Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นโนยายเลขาฯ กศน.

นโนยายเลขาฯ กศน.

Description: นโนยายเลขาฯ กศน.

Search

Read the Text Version

นายวรัท พฤกษาทวีกุล ผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ รก.เลขาธกิ ารสานักงานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั • ปริญญาตรี ศิลปศาสตรบณั ฑติ (ศศ.บ.) สาขา ศึกษาศาสตร์ (พลศกึ ษา) มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ (ปี 2538) • ปริญญาโท การศึกษามหาบณั ฑติ (กศ.ม.) สาขา เทคโนโลยีการศกึ ษา มหาวิทยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒ (ปี 2548) • ปรญิ ญาเอก ปรัชญาดุษฏีบณั ฑติ (ปร.ด.) สาขา เทคโนโลยีการศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั บรู พา (ปี 2552) • คณะอนกุ รรมการสามญั ประจากระทรวง (อกพ.กระทรวงศึกษาธิการ) • ผูบ้ ริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดบั สงู ประจากระทรวงศกึ ษาธกิ าร (CIO กระทรวงศกึ ษาธิการ) • คณะอนุกรรมการศึกษาธกิ ารจังหวดั กรงุ เทพมหานคร (อกศจ.กทม.) • หลกั สูตรฝกึ อบรมเชงิ ปฎบิ ัตกิ าร “การสร้างผู้นาแหง่ การเปลย่ี นแปลงตามกรอบการปฎริ ปู ประเทศ ยทุ ธศาสตรช์ าตแิ ละการ สรา้ งความสามัคคีปรองดอง” ป.ย.ป.2 ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2563 รุ่นท่ี 7 • หลกั สูตร “นกั บริหารยุทธศาสตร์การป้องกนั และปราบปรามการทจุ ริตระดบั สงู ”(นยปส.) รุ่นที่ 11 • การฝกึ อบรมหลกั สตู รพฒั นานกั บรหิ ารระดบั สงู กระทรวงศึกษาธิการ (นบส.ศธ.) รนุ่ ที่ 3 (ปี 2557) • การฝึกอบรมเสรมิ หลักสตู รนกั บรหิ ารระดบั สงู (ส.นบส.) รุ่นที่ 10 (ปี 2560) • การฝกึ อบรมผู้บงั คบั บญั ชาลูกเสอื ขัน้ หัวหน้าผู้ใหก้ ารฝึกอบรมวชิ าผูก้ ากบั ลกู เสือ รุน่ ท่ี 103 (L.T.C.) (ปี 2556)

ให้ฉนั เป็น ฉนั ก็ทา ใหฉ้ ันนา ฉนั กส็ รา้ ง ให้ฉันถอย ฉันกว็ าง ใหฉ้ ันตาม ฉันยินดี ด้วยจิตคารวะ วรัท พฤกษาทวีกุล

ถึงแม้จะมีระบบงานที่ดีเพียงใด แต่ถ้าไม่มีคนทางาน กเ็ ปล่าประโยชน์ \"คน\" จึงมีค่าท่ีสดุ ขององคก์ ร

ความแตกตา่ งภายในองคก์ รกบั ยทุ ธวธิ ใี นการบรหิ ารทรพั ยากรมนษุ ย์ 1) Generation B (Baby Boomers Generation) ผทู้ เี่ กดิ ในชว่ งปี พ.ศ. 2489 - 2507 • วางแผนชวี ติ องิ กบั การทางาน มกั จะใชเ้ วลาสว่ นใหญท่ มุ่ เทกบั การทางานอยา่ งหนัก • เคารพกฎเกณฑ์ กตกิ า โดยมงุ่ หวงั ทจ่ี ะมตี าแหน่งหนา้ ทก่ี ารงานทด่ี ี ทมุ่ เทและรักองคก์ ร • เป็ นคนทล่ี ะเอยี ดรอบคอบ ใสใ่ จกบั รายละเอยี ดตา่ งๆ สงู ้ าน • พยายามสรา้ งเนอ้ื สรา้ งตวั เป็ นวัยทปี่ ระหยัดและอดออม วางแผนชวี ติ หลงั การปลดเกษียณ • มกั จะชอบทางานแบบคอ่ ยเป็ นคอ่ ยไป ไมช่ อบการเปลย่ี นแปลงมากนัก • มกั จะมองชว่ งวยั อน่ื ๆ ทางานไดไ้ มด่ เี ทา่ ตนเอง จงึ มกั จะลงมอื ทาดว้ ยตวั เองจนทาใหง้ านลน้ มอื • สว่ นใหญจ่ ะมตี าแหน่งหนา้ ทก่ี ารงานในระดบั ผบู ้ รหิ าร หวั หนา้ งาน 2) Generation X (Extraordinary Generation) คอื ผทู้ เี่ กดิ ในชว่ ง พ.ศ. 2508 - 2522 • ชอบอะไรงา่ ยๆ มแี นวความคดิ และการทางานแบบรรู ้ อบดา้ น • สามารถทางานไดต้ ามลาพงั และยังสามารถทางานเป็ นสว่ นหนงึ่ ของทมี งานเป็ นอยา่ งดี • ไมค่ อ่ ยกลา้ แสดงออก มคี วามรับผดิ ชอบ • มนี สิ ยั เปิดกวา้ งพรอ้ มยอมรับฟังขอ้ ตติ งิ เพอื่ ปรับปรงุ และพฒั นาตวั เอง • มกั ใหค้ วามสาคญั สมดลุ กนั ระหวา่ งงานและครอบครัว คอื จะไมท่ างานหนัก เลกิ งานกก็ ลบั บา้ น สปุ ัทมา ตันตยาภนิ ันท.์ (2555). ความแตกตา่ งภายในองคก์ รกบั ยทุ ธวธิ ใี นการบรหิ ารทรัพยากรมนุษย.์ Executive Journal วารสารนักบรหิ าร. วันทค่ี น้ ขอ้ มลู 7 มกราคม 2557

ความแตกตา่ งภายในองคก์ รกบั ยทุ ธวธิ ใี นการบรหิ ารทรพั ยากรมนษุ ย์ 3) Generation Y (Why Generation) คอื ผทู้ เ่ี กดิ ในชว่ งปี พ.ศ. 2523 - 2533 • ชอบการโตต้ อบและมคี วามมน่ั ใจในตวั เองสงู จงึ ชอบทางานเพยี งลาพงั • คาดหวังในการทางานสงู ในเรอื่ งของรายได ้ และการเป็ นผนู ้ า ทะเยอทะยาน และมกั มแี นวความคดิ แบบกา้ ว กระโดด ชอบแสดงออก ตดั สนิ ใจเร็ว • มคี วามสามารถในดา้ นการตดิ ตอ่ สอ่ื สารและทางานหลายๆ อยา่ งในเวลาเดยี วกนั มคี วามสามารถทางดา้ น เทคโนโลยสี งู • ทางานเป็ นทมี กลา้ ซกั ถาม ตดิ เพอ่ื น ชอบทาอะไรหลายๆ อยา่ งในเวลาเดยี วกนั มองโลกในแงด่ ี • จะคอ่ นขา้ งเบอ่ื งานงา่ ย จงึ มแี นวโนม้ ในการเปลยี่ นงานสงู ชอบการซกั ถามเพอ่ื หาเหตผุ ลกอ่ นทจี่ ะดาเนนิ การ • การสรา้ งสมดลุ ในชวี ติ และหนา้ ทก่ี ารงานเป็ นสง่ิ สาคญั (Work Life Balance) 4. Generation M (Millennial Generation) เป็ นผทู้ เี่ กดิ ในชว่ งปี พ.ศ. 2534 - 2540 • มคี วามสามารถทางดา้ นคอมพวิ เตอรแ์ ละภาษาองั กฤษ • ชอบความเป็ นอสิ ระ อยากเป็ นเจา้ ของกจิ การขนาดเลก็ ไมช่ อบการเป็ นลกู จา้ ง • ในองคก์ รทม่ี บี คุ ลากรในกลมุ่ นจี้ ะมลี กั ษณะทช่ี อบคดิ ไมช่ อบการทอ่ งจา ยังไมม่ ปี ระสบการณ์ในการทางาน • ชอบการแสดงออก ชอบแสดงความคดิ เหน็ มนั่ ใจในตนเองสงู ชอบการทางานเป็ นทมี • ไมช่ อบการอยภู่ ายใตก้ ฎเกณฑห์ รอื กฎระเบยี บ สปุ ัทมา ตันตยาภนิ ันท.์ (2555). ความแตกตา่ งภายในองคก์ รกับยทุ ธวธิ ใี นการบรหิ ารทรัพยากรมนุษย.์ Executive Journal วารสารนักบรหิ าร. วนั ทค่ี น้ ขอ้ มลู 7 มกราคม 2557

