสว‹ นบุคคล เพราะเคร่องป˜ม โลหะชนิดนอี้ ันตรายสงู สุด 3 เครอ่ งป˜มโลหะตอŒ งมี สวตซค วบคุมการทำงานของ 7 อปุ กรณป‡องกนั อนั ตราย ป˜ม โลหะแบบใชเŒ ทŒาเหยยี บ ท่เี คร่องจักร บรเวณทใี่ ชเŒ ทŒาเหยยี บควรมฝี าครอบ ความปลอดภัยในการ ปอ‡ งกนั ไวเŒ พ่ือความเผอเรอ ใชŒเคร่องปม˜ โลหะ หรอสิง่ อนื่ มากระทบขณะปฏบิ ตั งิ าน 4 ก‹อนใชŒงาน ชน้ งานที่จะปม˜ ข้นรูปควรมที ่วี ‹างพอ 6 ควรตรวจสอบอุปกรณป อ‡ งกนั อันตราย ใหŒมือจบั อยา‹ งปลอดภยั 5 ทเี่ คร่องจกั รว‹าอย‹ูในสภาพพรŒอมใชงŒ าน และไม‹ขัดขวางการทำงาน ถาŒ ไมม‹ ีควรใชคŒ มี หรออุปกรณอยา‹ งอ่นื แทนการใชŒมอื จบั โดยตรง ขณะเปลยี่ นแบบทีห่ วั ปม˜ โลหะ ตŒองตัดสวตซไฟของ เคร่องปม˜ โลหะ เคจวาามะปลกอดลภึงัยในกกาัดร และงานเจยระไน ผูŒปฏิบัตงิ าน ตอŒ งแต‹งกายใหŒเหมาะสม 1 2 ผปŒู ฏิบัตงิ านควรสวมใส‹ อปุ กรณป‡องกันอันตราย สว‹ นบคุ คล 3 ตรวจสอบความพรŒอม ของอปุ กรณก อ‹ นใชŒงาน 5 4 ปฏบิ ัติตามขัน้ ตอนการทำงานอย‹าง ปลอดภยั ของเครอ่ งจกั รที่กำหนดไวŒ หลกี เล่ียงการใชŒมอื จับเพอ่ื ใหหŒ ยดุ หรอจบั ส‹วนท่ีแหลมคมเพราะอาจไดŒรบั บาดเจ็บ ควรใชŒอปุ กรณอยา‹ งอน่ื แทนการใชมŒ อื จับโดยตรง 20

Station 8 ความปลอดภัยในการท�ำ งานกบั เครื่องจักร Machine Safety เล่อื ยวงเดอื น เปšนเครอ่ งมอื กลในงานไมทŒ สี่ ำคัญมากใชสŒ ำหรบั ผา‹ ตัดหรอซอยไมŒ ใหŒไดŒขนาดตามตอŒ งการ ลกั ษณะของใบเลอ่ื ยจะเปนš แผ‹นโลหะกลม ทข่ี อบจะมีฟน˜ ยืน่ ออกมาโดยรอบ เล่อื ยวงเดือนมใี ชทŒ ้ังงานไมแŒ ละงานโลหะ แต‹สว‹ นใหญจ‹ ะใชงŒ านไมŒมากกวา‹ 9 ความปลอดภัยในการ ใชเŒ ลื่อยวงเดอื น ข้เลื่อยทีต่ ดิ ตามฟ˜นของใบเล่อื ย 1 ผูŒปฏิบัตงิ าน ควรใชŒแปรงทำความสะอาด ตอŒ งแตง‹ กายใหเŒ หมาะสม หŒามใชŒมือเด็ดขาด ใบเลือ่ ยควรโผลเ‹ หนือช้นงาน 8 2 ผŒปู ฏิบตั ิงานควรสวมใส‹ ประมาณ1/4 นิ้ว เพื่อจะไดมŒ แี รงกดช้นงาน 7 อุปกรณป อ‡ งกนั อันตรายสว‹ นบคุ คล ใหŒแนบกบั โตะและเปนš การช‹วยลด การดดี ตวั กลับของชน้ งานขณะเลอื่ ยดวŒ ย 65 เล่ือยวงเดือนที่ดีควรมคี รอบ ปอ‡ งกนั ใบเล่อื ยท่ปี อ‡ งกันไมŒตกี ลับ ความเร็วในการป‡อนช้นงานเขŒาเลอ่ื ย ไม‹ควรมากเกินไป เพราะจะทำใหŒ 3 และเครอ่ งดูดฝนุ† 4 เล่อื ยวงเดือนแบบโตะควรมีทหี่ ยุดเคร่องฉุกเฉนิ ใบเล่อื ยรอŒ น และเกดิ การขยายตวั ซง่ ผŒปู ฏิบตั ิงานสามารถใชŒไดสŒ ะดวกและรวดเรว็ การป‡อนช้นงานเขŒาหาใบเลื่อย ดวŒ ยการเตะโดยติดตั้งไวŒดาŒ นใตŒของโตะ เล่อื ย แนวการเคล่ือนทีข่ องมือ ก‹อนเดนิ เคร่องแตล‹ ะวันควรตรวจการยึดแน‹น ไม‹ควรจะตรงกับแนวของใบเลอื่ ย ของใบเล่อื ย การรŒาวของใบเลอ่ื ยความคม ถŒาชน้ งานมีขนาดเลก็ ไมค‹ วรใชมŒ ือส‹งไมเŒ ขาŒ เล่อื ย หรอการชำรดุ ของฟ˜นเลอื่ ยและการสมดลุ แต‹ใหŒใชŒไมขŒ นาดเล็กช‹วยสง‹ แทน เคร่องรดหรอมวŒ นโลหะ การทำงานกับเคร่องมือ ประเภทท่ีมีช้นสว‹ นหมนุ ลักษณะการทำงานโดยการสอดแผ‹นโลหะ มจี ดอนั ตรายทเี่ กิดขน้ ไดŒจากการหนบี เขŒาทลี่ กู กลง้ิ ดาŒ นหนŒา แผน‹ โลหะจะถกู ดันใหŒโคŒง ความปลอดภัยในการ ตวั อยา‹ งท่ีเหน็ ไดงŒ า‹ ยๆ คือ เครอ่ งรด หรอแบนตามลกั ษณะทป่ี รบั ตง้ั โซแ‹ ละเฟ„อง สายพานและปลุ เลร‹ อกต‹างๆ เช‹น เครอ่ งข้นรูป เคร่องรดแผ‹นเหล็ก ใชเŒ ครอ่ งรดหรอมŒวนโลหะ และเฟอ„ งขับตา‹ งๆ เปšนตนŒ นอกจากการแตง‹ กายท่เี หมาะสม เคร่องรดหรอมวŒ นโลหะ มโตกซีจาัวแ‹ รดอลทอะยเำฟนั‹างง„อตาทนรง่ีเกาหเแทเแสฉซยลลับจี่็นฟพาะะทำเไสคยกาคดเเี่ปววะกพารจงŒ šนมรรดิอ่ด‹าามใดสยนใขงรีนสท‹อ้นๆแมะเำสี่บคลปุไหือดมับรคกะรปผอ่บŒจือรปับลุสัังางณเรคคกรเเเพลคะปดับรกเภ‹ร่ือรอ่อ‡ใตาหออ่ไทงง‹ารมŒเคงมกกทงห‹ใหๆรอืันรมตี่ นนŒจ่ออปดชีา‹บีะ้ิวงรันมง้นมหะตๆีเสเคือยภรว‹รุดขทาอ่นอยทนงหแงันีย้ กลผมทงั นั้ŒวเูŒีโใุนปดชปนšเŒยอ‡ขสอŒาง่งิไตักปนัโไนดมŒ ตั ิ ลกั ษณะการทำงานโดยการสอดแผน‹ โลหะ และเฟ„องขบั เมตือ่‹างมๆีสง่ิ เอปื่นนš เตขŒาŒนไปในจดทสี่ มั ผัสหรอหนบี นน้ั ๆ เขาŒ ท่ลี กู กลงิ้ ดาŒ นหนŒา แผน‹ โลหะจะถกู ดนั ใหŒโคงŒ ความปลอดภยั ในการ นอกจากการแตง‹ กายทเี่ หมาะสม หรอแบนตามลกั ษณะที่ปรับตั้ง และสวมใส‹อุปกรณป ‡องกนั อันตรายแลวŒ เช‹น เคร่องข้นรูป เคร่องรดแผน‹ เหลก็ ใชŒเครอ่ งรดหรอมŒวนโลหะ เซฟการด สำหรบั เครอ่ งมอื ประเภทน้ยี ังเปนš สง่ิ ทจ่ี ำเปนš ในเครอ่ งรดต‹างๆจะมเี คร่องกั้นปอ‡ งกนั เฉพาะจด ทีส่ มั ผัสเพ่ือไม‹ใหŒน้วิ มือของผŒูใชเŒ ขาŒ ไปไดŒ และควรมีระบบบงั คับใหเŒ ครอ่ งหยดุ ทนั ทโี ดยอตั โนมตั ิ เมอ่ื มสี ง่ิ อนื่ เขาŒ ไปในจดทีส่ มั ผัสหรอหนีบน้นั ๆ 21



Station 10 การยกยา้ ยวสั ดุส่ิงของด้วยแรงคน Manual Material Handling อนั ตรายจากการยกวสั ดุส่ิงของหนัก อาการปวดหลัง (Back Pain) เกิดขึ้นได้ 2 ลกั ษณะ คือ 1 อาการปวดอยา‹ งเฉยี บพลัน สาเหตุมกั เกดิ จากการไดรŒ บั บาดเจบ็ เชน‹ กระดูกสันหลังหกั กระดกู สนั หลังเคล่อื น 2 อาการปวดอย‹างเรอ้ รัง ซ่งพบไดŒถงึ รŒอยละ 80 โดยมกั มีสาเหตุมาจากการยกของผิดวธ หรอยกของหนักเกนิ กำลงั การใชŒท‹าทางการทำงานท่ไี ม‹เหมาะสม หรอการทำงานท่ีมคี วามเครยดมากเกินไป ฯลฯ ปจั จยั เสี่ยงจากงานทท่ี ำ� (Job Risk Factors) ? kg. นํ้าหนกั ของวสั ดุสง่ิ ระยะหา‹ งของวสั ดใุ น ความถแ่ี ละระยะเวลา ความสมดลุ ของ ความยากงา‹ ยในการ แผนผังของพ้ืนที่ หรอสถานทที่ ำงาน สงิ่ แวดลŒอมขณะยก เช‹น อุณหภมู ิ ของทีจ่ ะทำการยก แนวนอนและแนวด่ิง ในการยก วสั ดสุ ิ่งของ จบั ถอื วัสดสุ ่งิ ของ มีผลกระทบต‹อระยะทาง ความส่ันสะเทือน หรอแรงเสียดทาน การยกเคลอ่ื นยŒายและท‹าทางการยก การวางแผนการยกและการยกทถ่ี ูกวธิ ี ต้องประเมนิ นาํ้ หนักของวสั ดุสง่ิ ของว่าจะยกตามลำ�พังเพียงคนเดยี วได้หรือไม่ 1. ถาŒ ไมส‹ ามารถยกไดŒ ตŒองหาคนช‹วย ไม‹ควรพยายาม ยกเคลื่อนยาŒ ยวัสดุส่ิงของท่ีหนกั มากโดยลำพงั 2. ตŒองไมม‹ ีสงิ่ กีดขวางทาง มีเน้ือท่วี า‹ งมากพอในการยกเคล่อื นยŒาย พน้ื จะตอŒ งไมล‹ ่นื และมีแสงสวา‹ งเพยี งพอ เปšนตŒน 3. ควรใชŒเครอ่ งทนุ‹ แรงทเี่ หมาะสมเพ่ือลดการใชกŒ ำลงั แรงงานคน 4. จัดวางตำแหนง‹ วสั ดุสิ่งของที่จะยกไมส‹ ูงเกินกว‹าระดับไหล 5. ควรใชถŒ งุ มือเพอื่ ป‡องกนั การถลอก ขูดขด และการถูกบาดจากของมีคม และสวมใส‹รองเทาŒ นริ ภัยเพอ่ื ปอ‡ งกนั การลื่นไถล และปอ‡ งกนั การบาดเจบ็ จากวสั ดุส่งิ ของหลน‹ ทบั 23

การยกย้ายวัสดุส่งิ ของด้วยแรงคน Station 10 Manual Material Handling กฎหมายทเ่ี กีย่ วข้องกบั การกำ�หนดนา้ํ หนักที่นายจา้ งใหล้ ูกจา้ งท�ำ งานได้ กฎกระทรวงก�ำ หนดอตั รานํ้าหนกั ที่นายจ้างให้ลูกจา้ งท�ำ งานได้ พ.ศ. 2547 กฎกระทรวงฯ ฉบบั นไี้ ดก้ ำ�หนดให้ นายจา้ งใชล้ กู จา้ งท�ำ งานยก แบก หาม หาบ ทูน ลาก หรอื เขน็ ของหนกั ไม่เกินอตั ราน้าํ หนกั โดยเฉลยี่ ต่อลูกจ้าง 1 คน ดังต่อไปน้ี 20 กโิ ลกรมั สำหรับลูกจาŒ งซ่งเปนš เดก็ หญิงอายุตงั้ แต‹ 15 ป‚ แตย‹ งั ไมถ‹ งึ 18 ป‚ 25 กิโลกรัมสำหรับลูกจŒางซ่งเปนš เดก็ ชายอายตุ ง้ั แต‹ 15 ป‚ แต‹ยังไม‹ถงึ 18 ป‚ 25 กโิ ลกรมั สำหรับลูกจŒางซง่ เปšนหญิง 55 กิโลกรมั สำหรับลกู จาŒ งซ่งเปนš ชาย ในกรณีทน่ี ายจา้ งใหล้ กู จ้างทำ�งานยก แบก หาม หาบ ทูน ลาก หรอื เขน็ ของท่ีมนี าํ้ หนกั เกินกวา่ อตั ราน้าํ หนัก โดยเฉลย่ี ตอ่ ลกู จา้ ง 1 คนทีก่ �ำ หนดไว้ ตามข้อ 1 ถงึ 4 แลว้ ให้นายจ้างจัดให้มี