คนสาราญ งานสาเรจ็

⚫ ปัจจยั นาเขา้ (Input) “ประหยดั ” ⚫ กระบวนการทางาน (Process) “เรยี บงา่ ย” ⚫ ผลได้ (Output /Outcome/Impact) “ไดป้ ระโยชนส์ ูงสดุ ” ที่มา : ศาสตราจารย์เกียรติคณุ นายแพทย์ เกษม วัฒนชัย องคมนตรี

สานกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (สานักงาน กศน.) พระราชบัญญตั ิสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา ๑๒ เพื่อประโยชน์ในการดาเนินการตามพระราชบัญญัตนิ ้ี ให้คณะกรรมการ มอี านาจหนา้ ที่ มาตรา ๑๔ ใหม้ สี านักงานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ขน้ึ ในสานกั งานปลัดกระทรวง กระทรวงศกึ ษาธิการ เรยี ก ดังต่อไปนี้ โดยย่อว่า “สานักงาน กศน.” โดยมเี ลขาธิการสานักงานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั เรียกโดยยอ่ ว่า “เลขาธกิ าร กศน.” ซงึ่ มฐี านะเปน็ อธิบดแี ละเปน็ ผูบ้ งั คับบญั ชาข้าราชการ พนกั งานและลกู จ้าง และรบั ผิดชอบการดาเนินงานของสานักงาน (๑) กาหนดนโยบายและแผนการส่งเสริมและสนับสนนุ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศยั ทีส่ อดคลอ้ งกบั แผนการศึกษาแห่งชาติและแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ สานกั งานมอี านาจหนา้ ท่ดี ังต่อไปนี้ (๑) เป็นหนว่ ยงานกลางในการดาเนนิ การ ส่งเสริม สนบั สนนุ และประสานงานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั และ (๒) กาหนดแนวทางการดาเนนิ งานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั รับผดิ ชอบงานธุรการของคณะกรรมการ (๓) ส่งเสริมและสนบั สนุนการประสานงานระหว่างส่วนราชการ รฐั วิสาหกิจ และภาคเอกชนทั้งใน (๒) จดั ทาข้อเสนอแนะ นโยบาย ยุทธศาสตร์ แผน และมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ต่อคณะกรรมการ (๓) ส่งเสรมิ สนบั สนุน และดาเนนิ การพัฒนาคณุ ภาพทางวชิ าการ การวจิ ยั การพฒั นาหลักสตู รและนวัตกรรมทางการศึกษา บคุ ลากร และ ประเทศและต่างประเทศเพื่อการจัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ระบบขอ้ มลู สารสนเทศทีเ่ กย่ี วขอ้ งกับการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (๔) เสนอแนะต่อรฐั มนตรีในการจัดทาและการพฒั นาระบบการเทยี บโอนผลการเรยี นจากการ (๔) ส่งเสริม สนับสนุน และดาเนินการเทยี บโอนผลการเรยี น การเทียบโอนความรแู้ ละประสบการณ์ และการเทียบระดับการศกึ ษา (๕) ส่งเสรมิ สนับสนนุ และประสานงานใหบ้ คุ คล ครอบครัว ชุมชน องคก์ รชมุ ชน องค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ องค์กรเอกชน องคก์ รวชิ าชพี เรยี นรูใ้ นการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และองคก์ รอื่นรวมตัวกันเปน็ ภาคีเครือขา่ ย เพ่อื เสรมิ สรา้ งความเขม้ แขง็ ในการดาเนินงานการศกึ ษา (๕) ปฏิบตั ิงานอื่นใดตามที่พระราชบัญญตั ิน้ีหรอื กฎหมายอื่นบัญญตั ิให้เป็นอานาจหน้าทขี่ อง นอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั (๖) จดั ทาขอ้ เสนอแนะเก่ยี วกับการใชป้ ระโยชน์เครือขา่ ยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สถานวี ิทยุโทรทัศน์เพ่อื การศึกษา วิทยชุ มุ ชน คณะกรรมการหรือตามทค่ี ณะรฐั มนตรมี อบหมาย ศูนยว์ ิทยาศาสตรเ์ พ่อื การศกึ ษา ห้องสมุดประชาชน พพิ ธิ ภัณฑ์ ศนู ย์การเรยี นชมุ ชน และแหลง่ การเรยี นรอู้ น่ื เพื่อส่งเสรมิ การเรยี นรแู้ ละ การพัฒนาคณุ ภาพชีวติ อย่างตอ่ เนอื่ งของประชาชน มาตรา ๑๓ ใหค้ ณะกรรมการแตง่ ตงั้ คณะอนกุ รรมการข้ึนคณะหนง่ึ เรยี กว่า “คณะอนุกรรมการ (๗) ดาเนินการเกีย่ วกับการตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดาเนินงานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ภาคีเครือข่าย” ทปี่ ระกอบด้วยภาคสว่ นต่าง ๆ ของสงั คมท่ีเข้ามามสี ่วนร่วมในการสง่ เสริมและ (๘) ปฏิบตั งิ านอนื่ ใดตามพระราชบญั ญตั นิ ห้ี รอื กฎหมายอืน่ ท่บี ัญญัติให้เปน็ อานาจหนา้ ทีข่ องสานกั งาน หรอื ตามท่รี ฐั มนตรีมอบหมาย สนับสนนุ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จานวนอนุกรรมการ คุณสมบัติ หลกั เกณฑ์ วธิ กี ารไดม้ าของประธานและอนกุ รรมการวาระการ ดารงตาแหน่งและการพน้ จากตาแหน่ง รวมทั้งอานาจหน้าท่ขี องคณะอนกุ รรมการภาคเี ครอื ขา่ ย ให้เป็นไปตามทีก่ าหนดในกฎกระทรวง

สานักงาน กศน. คณะกรรมการ กศน. หนว่ ยตรวจสอบภายใน สถาบนั พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตาม สานกั งานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและ คณะกรรมการ อธั ยาศยั ภาค การศึกษาตามอธั ยาศัยจังหวดั / กศน.จงั หวดั /กทม. กลุ่มเลขาธิการกรม ศูนยก์ ารศกึ ษานอกโรงเรียนกาญจนาภเิ ษก (วทิ ยาลัยในวงั ) กรุงเทพมหานคร กล่มุ การคลงั (กค.) คณะกรรมการ กลมุ่ การเจ้าหน้าท่ี (กจ.) สถาบันการศึกษาและพัฒนาตอ่ เน่อื งสริ ินธร ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม สถานศกึ ษา กลุ่มแผนงาน (กผ.) ศูนย์ฝกึ และพฒั นาอาชพี เกษตรกรรมวัดญาณสังวราราม อัธยาศัยอาเภอ / เขต กลมุ่ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม วรมหาวิหารอันเนอ่ื งมาจากพระราชดาริ (บางละมุง) คณะกรรมการ อัธยาศยั (กพ.) ศูนยฝ์ ึกและพฒั นาอาชพี ราษฎรไทยบรเิ วณชายแดน กศน.ตาบล กศน.ตาบล กลุ่มสง่ เสรมิ ปฏิบตั กิ าร (กป.) คณะกรรมการ ศรช. ศนู ย์เทคโนโลยีทางการศึกษา (ศท.) ศูนยฝ์ กึ วิชาชีพจงั หวัดกาญจนบรุ ี (สามสงฆท์ รงพระคุณ) ศนู ยก์ ารเรียนรู้ชุมชน กลมุ่ พฒั นาระบบการทดสอบ (กท.) หนว่ ยศึกษานิเทศก์ (ศน.) ศูนยว์ ทิ ยาศาสตรแ์ ละวฒั นธรรมเพอื่ การศึกษาร้อยเอด็ แหลง่ การเรียนร้ชู ุมชน (ภาคเี ครอื ข่าย) ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พ่ือการศึกษาเอกมัย (ศว.เอกมยั ) ศูนย์วทิ ยาศาสตร์เพอื่ การศกึ ษารังสิต (ศว.รงั สติ ) อุทยานวิทยาศาสตร์พระจอมเกลา้ ณ หว้ากอ จงั หวดั สถาบนั ส่งเสรมิ และพฒั นานวตั กรรมการเรยี นรู้ (สพร.) ประจวบคีรีขนั ธ์ สถาบนั การศึกษาทางไกล (ศทก.) ศนู ยว์ ิทยาศาสตรเ์ พื่อการศึกษาจังหวัด ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั กลมุ่ เปา้ หมายพเิ ศษ (ศกพ.)

อกั ษรย่อหนว่ ยงาน 31. ศนู ย์วทิ ยาศาสตร์เพื่อการศึกษาลาปาง (ศว.ลาปาง) 1. สานักงานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย (สานักงาน กศน.) 32. ศูนย์วิทยาศาสตรเ์ พอ่ื การศกึ ษาสมทุ รสาคร (ศว.สมทุ รสาคร) 2. หนว่ ยตรวจสอบภายใน (ตสน.) 33. ศูนยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พอ่ื การศกึ ษาสระแกว้ (ศว.สระแกว้ ) 3. กลุ่มเลขาธกิ ารกรม (กล.) 34. ศูนยว์ ิทยาศาสตรเ์ พอื่ การศกึ ษาอุบลราชธานี (ศว.อุบลราชธานี) 4. กล่มุ การคลัง (กค.) 35. ศูนย์วิทยาศาสตรเ์ พอื่ การศึกษานราธิวาส (ศว.นราธิวาส) 5. กลุ่มการเจ้าหน้าท่ี (กจ.) 36. ศนู ย์วทิ ยาศาสตรเ์ พอ่ื การศกึ ษานครพนม (ศว.นครพนม) 6. กล่มุ แผนงาน (กผ.) 37. ศูนย์วทิ ยาศาสตรเ์ พอ่ื การศกึ ษาพษิ ณโุ ลก (ศว.พษิ ณุโลก) 7. กลมุ่ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย (กพ.) 38. ศนู ย์วิทยาศาสตรแ์ ละวฒั นธรรมเพ่ือการศกึ ษารอ้ ยเอด็ (ศว.รอ้ ยเอ็ด) 8. กลมุ่ ส่งเสรมิ ปฏิบัตกิ าร (กป.) 39. ศูนย์วทิ ยาศาสตรเ์ พอ่ื การศึกษาปัตตานี (ศว.ปตั ตานี) 9. ศูนยเ์ ทคโนโลยีทางการศกึ ษา (ศท.) 40. อุทยานวิทยาศาสตร์พระจอมเกล้า ณ หวา้ กอ จงั หวัดประจวบคีรขี นั ธ์ (อวท.) 10. ศูนย์วิทยาศาสตรเ์ พ่อื การศึกษา (ศว.) 41. ศนู ยฝ์ ึกและพฒั นาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดน (ศฝช.) 11. กลุ่มพัฒนาระบบการทดสอบ (กท.) 42. ศูนย์ฝึกและพฒั นาอาชพี ราษฎรไทยบรเิ วณชายแดนเชียงราย (ศฝช.เชยี งราย) 12. หนว่ ยศกึ ษานเิ ทศก์ (ศน.) 43. ศนู ยฝ์ ึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบรเิ วณชายแดนชุมพร (ศฝช.ชมุ พร) 13. สถาบันการศกึ ษาทางไกล (สทก.) 44. ศูนย์ฝกึ และพัฒนาอาชพี ราษฎรไทยบรเิ วณชายแดนปัตตานี (ศฝช.ปตั ตานี) 14. ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั กลมุ่ เป้าหมายพิเศษ (ศกพ.) 45. ศูนย์ฝกึ และพัฒนาอาชพี ราษฎรไทยบรเิ วณชายแดนสระแก้ว (ศฝช.สระแก้ว) 15. สถาบันส่งเสรมิ และพฒั นานวัตกรรมการเรยี นรู้ (สพร.) 46. ศนู ย์ฝกึ และพฒั นาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดนอุตรดิตถ์ (ศฝช.อตุ รดติ ถ์) 16. ศูนยว์ ทิ ยาศาสตร์เพอ่ื การศึกษารังสติ (ศว.รงั สติ ) 47. ศนู ยฝ์ กึ และพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดนมุกดาหาร (ศฝช.มกุ ดาหาร) 17. สานักงานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จังหวดั (สานักงาน กศน.จงั หวัด) 48. ศูนยฝ์ กึ และพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดนสรุ นิ ทร์ (ศฝช.สรุ นิ ทร)์ 18. สานกั งานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกรงุ เทพมหานคร (สานักงาน กศน.กรุงเทพมหานคร) 49. ศูนยฝ์ กึ และพฒั นาอาชีพเกษตรกรรมวัดญาณสงั วรารามวรมหาวหิ าร อันเนื่องมาจากพระราชดาริ (ศฝก.) 19. ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอ (กศน.อาเภอ) 878 แห่ง 50. ศูนย์ฝึกวิชาชีพจงั หวัดกาญจนบุรี “สามสงฆ์ทรงพระคุณ” (ศฝส.) 20. ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยเขต (กศน.เขต) 50 แห่ง 51. ศนู ย์วงเดือน อาคมสรุ ทณั ฑ์ (ศวอ.) 21. ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยตาบล (กศน.ตาบล) 8,489 แห่ง 52. สถาบันพัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ภาคกลาง (สถาบัน กศน.ภาคกลาง) 22. ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยแขวง (กศน.แขวง) 53. สถาบนั พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ภาคตะวันออก (สถาบนั กศน.ภาคตะวนั ออก) 23. ศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่อื การศึกษากาญจนบุรี (ศว.กาญจนบุรี) 54. สถาบันพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื (สถาบนั กศน.ภาค 24. ศนู ย์วทิ ยาศาสตรเ์ พอื่ การศกึ ษาขอนแกน่ (ศว.ขอนแกน่ ) 25. ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พอ่ื การศกึ ษาตรัง (ศว.ตรัง) ตะวันออกเฉยี งเหนอื ) 26. ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตร์เพอื่ การศึกษานครราชสีมา (ศว.นครราชสมี า) 55. สถาบันพัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ภาคเหนือ (สถาบัน กศน. ภาคเหนอื ) 27. ศูนย์วทิ ยาศาสตรเ์ พื่อการศึกษานครศรีธรรมราช (ศว.นครศรธี รรมราช) 56. สถาบนั พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยภาคใต้ (สถาบนั กศน.ภาคใต้) 28. ศูนย์วิทยาศาสตรเ์ พื่อการศึกษานครสวรรค์ (ศว.นครสวรรค)์ 57. สถาบันการศึกษาและพัฒนาตอ่ เน่อื งสิรินธร : (สธ.) 29. ศนู ย์วิทยาศาสตรเ์ พื่อการศึกษาพระนครศรอี ยธุ ยา (ศว.พระนครศรอี ยุธยา) 58. ศูนย์การศึกษานอกโรงเรยี นกาญจนาภิเษก (วทิ ยาลัยในวงั ) (ศกภ.) 30. ศนู ย์วทิ ยาศาสตร์เพื่อการศกึ ษายะลา (ศว.ยะลา) 59. ศูนยก์ ารเรยี นชมุ ชน (ศรช.) 60. ศูนยก์ ารเรียนชมุ ชนชาวไทยภเู ขา (ศศช.)