และใหล้ ูกจ้างใชเ้ คร่ืองทุ่นแรง ท่ีเหมาะสม และไม่เป็นอนั ตรายตอ่ สุขภาพ และความปลอดภัยของลูกจา้ ง การยกทีถ่ กู วิธี การยกวัสดุส่งิ ของคนเดียว โดยวสั ดุสง่ิ ของอยรู่ ะดบั พ้นื การยกวัสดสุ ิ่งของด้วยคนสองคน ขน้ั ตอนท่ี 1 ขนั้ ตอนที่ 2 ขน้ั ตอนท่ี 3 ข้นั ตอนที่ 4 ยนื ชดวัสดุสง่ิ ของและการวางเทŒาท่ถี ูกตอŒ ง จบั วสั ดสุ ่งิ ของใหมŒ ัน่ คงโดยใชŒฝ†ามือจับ ยืนขน้ โดยใชกŒ ําลังจากกลาŒ มเน้ือขา หลงั อยู‹ในแนวตรงหรอเปนš ไปตามธรรมชาติ 24

Station 11การทำ�งานบนทสี่ ูง Working At Height less การทำ�งานบนท่สี งู หมายถึง การทำ�งานท่มี คี วามสูงเทา่ กับหรอื มากกว่า 2 เมตรจากพนื้ ดา้ นล่างEffectiveness รวมถงึ พนื้ สว่ นลา่ งสุดของหลุมซ่ึงกว้างพอที่คนสามารถพลดั ตกลงได้ และพื้นท่ีท�ำ งานบนบนั ไดทส่ี งู มากกวา่ 4 ข้ัน อันตรายจากการทำ�งานบนท่สี ูง ไดแ้ ก่ คนตกจากทส่ี งู และ วัสดุตกจากทส่ี ูงmore หลกั การและวิธปี ฏบิ ัติงานบนทส่ี ูง (Hierarchy of Controls)(Hierarchy of Controls) Working on Ground Permanent Platform EWP & Scaffold Fall Restrain Fall Arrest เลอื กทำงานบนพ้นื เปนš อันดับแรก…หากเปšนไปไม‹ไดŒ เลอื กทำงานบนพื้นซ่งตดิ ตัง้ ร้วั แข็งแบบถาวร…หากเปšนไปไมไ‹ ดŒ ใชรŒ ถกระเชาŒ (Elevated Work Platforms - EWP) หรอนงั่ รŒาน…หากเปšนไปไมไ‹ ดŒ ใชอŒ ปุ กรณจำกดั ระยะทาง (Fall Restrain)…หากเปšนไปไม‹ไดŒ ใชŒอปุ กรณล ดความรนุ แรงจากการตก (Fall Arrest) หากเปนš ไปไม‹ไดŒ หยดุ ก‹อน…หาŒ มทำงานน้นั !! เพ่อื หาวธการทำงานบนทส่ี งู อย‹างปลอดภัย 25

พน้ื ที่กิจกรรมสรา้ งความปลอดภัย และเกมส์เพอื่ ความปลอดภยั ในการทำ�งาน การกระทำ�ที่ไม่ปลอดภัย (Unsafe Act) และ/หรือสภาพการณ์ที่ไม่ปลอดภัย (Unsafe Condition) เปน็ ปจั จัยกอ่ ใหเ้ กดิ อบุ ตั ิเหตุ ซ่ึงลักษณะการกระทำ�ทไี่ มป่ ลอดภยั (Unsafe Act) ไดแ้ กก่ ารมี ทศั คตเิ กย่ี วกบั ความปลอดภยั ในการท�ำ งานไมถ่ กู ตอ้ ง การมองวา่ อบุ ตั เิ หตเุ ปน็ เรอ่ื งของเคราะหก์ รรม การทำ�งานท่ีมคี วามรูเ้ ทา่ ไมถ่ งึ การณ์ ประมาท และหยอกล้อกนั เล่นระหว่างการท�ำ งาน ส่วนลกั ษณะ สภาพการณ์ท่ีไมป่ ลอดภยั (Unsafe Condition) ได้แก่ เครือ่ งจกั ร เคร่อื งมอื อุปกรณช์ �ำ รดุ หรอื ขาด การซ่อมแซมบำ�รุงรักษาการวางผังโรงงานที่ไม่ถูกต้อง ความไม่เป็นระเบียบเรียบร้อยและสกปรก ในการจัดเก็บวสั ดุ สิ่งแวดลอ้ มในการท�ำ งานไม่ดี เชน่ แสงสว่างไม่เพยี งพอ ระบบไฟฟา้ หรอื อปุ กรณ์ ไฟฟา้ ชำ�รุดบกพร่อง เป็นตน้ รูปแบบเกมส์จับผิดภาพหาจุดที่ก่อให้เกิดอุบัติเหตุการกระทำ� ทไ่ี มป่ ลอดภยั (Unsafe Act) และ/หรอื สภาพการณท์ ไ่ี มป่ ลอดภยั (Unsafe Condition) โดยในแต่ละภาพจะมีจำ�นวนจุดให้ค้นหาแตกต่างกันจำ�นวน 11 จุด 13 จดุ และ 15 จดุ ดังตัวอยา่ งตอ่ ไปนี้ ตัวอย่างภาพ ในรูปแบบเกมส์จับผิดภาพหาจุดที่ก่อให้เกิดอุบัติเหตุจาก การกระทำ�ที่ไม่ปลอดภัย (Unsafe Act) และ/หรือสภาพการณ์ ที่ไม่ปลอดภัย (Unsafe Condition) มีจำ�นวน 11 จุด ดังนี้ 1. ถังดับเพลิงหาย 2. สนใจโทรศัพท์ไม่ระวังอันตรายรอบด้าน 3. วางของไม่ถูกที่ (ทางเดิน) 4. นั่งบนสายพาน 5. ซ่อมเครื่องโดยไม่ใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล 6. ไม่มีผู้ควบคุมสายพาน 7. แก้วแตกไม่เก็บ 8. เอามือยันบนสายพาน 9. สูบบุหรี่ขณะทำ�งาน 10. สารเคมีเป็นกรด 11. ใช้ปลั๊กเกินขนาด 26



ศนู ยพ์ ัฒนาองคค์ วามรคู้ วามปลอดภัยในการท�ำ งาน เฉลิมพระเกียรตสิ มเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ในโอกาสฉลองพระชนมายุ ๖๐ พรรษา Safety at Work Knowledge Development Center and Exhibition in celebrations on the occasion of Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn’s 60th Birthday Aniversary

แผนที่ตั้งศนู ยพ์ ฒั นาองคค์ วามรู้ความปลอดภยั ในการท�ำ งานฯ ศนู ยพ์ ฒั นาองคค์ วามรคู้ วามปลอดภยั ในการท�ำ งานฯ ตงั้ อยู่ ณ อาคารศนู ย์ Smart Job center ช้นั 3 ภายในบริเวณกระทรวงแรงงาน สนามกีฬา ไทย-ญปี่ ม†ุ ถนนวภาวดี-รัง ิสต ถนน ิมตรไมตร ถนนประชาสงเคราะ ห กระทรวงแรงงาน การเคหะดนิ แดง อนสุ าวรย สำนกั งาน อาคารศนู ย Smart Job Center ช้นั 3 สถาบนั ราชานกุ ุล ชัยสมรภมู ิ ปราบปราม โรงเรยนพิบูลยประชาสรรค แยกประชาสงเคราะห ยาเสพติด แยกสามเหล่ยี มดินแดง ถนนราชวถี โรงแรม การเคหะดินแดง เซ็นจร่พารค อาคารศูนย Smart Job Center ชั้น 3 “ศูนยพ ฒั นาองคค วามรคŒู วามปลอดภยั ในการทำงานเฉลมิ พระเกียรติ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารในโอกาสฉลองพระชมมายุ ๖๐ พรรษา” ถนนมิตรไมตรี แขวงดนิ แดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400 ติดต่อสอบถามได้ท่ี website: www.oshthai.org email: [email protected] โทรศพั ท์/โทรสาร: 0 2245 0542