ค่านิยม “ กศน. องคก์ รท่ีมีความสขุ ” ไม่เดินลาพงั จบั มือรว่ มกนั Team work Happiness Coaching Engagement พี่ประคอง ให้น้องเดิน (พี่พร้อมให้ น้องใฝ่ รบั ) รกั และผกู พนั สรา้ งสรรคอ์ งคก์ ร

มงุ่ ทางานแบบ 3P นายวรทั พฤกษาทวีกลุ professional proactive public relations : มืออาชีพ : เชิงรกุ : ประชาสมั พนั ธ์

หลกั การทางาน หลักการบ ิรหารงาน เชื่อมนั ่ “ผู้นา” ให้เกียรติ ต้องเสียสละ เป็ นธรรม นายวรทั พฤกษาทวีกลุ โปร่งใส มี ความสขุ

การบริหารองคก์ ร “กระจายแรง แกร่งพลงั ” CKO ผบู้ ริหารสงู สดุ ด้านการจดั การความรู้ ผอ.กล่มุ และทีมงาน (Chief Knowledge Management Officer: CKO) จากทุกกล่มุ CIO CDO ผบู้ ริหารสงู สดุ ด้านการพฒั นาองคก์ ร ผอ.กล่มุ (Chief Organization Development Officer: CDO) และทีมงาน จากทกุ กล่มุ ผอ.กล่มุ และทีมงาน ผบู้ ริหารสงู สดุ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ จากทกุ กล่มุ (Chief ICT Officer: CIO)

พระบรมราโชบายในหลวงรชั กาลท่ี ๑๐ ด้านการศึกษา ๔ ประการ ๑. มีทศั นคติที่ถกู ต้องต่อบา้ นเมือง ตอ้ งมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจทม่ี ตี ่อชาตบิ า้ นเมอื ง ยดึ มนั่ ในศาสนา มนั่ คงในสถาบนั พระมหากษตั รยิ ์ และมคี วามเออ้ื อาทรต่อครอบครวั และชมุ ชนของตน ๒. มีพืน้ ฐานชีวิตที่มนั่ คง มีคณุ ธรรม ใหร้ จู้ กั แยกแยะสง่ิ ทผ่ี ดิ -ทถ่ี ูก สงิ่ ชวั่ -สง่ิ ดี เพ่อื ปฏบิ ตั แิ ต่สงิ่ ทช่ี อบทด่ี งี าม ปฏเิ สธสงิ่ ทผ่ี ดิ ทช่ี วั่ เพอ่ื สรา้ งคนดใี หแ้ กบ่ า้ นเมอื ง ๓. มีงานทา มีอาชีพ ตอ้ งใหเ้ ดก็ รกั งาน สงู้ าน ทางานจนสาเรจ็ อบรมใหเ้ รยี นรกู้ ารทางาน ให้สามารถเลย้ี ง ตวั และเลย้ี งครอบครวั ได้ ๔. เป็นพลเมืองดี การเป็นพลเมอื งดเี ป็นหน้าทข่ี องทกุ คน สถานศกึ ษาและสถานประกอบการตอ้ งสง่ เสรมิ ใหท้ กุ คนมโี อกาสทาหน้าทพ่ี ลเมอื งดี การเป็นพลเมอื งดหี มายถงึ การมนี ้าใจ มคี วามเออ้ื อาทร ตอ้ งทางานอาสาสมคั ร งานบาเพญ็ ประโยชน์ “เหน็ อะไรทจ่ี ะทาเพอ่ื บา้ นเมอื งไดก้ ต็ อ้ งทา” กศน. น้อมนาพระบรมราโชบายด้านการศึกษา ส่กู ารปฏิบตั ิ

นโยบายรฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธิการ นโยบายรัฐมนตรชี ่วยวา่ การกระทรวงศึกษาธกิ าร (นายณัฏฐพล ทปี สวุ รรณ) (ดร.กนกวรรณ วิลาวัลย์) กลไกขับเคล่ือนที่กระทรวงศกึ ษาธิการเตรียมพร้อมเพื่อการยกกาลงั สองการศึกษาสู่ความเปน็ เลศิ ▪ ศูนยพ์ ฒั นาศกั ยภาพบคุ คลดว้ ยความเป็นเลศิ (Human Capital Excellence Center : HCEC) ▪ แพลตฟอรม์ ด้านการศกึ ษาเพื่อความเป็นเลศิ (Digital Education Excellence Platform : DEEP) ▪ แผนพัฒนารายบุคคลเพือ่ ความเป็นเลศิ (Excellence Individual Development Plan : EIDP)

ยุทธศาสตรช์ าติและแผนแมบ่ ทภายใต้ยทุ ธศาสตรช์ าติ ยุทธศาสตรช์ าติ (พ.ศ. ๒๕๖๑- ๒๕๘๐) แผนแม่บทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ (๑๒) ประเดน็ การพฒั นาการเรียนรู้ (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐) ยุทธศาสตรช์ าตดิ ้านการพัฒนาและเสรมิ สรา้ ง แผนยอ่ ยของแผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติ ประเด็น การพฒั นาการเรียนรู้ ศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์ ๓) เพมิ่ ประสิทธภิ าพระบบบรหิ ารจดั การศึกษาในทกุ ระดบั ทกุ ประเภท ประกอบด้วย ๖ แนวทางยอ่ ย ไดแ้ ก่ \"การพฒั นาระบบการเรียนรู้ตลอดชีวิต\" (๑) ปฏิรูปโครงสร้างองค์กรดา้ นการศึกษาใหม้ ีประสิทธิภาพ โดยเนน้ การสร้างความรบั ผดิ ชอบต่อผลลพั ธ์ ตัง้ แตร่ ะดับบนสุดลงไปจนถงึ ระดับโรงเรยี น เนน้ การจัดระบบการศกึ ษาและระบบฝกึ อบรม รวมถงึ มโี ครงสร้างแรงจูงใจและความรบั ผิดชอบของหนว่ ยงานและบคุ ลากรทางการศึกษาทั้งระบบทเี่ หมาะสม บนฐานสมรรถนะทมี่ ีคุณภาพสงู และยดื หยุน่ ผ่านการ พัฒนากลไกตา่ ง ๆ อาทกิ ารพฒั นาการศกึ ษาออนไลน์ (๒) จดั ใหม้ ีมาตรฐานขน้ั ต่าของโรงเรยี นในทกุ ระดบั เพ่อื ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนท่สี ูงขึ้นมกี ารกาหนดมาตรฐานข้ันต่าของโรงเรียนในทกุ ระดับ ที่ แบบเปิด การพฒั นาระบบการเรยี นร้เู กีย่ วกบั ทักษะการ เหมาะสมกับบรบิ ทของประเทศ ในดา้ นความพร้อมของโครงสร้างพ้ืนฐาน อปุ กรณ์การเรียนการสอน การบริหารจัดการโรงเรียน จานวนครูทีค่ รบ รดู้ จิ ทิ ลั การมีระบบเทียบโอนประสบการณ์ระบบ ชนั้ ครบวชิ า จานวนพนักงานสนับสนุนงานบริหารจดั การโรงเรยี น ธนาคารหนว่ ยกติ มาตรการจงู ใจใหค้ นเข้าสกู่ าร ยกระดบั ทักษะ การใหส้ ถานประกอบการเพมิ่ ผลิตภาพ (๓) ปรบั ปรุงโครงสร้างการจดั การศกึ ษาใหม้ ีประสิทธภิ าพและเพ่มิ คุณภาพการศึกษา มีการปรับปรงุ โครงสรา้ งการศึกษาทีเ่ นน้ สายอาชีพมากขึ้น มีการ แรงงานผา่ นการพัฒนาความสามารถทางวชิ าชพี อยา่ ง เรียนการสอนและการเรียนรทู้ ี่ใชเ้ ทคโนโลยสี มยั ใหม่ เกิดทักษะความเขา้ ใจและใช้เทคโนโลยดี จิ ิทัล ทกั ษะภาษาที่ ๓ ทักษะและความรู้ในการ ต่อเน่อื งภายใต้กรอบคุณวุฒิวชิ าชีพ นอกจากนต้ี อ้ ง ประกอบอาชีพใหม่ ๆ อย่างคลอ่ งตวั เพ่ิมประสิทธิภาพการใช้ทรพั ยากรทางการศกึ ษาอย่างเป็นรปู ธรรม พฒั นาระบบการเรียนรู้ในชุมชนใหเ้ ข้าถงึ ความรู้ไดท้ ุกที่ ทกุ เวลาปรับปรงุ แหล่งเรยี นรใู้ นชมุ ชนใหเ้ ป็นพืน้ ที่เรียนรู้ (๔) เพ่ิมการมสี ่วนรว่ มจากภาคเอกชนในการจดั การศึกษา สง่ เสริมภาคประชาสังคมปรับปรุงแหล่งเรียนรู้ในชมุ ชนให้เปน็ พ้ืนที่เรยี นรู้เชิงสร้างสรรคแ์ ละ เชงิ สร้างสรรคแ์ ละมชี ีวิต รวมถึงการเรยี นรู้และทบทวน มีชวี ติ รวมถงึ การเรียนรูแ้ ละทบทวนทกั ษะพ้ืนฐาน ได้แก่ การอา่ นออก เขยี นได้ คดิ เลขเป็น โดยระดมทรัพยากรจากภาคเอกชนและภาคประชา ทกั ษะพื้นฐาน ไดแ้ ก่ การอ่านออก-เขยี นได-้ คิดเลขเป็น สงั คม โดยระดมทรพั ยากรจากภาคเอกชนและภาคประชา สังคม การพัฒนาทัศนคติและแรงบนั ดาลใจทอี่ ยาก (๕) พัฒนาระบบประกนั คุณภาพการศกึ ษา โดยแยกการประกันคณุ ภาพการศึกษาออกจากการประเมนิ คุณภาพและการรับรองคุณภาพและการกากับ เรียนรู้การสรา้ งนิสัยใฝเ่ รยี นรแู้ ละใหผ้ ู้เรียนได้ตระหนกั ดูแลคุณภาพการศกึ ษา และปฏริ ปู ระบบการสอบทน่ี าไปสู่การวดั ผลในเชิงทักษะที่จาเป็นสาหรับศตวรรษที่ ๒๑ มากกว่าการวดั ระดับความรู้ ถึงสงิ่ ท่เี กิดขึ้นรอบตัว รวมท้ังนาความรไู้ ปพัฒนาตอ่ ยอด หรอื ประยกุ ตใ์ ช้ในการดาเนนิ ชีวิตได้ (๖) ส่งเสรมิ การวิจยั และใชเ้ ทคโนโลยใี นการสรา้ งและจัดการความรู้ การเรยี นการสอน และการจัดการศึกษาเพอ่ื พัฒนาทักษะอาชพี ท่ีสอดคล้องกบั บรบิ ทพื้นที่ ซ่งึ รวมถึงการบรู ณาการ ความร่วมมือระหว่างสถาบนั อุดมศึกษากับภาคอุตสาหกรรม ชุมชน และภาครฐั เพ่ือเสรมิ สรา้ งระบบนิเวศนวตั กรรมทีเ่ ขม้ แข็ง

ยุทธศาสตร์ชาตแิ ละแผนแมบ่ ทภายใต้ยทุ ธศาสตรช์ าติ ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๑- ๒๕๘๐) แผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ (๑๒) ประเดน็ การพฒั นาการเรยี นรู้ (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐) ยทุ ธศาสตรช์ าตดิ า้ นการพัฒนาและเสรมิ สรา้ ง แผนยอ่ ยของแผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติ ประเด็น การพฒั นาการเรียนรู้ ศกั ยภาพทรพั ยากรมนุษย์ ๔) พฒั นาระบบการเรยี นร้ตู ลอดชีวติ ประกอบดว้ ย ๕ แนวทางย่อย ไดแ้ ก่ \"การพัฒนาระบบการเรียนรตู้ ลอดชีวิต\" (๑) จดั ใหม้ ีระบบการศึกษาและระบบฝึกอบรมบนฐานสมรรถนะที่มคี ณุ ภาพสงู และยดื หย่นุ เน้นการจัดระบบการศึกษาและระบบฝกึ อบรม (๒) มีมาตรการจงู ใจและสง่ เสรมิ สนับสนุนใหค้ นเขา้ ส่ใู ฝ่เรยี นรู้ พัฒนาตนเอง รวมถึงการ บนฐานสมรรถนะทม่ี คี ุณภาพสงู และยืดหยุน่ ผ่านการ พัฒนากลไกต่าง ๆ อาทิ การพัฒนาการศกึ ษาออนไลน์ ยกระดับทักษะวชิ าชีพ แบบเปดิ การพฒั นาระบบการเรียนร้เู กยี่ วกับทักษะการ (๓) พัฒนาระบบการเรียนร้ชู มุ ชนใหเ้ ข้าถงึ ไดท้ กุ ทที่ ุกเวลา โดยความรว่ มมือจากภาครัฐ รู้ดิจิทลั การมีระบบเทียบโอนประสบการณ์ระบบ ธนาคารหน่วยกิต มาตรการจูงใจใหค้ นเข้าสกู่ าร ภาคเอกชนและภาคประชาสงั คม ยกระดบั ทกั ษะ การใหส้ ถานประกอบการเพมิ่ ผลิตภาพ (๔) พฒั นาระบบเครอื ข่ายเทคโนโลยดี จิ ทิ ัลและดิจทิ ัลแฟลตฟอร์ม สอ่ื ดิจทิ ัลเพือ่ การศกึ ษาในทกุ แรงงานผ่านการพัฒนาความสามารถทางวิชาชีพอย่าง ต่อเน่อื งภายใต้กรอบคุณวฒุ วิ ชิ าชีพ นอกจากนต้ี ้อง ระดับทุกประเภทการศกึ ษาอย่างท่ัวถึงและมีประสิทธิภาพ พัฒนาระบบการเรียนร้ใู นชุมชนให้เขา้ ถึงความร้ไู ด้ทุกที่ (๕) พฒั นาโปรแกรมประยุกต์หรือส่ือการเรยี นรู้ดิจิทัลท่ีมีคุณภาพท่ีนักเรยี น นกั ศึกษา และ ทกุ เวลาปรับปรงุ แหล่งเรยี นรู้ในชุมชนให้เป็นพนื้ ทเ่ี รียนรู้ เชงิ สร้างสรรค์และมีชีวิต รวมถึงการเรยี นรแู้ ละทบทวน ประชาชนสามารถเข้าถึงและใช้ประโยชนใ์ นการเรยี นรู้และพฒั นาตนเองผ่านเทคโนโลยี ทักษะพ้ืนฐาน ได้แก่ การอา่ นออก-เขียนได-้ คดิ เลขเปน็ สมัยใหม่ได้ โดยระดมทรพั ยากรจากภาคเอกชนและภาคประชา สงั คม การพัฒนาทศั นคติและแรงบนั ดาลใจทอ่ี ยาก เรียนรกู้ ารสร้างนิสัยใฝเ่ รียนรแู้ ละใหผ้ ้เู รยี นได้ตระหนกั ถึงส่งิ ทเี่ กดิ ข้นึ รอบตัว รวมทัง้ นาความร้ไู ปพฒั นาตอ่ ยอด หรือประยกุ ต์ใชใ้ นการดาเนนิ ชวี ิตได้

นายกรัฐมนตรี (พลเอกประยทุ ธ์ จนั ทร์โอชา) กลา่ วในงานสมั มนาบคุ ลากรภาครัฐ “ยุทธศาสตรช์ าตภิ าคปฎิบัติ ร่วมขยบั ขับเคลอื่ น ภาครัฐเพอื่ ประชาชน” (National Strategy in Action : Integrated Implementation for THAIS) (การประชุมปิดหลกั สตู ร ป.ย.ป.1, ป.ย.ป.2 และ ป.ย.ป.4 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2563) โดยไดก้ ลา่ วถงึ กศน. ไวด้ งั น้ี -ควรจาแนกแยกแยะกล่มุ เปา้ หมายใหช้ ัดเจน มีตัวเลขท่ีชดั เจน -สร้างการเรียนรูใ้ ห้กบั ประชาชนในทุกกล่มุ เป้าหมาย ทั้งผพู้ กิ าร ผู้สงู อายุ -ต้องสอ่ื สารกับประชาชนใหท้ ราบถงึ งาน กศน. เพราะเงียบๆไป -จัดการฝกึ อบรมหลักสูตรระยะสัน้ ฝกึ อบรมให้มีงานทาและหางานใหท้ า ทาใหเ้ ขามีตัวตน และมีใบรบั รองความรูค้ วามสามารถ -การเทยี บโอนความรู้ มีอะไรบ้าง ทาไปถึงไหนแล้ว

จากนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธกิ าร และ นโยบายของรัฐมนตรชี ว่ ยวา่ การกระทรวงศกึ ษาธิการ ท่กี ากับดูแล กศน. สู่ สถานการณป์ ัจจุบนั ของ กศน. 1) สภาวการณข์ องโรคไวรสั โคโรนา Covid -19 ทีย่ งั คงอยู่ นับเปน็ โอกาสในวิกฤตของ กศน.ทร่ี องรบั ความตอ้ งการการเรยี นร้ทู ่อี ยนู่ อกห้องเรียน ต้อง ปรับรูปแบบที่เน้นการเรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลา เม่ือเรียนได้ทุกที่ทุกเวลาทาอย่างไรจะสะสมหน่วยจากการเรียนได้ และสอบได้ตามความต้องการ ซ่ึง จะเปน็ การขบั เคลอ่ื นเร่ืองของสอ่ื การเรยี นรู้ยกกาลังสองของ รมว.ไปพร้อมกัน 2) จากสภาวการณ์ดังกล่าวท่ีส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจ ทาให้ประชาชนว่างงานจานวนมาก ทาอย่างไร ท่ี กศน.สามารถสร้างงานสร้างอาชีพได้ นอกจากอาชพี ทัว่ ไประยะสนั้ แลว้ ต้องสรา้ งสมรรถนะอาชพี ในรปู แบบ ของการ Up-skill / Re-skill ด้วย 3) การฝึกอาชีพของ กศน.ทาอยา่ งไรจะสร้างยอดจาหน่ายให้กับประชาชนได้มากข้ึนโดยใช้เทคโนโลยีเป็นตัวช่วย ต้องยกระดับการพัฒนานวตกรรม ตามนโยบาย กศน. WOW 4) การใหค้ วามสาคญั กบั กระบวนการเรียนร้ขู องผู้เรยี นตามนโยบายการศกึ ษายกกาลงั สอง 5) ตอ้ งร่วมขับเคล่อื นพระบรมราโชบายของเหนือหัวรชั กาลท่ี 9 และรัชกาลท่ี 10 6) กศน.มแี หลง่ เรยี นร้ทู ีเ่ อือ้ ตอ่ การศกึ ษาตามอัธยาศยั เป็นจานวนมาก ทั้งศนู ย์วทิ ยาศาสตรเ์ พื่อการศกึ ษา และ ห้องสมดุ ประชาชน ทาอย่างไรจงึ จะให้ ประชาชนได้ใช้ประโยชน์ไดส้ งู สุด 7) ขณะเดียวกันในเรื่องของยุทธศาสตร์ชาติ ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ที่เป็นโจทย์ในหลายประเด็นทั้งในเรื่องการ พัฒนาคนตลอดช่วงชีวติ การปฏิรปู กระบวนการเรยี นรทู้ ่ตี อบสนองการเปล่ียนแปลงในศตวรรษท่ี 21

สง่ เสริมใหป้ ระชาชนได้เรียนรูอ้ ยา่ งตอ่ เนื่องตลอดชีวิต เพื่อความผาสุขของประชาชน “เปิดโอกาส” “สร้างอาชพี ” “พัฒนาถิน่ ไทยงาม” กศน. เป็นงานการศึกษาท่ีมีขอบข่าย “ประหยัด” “เรียบงา่ ย” “ได้ประโยชนส์ งู สดุ ” กว้างขวาง เป้าหมายปลายทางคือการ เรียนรู้ตลอดชีวิต เพื่อยกระดับคุณภาพ ∞ กศน. เปดิ โอกาส ชีวิตของคนไทย ทุกกลุ่ม ทุกเพศ ทุกวัยให้ ดีขึ้น เติมเต็มโอกาสและตอบสนองความ การศกึ ษาเพอ่ื เปิดโอกาสให้ประชาชนเขา้ ถึงการศกึ ษาและแหลง่ เรียนรู้ ทุกที่ทุกเวลา ต้องการ ด้วยกิจกรรมการศึกษาและ กิจกรรมการเรียนรู้ในวิถีชีวิตประจาวัน ∞ กศน. สรา้ งอาชีพ ด้วยวิธีการที่ยืดหยุ่นและหลากหลายตาม สภาพความต้องการและศักยภาพในการ การศึกษาเพือ่ การมงี านทา มีสัมมาชีพโดยชอบ เพ่ิมศกั ยภาพการแขง่ ขันในยุคดิจิทัล เรียนรู้ของกลุ่มเป้าหมาย ร่วมกับภาคี เครือข่ายทกุ ภาคสว่ น ∞ กศน. พฒั นาถ่ินไทยงาม ดว้ ยจติ คารวะ การศึกษาเพ่ือน้อมนาและเผยแพร่ศาสตร์พระราชา หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง วรัท พฤกษาทวกี ุล รวมถึงแนวทางพระราชดารติ ่าง ๆ ให้เกิดความเข้าใจอย่างถ่องแท้และนาไปประยุกต์ปฏิบัติใช้อย่าง กวา้ งขวาง รวมทั้งธารงและต่อยอดภูมปิ ญั ญาไทยตามบริบทของชมุ ชน ทอ้ งถ่ิน และครอบครัว คา่ นิยมหลัก (Core value) “คนสาราญ งานสาเร็จ”

12 ภารกิจ “เร่งด่วน” ทีจ่ ะตอ้ ง “จับต้องได้” ภายใน 6 เดือน ของเลขาธกิ าร กศน. (นายวรัท พฤกษาทวกี ลุ ) “คนสาราญ งานสาเรจ็ ” 1.น้อมนาพระบรมราโชบายด้านการศึกษาสกู่ ารปฏิบัติ “หน่งึ ชุมชน หนึง่ นวัตกรรมการพฒั นาชุมชนถิน่ ไทยงาม” เพื่อความกนิ ดอี ยดู่ ี มงี านทา เช่น โคกหนองนา โมเดล ,คลองสวยนา้ ใส, พลงั งานทดแทน (แสงอาทิตย)์ ,จิตอาสาพัฒนาชุมชน 2.ขับเคล่อื นนโยบายของรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธกิ าร (นายณฏั ฐพล ทปี สวุ รรณ) และรฐั มนตรชี ว่ ยว่าการกระทรวงศกึ ษาธิการ (ดร.กนกวรรณ วลิ าวัลย)์ ใหเ้ กิดผลเป็นรปู ธรรม 3.เรง่ ผลกั ดนั รา่ งพระราชบญั ญตั ิสง่ เสริมการเรียนรู้ พ.ศ. .... ใหส้ าเร็จ และปรบั โครงสร้างการบรหิ ารและอตั รากาลงั ใหส้ อดคลอ้ งกบั บรบิ ทการเปลี่ยนแปลง เร่ง “การสรรหา บรรจุ แตง่ ต้งั ท่มี ีประสทิ ธิภาพ” 4.ปรับปรุงพฒั นาหลกั สูตรทกุ ระดบั ทกุ ประเภท ใหท้ นั สมยั สอดคล้องกบั บรบิ ทสภาวะปัจจบุ ันและความตอ้ งการของผเู้ รยี น Credit Bank System / E-exam รวมทั้งสง่ เสริมกิจกรรมการพัฒนาผู้เรียนด้วยกระบวนการลูกเสือและยุวกาชาด เพื่อสร้างคนดี มีระเบยี บวนิ ัย และมีทัศนคติทีด่ ตี อ่ บ้านเมือง 5.พัฒนา Bigdata ของ กศน. ทที่ ันสมยั รวดเรว็ และทันที “ขอ้ มลู และสารสนเทศ กศน. ทท่ี ันสมัย จะปรากฏบนหน้าจอมือถอื ทนั ที เมือ่ คุณต้องการ” รวมทงั้ การ ส่ือสารและประชาสมั พันธง์ านของ กศน. ตอ้ งมปี ระสิทธภิ าพและเกิดประสทิ ธผิ ล “ตฆี อ้ งรอ้ งป่าว ขา่ วชาว กศน.”

12 ภารกจิ “เรง่ ด่วน” ทจ่ี ะต้อง “จับตอ้ งได้” ภายใน 6 เดอื น ของเลขาธิการ กศน. (นายวรทั พฤกษาทวกี ลุ ) “คนสาราญ งานสาเร็จ” 6.พฒั นาระบบการเรียนรู้ ONIE Digital Learning Platform รองรับ DEEP และ Digital Science Museum , ศนู ยเ์ รียนรูท้ ุกช่วงวัย รวมท้งั สอ่ื การเรยี น การสอน แหลง่ เรยี นรู้ ในทกุ กลมุ่ เป้าหมาย “เรียนรไู้ ด้ทุกที่ ทุกเวลา” 7.ส่งเสริมการพฒั นาความสามารถด้านดิจิทัล Digital Literacy ใหก้ บั บคุ ลากร กศน. ทุกระดับ และกลุ่มเปา้ หมายทุกกล่มุ 8.ส่งเสรมิ สนับสนุนการฝึกอาชีพเพอ่ื การมงี านทา “Re-Skill Up-Skill และออกใบรบั รองความรคู้ วามสามารถ” 9.ส่งเสรมิ การมสี ่วนรว่ มกบั ทุกภาคเี ครือข่ายและภาคเอกชนในการฝกึ อาชพี และส่งเสรมิ การตลาด เพื่อยกระดบั ผลติ ภณั ฑ์/สินคา้ กศน. ขยายชอ่ งทางการ จาหนา่ ย 10.ซ่อมแซม ฟ้นื ฟอู าคาร สถานท่ี สิ่งแวดล้อมของสานักงานทุกแหง่ และแหล่งเรียนรู้ทุกแหง่ ให้สะอาด ปลอดภัย พรอ้ มให้บรกิ ารดว้ ย มิตรไมตรี “กศน.งามตา ประชาชนื่ ใจ” 11.จัดกจิ กรรมสง่ เสริมความสมั พนั ธ์ของชาว กศน. “กศน.เกมส์” และกิจกรรมเชอื่ มความสมั พันธข์ องพน่ี อ้ งชาว กศน. 12.บรู ณการร่วมกับหนว่ ยงานตา่ งๆ ในสงั กัดกระทรวงศึกษาธกิ าร ทั้งในส่วนกลางและภมู ภิ าค “ทีม กศน.” “ทมี กระทรวงศกึ ษาธิการ”

กศน. : เปดิ โอกาส / สรา้ งอาชพี / พฒั นาถ่นิ ไทยงาม

เตรยี มใหพ้ รอ้ ม รวมใจใหไ้ ด้ นอ้ มรบั ทา คนไมท่ าปลอ่ ยไป บอกพี่ สอนน้อง นาจดุ เดน่ ใจสาคญั เนน้ คณุ คา่ วรัท พฤกษาทวกี ลุ พบผใู้ หญ่ หาโอกาส การด์ อยา่ ตก

บอกพ่ี สอนน้อง •เตรียมให้พรอ้ ม มเี วลาวา่ งกจ็ ดั เตรยี มขอ้ มลู ทเ่ี กย่ี วขอ้ งในงานของตวั เองใหพ้ รอ้ ม ...ใช้ ICT ใหเ้ ป็นประโยชน์ อยา่ ปิดกนั้ ศกั ยภาพของตวั เอง .... ศกึ ษาแนวคดิ ทฤษฏตี ่างใหม้ าก แต่อยา่ ใชม้ าครอบงาการทางานมากเกนิ ไป •น้อมรบั ทา ไมเ่ กย่ี งงาน แบกหามกท็ า ผลประโยชน์ตอบแทนมาทหี ลงั ...ถา้ ไมไ่ ดใ้ นคราวน้ี คดิ วา่ โอกาสหน้ายงั มี ....ถา้ ไมไ่ ดอ้ กี คดิ วา่ บา้ นมี ขา้ วกนิ ไมง่ อ้ ...จดั เตม็ ต่อไป •นาจดุ เด่น หางานทถ่ี นดั แลว้ จบั ใหม้ นั่ ฝึกใหเ้ ชย่ี วชาญใหไ้ ด้ เวลามงี านสาคญั ตอ้ งใหผ้ บู้ งั คบั บญั ชาและคนอน่ื ๆนกึ ถงึ เรา เชน่ เก่งดา้ นแผน เกง่ งบประมาณ เกง่ ตดิ ตามประเมนิ เกง่ ICT เป็นตน้ ทส่ี าคญั คอื จะตอ้ งมองงานในเชงิ ระบบใหเ้ ป็น ทงั้ ระบบในองคก์ รเรา ระบบ ในกรม และระบบในกระทรวงและนอกกระทรวง

บอกพี่ สอนน้อง •เน้นคณุ ค่า งานทอ่ี อกจากเราตอ้ งดี มคี ณุ ภาพและเรว็ แตถ่ า้ งานดว่ นเขา้ มาพรอ้ มๆกนั ใหด้ วู า่ งานไหนสาคญั เรง่ ดว่ น และมผี ลกระทบสงู •หาโอกาส โอกาสมสี องอยา่ งคอื “คนอน่ื หยบิ ยน่ื ให”้ และ “เดนิ ไปขอโอกาสเอง” (ผมจะเป็นอยา่ งหลงั ) หาโอกาสเขา้ ไปมสี ว่ นรว่ มในงานต่างๆ ใหม้ าก อยา่ เกย่ี งงาน และหาโอกาสพฒั นาตวั เอง เชน่ ฝึกอบรม เรยี นตอ่ ในระดบั ทส่ี งู ขน้ึ ถงึ ปรญิ ญาเอกยงิ่ ดี เพราะประเทศน้ี ยงั ใหเ้ ครดติ กบั คนทม่ี ี ดร. นาหน้าอยู่ •การด์ อย่าตก เมอ่ื พลาดพลงั้ ผดิ หวงั ไมพ่ อใจ อยา่ แสดงอาการใหใ้ ครเหน็ . ถอื คติ กลนื เลอื ด แลว้ ลุยต่อ สกั วนั ตอ้ งเป็นของเรา

บอกพ่ี สอนนอ้ ง •พบผใู้ หญ่ หาโอกาสไปปรกึ ษาหรอื พดู คุยกบั ผใู้ หญท่ เ่ี ราเคารพ หรอื ผใู้ หญ่ทเ่ี ป็นผบู้ งั คบั บญั ชา แสดงความอ่อนน้อมถ่อมตน แตไ่ มใ่ ชป่ ระเภท ดคี รบั นาย ไดค้ รบั ทา่ น…อยา่ คดิ เรยี นลดั เพราะถา้ เตบิ โตโดยการประจบสอพลอจะไมย่ งั่ ยนื •ใจสาคญั หดั นงั่ สมาธบิ า้ ง ฝึกจติ ใหส้ งบ จะชว่ ยใหเ้ ราคดิ งานออก คดิ งานเรว็ และมสี ตเิ มอ่ื เจอภาวะวกิ ฤตตา่ งๆ เพราะในช่วงเวลาใดเวลา หน่ึงในการทางานเราตอ้ งเจอแน่นอน •คนไมท่ าปล่อยไป ในทุกองคก์ รมผี คู้ นหลากหลายประเภท เราไมส่ ามารถบงั คบั ใหใ้ คร..คดิ และทมุ่ เทเหมอื นเราได\"้ ทุกคนมขี อ้ จากดั ทต่ี า่ งกนั ...ผมไม่ ถอื สาคนไมท่ า \"กมั มนุ า วตั ตติ โลโก\" สตั วโ์ ลกทงั้ หลายตอ้ ง เป็นไปตามกรรม

บอกพ่ี สอนนอ้ ง •รวมใจให้ได้ เรามเี วลาทางาน 8 ชวั่ โมงตอ่ วนั 40 ชวั่ โมงต่อสปั ดาห์ 160 ชวั่ โมงตอ่ เดอื น 1,920 ชวั่ โมงต่อปี (สรปุ เรามเี วลาทางาน 240 วนั ต่อ ปี) ดงั นนั้ เราตอ้ งสรา้ งความสขุ ในการทางาน ผกู มติ รกบั เพอ่ื นรว่ มงาน เพราะเราจะตอ้ งเจอหน้าเขาทุกวนั เป็นน้องตอ้ งเคารพ และใหเ้ กยี รตพิ ่ี เป็นพต่ี อ้ งทาตวั ใหค้ คู่ วรกบั ความเคารพและเกยี รตทิ น่ี ้องให้ .....พต่ี อ้ งเป็นผนู้ า เป็นผสู้ รา้ งแรงบนั ดาลใจ ถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์ใหก้ บั รนุ่ น้อง เพราะในอนาคตน้องๆ จะเป็นกาลงั สาคญั ในการรบั ภาระองคก์ รตอ่ จากเรา

ขอ้ มลู ประชากรจาแนกตามกลุ่มอายุ ประชากรจาแนกแยกตามช่วงอายุ (ปี ) เฉพาะผมู้ ีสญั ชาติไทยและมีชื่ออยใู่ นทะเบยี นบา้ น) ทวั่ ประเทศ เดือนธนั วาคม 2562 6,000,000 5,000,000 4,000,000 3,000,000 2,000,000 1,000,000 0 แรก เกดิ -5 6-10 ปี 11-15 16-20 21-25 26-30 31-35 36-40 41-45 46-50 51-55 56-60 61-65 66-70 71-75 76-80 81-85 86-90 91-95 96-100 ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปีขน้ึ ไป จานวนประชากร 3,914,7 3,855,9 3,988,3 4,049,0 835,691 4,711,9 4,581,1 5,066,2 5,147,0 5,182,2 5,026,6 4,341,5 3,348,0 2,629,0 1,729,9 1,188,1 806,510413,472150,900 57,196 ข้อมูลจานวนนักเรียน นักศกึ ษาสานกั งาน กศน. พ.ศ. 2563 ข้อมูลจานวนนักศกึ ษา กศน. ประจาปี การศึกษา 2563 (รอบที่ 1) รวมทั้งสิน้ 875,178 คน 600,000 ปฐมวยั ประถม มธั ยมตน้ มธั ยมปลาย มธั ยมปลาย (นศ. 400,000 16 69,030 337,753 468,339 โครงการฯ) 200,000 40 0 จานวนนกั ศกึ ษา กศน.

จานวนผู้รบั บริการที่ลงทะเบียนเรยี น และจบการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน จานวนผรู้ บั บรกิ ารท่ีลงทะเบียนเรยี นกจิ กรรมการศกึ ษาตอ่ เน่ือง ร้อยละของจานวนผ้รู บั บรกิ ารทีล่ งทะเบียนเรยี นกิจกรรมการศึกษาต่อเนือ่ งเปรียบเทยี บกบั เปา้ หมาย

จานวนแหล่งการเรยี นร้ดู ้านสง่ เสรมิ การอ่าน สงั กดั สานกั งาน กศน. จานวนผรู้ บั บริการดา้ นการส่งเสริมการอา่ น จาแนกตามแหล่งการเรียนรู้ กราฟแสดงจานวนผ้รู ับบริการดา้ นการสง่ เสรมิ การอ่าน จาแนกตามแหล่งการเรยี นรู้

รอ้ ยละของคะแนนเฉลีย่ ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตดิ า้ นการศกึ ษานอกระบบ (N-NET) รอ้ ยละของคะแนนเฉล่ยี ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติด้านการศึกษานอกระบบ (N-NET) จาแนกเปน็ รายสาระวชิ าและระดับการศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2561 จาแนกเป็นรายสาระวชิ าและระดับการศกึ ษา ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 2562

ผลการประเมนิ เทียบระดับการศึกษา มิติความรู้ความคิด ครัง้ ที่ 2 ปีการศกึ ษา 2561 ผลการประเมินเทียบระดบั การศกึ ษา มติ คิ วามรคู้ วามคดิ ครั้งท่ี 1 ปีการศึกษา 2562 รอ้ ยละของผลการประเมนิ เทยี บระดับการศึกษา มติ ิความร้คู วามคดิ ครั้งท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2561 รอ้ ยละของผลการประเมนิ เทยี บระดับการศึกษา มติ คิ วามร้คู วามคิด ครง้ั ท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2562

จานวนและรอ้ ยละผลการปฏบิ ัตงิ านดา้ นผู้รบั บริการการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตรฯ์ จาแนกตามกิจกรรมการเรียนรู้

ขอ้ มูลบคุ ลากร สานักงาน กศน. จาแนกตามประเภทตาแหน่ง รอ้ ยละของบคุ ลากรในสงั กดั สานกั งาน กศน. จาแนกตามประเภทตาแหนง่ รอ้ ยละของบุคลากรในสังกัดสานักงาน กศน. จาแนกตามตาแหนง่ ขา้ ราชการครู ร้อยละของบุคลากรในสังกัดสานักงาน กศน. จาแนกตามตาแหน่งบุคลากรทางการศึกษาอ่นื


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook