Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงาน-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์

รายงาน-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์

Published by poom .168, 2021-09-30 12:15:19

Description: รายงาน-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์

Search

Read the Text Version

รายงาน เรอ่ื ง ความรเู้ บื้องตน้ เก่ยี วกับคอมพวิ เตอร์ จัดทำโดย เดก็ หญิงโสภฎิ า เขตตะเคยี น เลขท่ี 32 ช้ัน ม.2/4 เสนอ คณุ ครูทรงศกั ด์ิ หมุนวัง รายงานเล่มน้เี ปน็ ส่วนหนงึ่ ของรายวิชา การใช้คอมพิวเตอร์ 1 (ว22211) โรงเรยี นรษั ฎา อำเภอรัษฎา จงั หวดั ตรงั สำนกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 13

คำนำ รายงานเล่มนีเปน็ สว่ นหนึง่ ของรายวชิ า การใชค้ อมพิวเตอร์ 1 ว22211 จัดทำขึ้นเพอ่ื ใหไ้ ด้ศึกษาหาความรู้ ในเรื่อง ความหมายของคอมพิวเตอร์ ความสำคัญของคอมพิวเตอร์ วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ ระบบเลขฐานท่ี ใช้ในคอมพิวเตอร์ ประเภทของคอมพิวเตอร์ การประยุกต์ใช้งานของคอมพิวเตอร์ และส่วนประกอบของ คอมพวิ เตอร์ และได้ศกึ ษาอยา่ งเข้าใจเพื่อเปน็ ประโยชนก์ บั การเรียน ผู้จัดทำหวังว่า รายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์กับผู้อ่าน หรือผู้ที่กำลังศึกษาหาข้อมูลเรื่องนี้อยู่ หากมี ข้อแนะนำหรือข้อผิดพลาดประการใด ผจู้ ดั ทำขออภยั ไว้ ณ โอกาสนี้ดว้ ย ผูจ้ ดั ทำ เดก็ หญิงโสภฎิ า เขตตะเคยี น

สารบญั เร่ือง หนา้ ความหมายของคอมพวิ เตอร์ 1 ความสำคัญของคอมพิวเตอร์ 2 ววิ ัฒนาการของคอมพวิ เตอร์ 3 ระบบเลขฐานท่ใี ช้ในคอมพวิ เตอร์ 5 การประยุกต์ใช้งานของคอมพิวเตอร์ 8 ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ 12 เอกสารอ้างองิ

1 คอมพิวเตอรค์ อื อะไร คอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทที่สำคัญยิ่งต่อสังคมของมนุษย์เราในปัจจุบัน แทบทุกวงการล้วนนำ คอมพวิ เตอร์เขา้ ไปเกีย่ วข้องกับการใช้งาน จนกล่าวได้ว่าคอมพวิ เตอร์เปน็ ปจั จัยท่ีสำคญั อย่างยิง่ ต่อการดำเนินชีวิต และการทำงานในชีวิตประจำวัน ฉะนั้นการเรียนรู้เพื่อทำความรู้จักกับคอมพิวเตอร์จึงถือเป็นสิ่งที่มีความจำเป็น เปน็ อย่างยิ่ง คอมพิวเตอรม์ าจากภาษาละตนิ วา่ Computare ซ่งึ หมายถงึ การนบั หรอื การคำนวณ พจนานุกรม ฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ให้ความหมายของคอมพิวเตอรไ์ วว้ ่า \"เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ ทำหน้าที่ เหมือนสมองกล ใช้สำหรับแก้ปัญหาต่างๆ ที่ง่ายและซับซ้อนโดยวิธีทางคณิตศาสตร์\" คอมพิวเตอร์จึงเป็น เครอ่ื งจกั รอิเล็กทรอนิกส์ที่ถูกสร้างขึน้ เพ่ือใช้ทำงานแทนมนุษย์ ในด้านการคิดคำนวณและสามารถจำข้อมูล ท้ังตัว เลขและตวั อักษรได้เพื่อการเรยี กใช้งานในครงั้ ต่อไป นอกจากน้ี ยังสามารถจัดการกบั สัญลักษณ์ได้ด้วยความเร็วสูง โดยปฏิบัติตามขั้นตอนของโปรแกรม คอมพิวเตอร์ยังมีความสามารถในด้านต่างๆ อีกมาก อาทิเช่น การ เปรียบเทียบทางตรรกศาสตร์ การรับส่งข้อมูล การจัดเก็บข้อมูลในตัวเครื่องและสามารถประมวลผลจากข้อมูล ตา่ งๆ ได้ ปัจจุบันนี้คนส่วนใหญ่นิยมนำคอมพิวเตอร์มาใช้งานต่าง ๆ มากมาย ซึ่งผู้ใช้ส่วนใหญ่มักจะคิดว่า คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือที่สามารถทำงานได้สารพัด แต่ผู้ทีม่ ีความรู้ทางคอมพิวเตอรจ์ ะทราบว่า งานท่ีเหมาะกับ การนำคอมพิวเตอร์มาใช้อย่างยิ่งคือการสร้าง สารสนเทศ ซึ่งสารสนเทศเหล่านั้นสามารถนำมาพิมพ์ออกทาง เครื่องพิมพ์ ส่งผา่ นเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์ หรือจัดเกบ็ ไว้ใช้ในอนาคตก็ได้ เนอ่ื งจากคอมพิวเตอร์จะมีคุณสมบัติต่าง ๆ คือ - ความเปน็ อตั โนมัติ (Self Acting) การทำงานของคอมพวิ เตอร์จะทำงานแบบอัตโนมตั ภิ ายใต้คำส่ังที่ ได้ถูกกำหนดไว้ ทำงานดังกล่าวจะเริ่มตั้งแต่การนำข้อมูลเข้าสู่ระบบ การประมวลผลและแปลง ผลลัพธ์ออกมาให้อยู่ในรปู แบบทม่ี นษุ ย์เข้าใจได้ - ความเรว็ (Speed) คอมพิวเตอรใ์ นปัจจบุ นั น้ีสามารถทำงานได้ถึงร้อยล้านคำส่ังในหน่งึ วินาที - ความเชื่อถือ (Reliable) คอมพิวเตอร์ทุกวันนี้จะทำงานได้ทั้งกลางวันและกลางคืนอย่างไม่มี ข้อผดิ พลาด และไม่รู้จกั เหน็ดเหนอ่ื ย - ความถกู ตอ้ งแมน่ ยำ (Accurate) วงจรคอมพวิ เตอรน์ ั้นจะให้ผลของการคำนวณที่ถูกต้องเสมอหาก ผลของการคำนวณผิดจากที่ควรจะเป็น มักเกิดจากความผิดพลาดของโปรแกรมหรือข้อมูลที่เข้าสู่ โปรแกรม - เก็บข้อมูลจำนวนมาก ๆ ได้ (Store massive amounts of information) ไมโครคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบัน จะมีที่เก็บข้อมูลสำรองที่มีความสูงมากกว่าหนึ่งพันล้านตัวอักษร และสำหรับระบบ คอมพิวเตอรข์ นาดใหญ่จะสามารถเกบ็ ข้อมูลได้มากกวา่ หน่ึงลา้ น ๆ ตัวอกั ษร

2 ความสำคญั ของคอมพิวเตอร์ ปัจจุบันเทคโนโลยีและการสื่อสารได้เจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว ในการดำเนินชีวิตประจำวันของมนุษย์ อุปกรณส์ ่ือสารและคอมพวิ เตอร์ไดเ้ ข้ามามีบทบาทสำคญั ตอ่ การดำเนินกิจกรรมต่างๆ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ การศึกษา ค้นคว้าและการทำธุรกิจ ด้วยความกา้ วหนา้ ของเทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ ทำให้องคก์ รตา่ งๆ นำเทคโนโลยีเหล่าน้เี ข้า มาช่วยในการดำเนินงานขององค์กรให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการรับ-ส่งข้อมูลข่าวสาร อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ การทำธรุ กิจและให้บริการบนอินเตอรเ์ น็ต ตลอดจนการใชเ้ ปน็ เคร่อื งมือช่วยในการทำงาน จากการที่คอมพิวเตอร์มีลักษณะเด่นหลายประการ ทำให้ถูกนำมาใช้ประโยชน์ต่อการดำเนิน ชีวิตประจำวันในสังคมเป็นอย่างมาก ที่พบเห็นได้บ่อยที่สุดก็คือ การใช้ในการพิมพ์เอกสารต่างๆ เช่น พิมพ์ จดหมาย รายงาน เอกสารต่างๆ ซึ่งเรียกว่างานประมวลผล (Word processing) นอกจากนี้ยังมีการประยุกต์ใช้ คอมพิวเตอรใ์ นด้านตา่ งๆ อกี หลายดา้ น - งานธุรกิจ เช่น บริษัท ร้านค้า ห้างสรรพสินค้า ตลอดจนโรงงานต่างๆ ใช้คอมพิวเตอร์ในการทำบัญชี งานประมวลคำ และติดต่อกับหน่วยงานภายนอกผ่านระบบโทรคมนาคม นอกจากนี้งานอุตสาหกรรม ส่วนใหญ่ก็ ใช้คอมพิวเตอร์มาช่วยในการควบคุมการผลิต และการประกอบชิ้นส่วนของอุปกรณ์ต่างๆ เช่น โรงงานประกอบ รถยนต์ ซงึ่ ทำให้การผลิตมีคณุ ภาพดีขึ้นบรษิ ัทยังสามารถรับ หรอื งานธนาคาร ทใี่ ห้บริการถอนเงนิ ผ่านตู้ฝากถอน เงนิ อัตโนมตั ิ (ATM) และใช้คอมพิวเตอร์คิดดอกเบีย้ ให้กับผู้ฝากเงิน และการโอนเงินระหวา่ งบัญชี เชือ่ มโยงกันเป็น ระบบเครือข่าย - งานวิทยาศาสตร์ การแพทย์ และงานสาธารณสุข สามารถนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในนำมาใช้ในส่วนของ การคำนวณที่ค่อนข้างซับซ้อน เช่น งานศึกษาโมเลกุลสารเคมี วิถีการโคจรของการส่งจรวดไปสู่อวกาศ หรืองาน ทะเบยี น การเงนิ สถิติ และเป็นอปุ กรณ์สำหรบั การตรวจรักษาโรคได้ ซง่ึ จะให้ผลทีแ่ มน่ ยำกว่าการตรวจดว้ ยวิธีเคมี แบบเดิม และให้การรกั ษาไดร้ วดเร็วขนึ้ - งานคมนาคมและสื่อสาร ในส่วนที่เก่ียวกับการเดินทาง จะใช้คอมพิวเตอร์ในการจองวันเวลา ที่นั่ง ซึ่งมี การเชอ่ื มโยงไปยังทุกสถานีหรือทุกสายการบินได้ ทำใหส้ ะดวกต่อผู้เดินทางที่ไม่ต้องเสียเวลารอ อีกทั้งยังใช้ในการ ควบคุมระบบการจราจร เชน่ ไฟสัญญาณจราจร และ การจราจรทางอากาศ หรอื ในการสือ่ สารก็ใช้ควบคุมวงโคจร ของดาวเทียมเพือ่ ใหอ้ ยใู่ นวงโคจร ซง่ึ จะชว่ ยสง่ ผลตอ่ การส่งสัญญาณให้ระบบการสอ่ื สารมคี วามชดั เจน - งานวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม สถาปนิกและวิศวกรสามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการออกแบบ หรือ จำลองสภาวการณ์ ต่าง ๆ เช่น การรับแรงสั่นสะเทือนของอาคารเมื่อเกิดแผ่นดนิ ไหว โดยคอมพิวเตอร์จะคำนวณ และแสดงภาพสถานการณ์ใกล้เคียงความจริง รวมทั้งการใช้ควบคุมและติดตามความก้าวหน้าของโครงการต่าง ๆ เชน่ คนงาน เครอ่ื งมือ ผลการทำงาน - การศกึ ษา ไดแ้ ก่ การใชค้ อมพิวเตอรท์ างด้านการเรียนการสอน ซงึ่ มีการนำคอมพิวเตอร์มาชว่ ยการสอน ในลกั ษณะบทเรยี น CAI หรอื งานด้านทะเบยี น ซึ่งทำให้สะดวกต่อการค้นหาข้อมลู นกั เรยี น

3 ววิ ฒั นาการของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ที่เราใช้กันอยู่ทุกวันนี้เป็นผลมาจากการประดิษฐ์คิดค้นเครื่องมือในการคำนวณซึ่งมี ววิ ัฒนาการนานมาแล้ว เร่มิ จากเคร่ืองมือในการคำนวณเคร่ืองแรกคือ \"ลกู คดิ \" (Abacus) ที่สรา้ งขึ้นในประเทศจีน เมื่อประมาณ 2,000-3,000 ปี คอมพิวเตอร์มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง สามารถแบ่งออกได้โดยแบ่งส่วนประกอบ ของฮาร์ดแวร์ (Hardward ) เปน็ 6 ยุคด้วยกนั ยุคที่ 1 (The First Generation) ปี ค.ศ. 1951 – 1958 คอมพิวเตอร์ในยุคแรกนี้ ใชห้ ลอดสญู ญากาศในวงจรอเิ ล็กทรอนกิ ส์ของเครื่องคอมพิวเตอร์ ทำให้ต้องการ กำลังไฟฟ้าเลี้ยงวงจรที่มีปริมาณมากและทำให้มีความร้อนเกิดขึ้นมากจึงต้องติดตั้งเครื่องในห้องปรับอากาศ ความเร็วในการทำงานเป็นวินาที เครื่องคอมพิวเตอร์มีขนาดใหญ่ สื่อที่ใช้ในการเก็บข้อมูล คือ บัตรเจาะรู ภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมเพื่อควบคุมการทำงาน คือ ภาษาเครื่องซึ่งเป็นภาษาที่ใช้รหัส เลขฐานสอง ทำใหเ้ ข้าใจยาก อุปกรณ์ : ใช้หลอดไฟสญู ญากาศและวงจรไฟฟ้า หนว่ ยวดั ความเร็ว : วัดเป็นวินาที ( Second) ตัวอยา่ งภาษาคอมพวิ เตอร์ : ภาษาเคร่อื ง (Machine Language) ตัวอย่างเครื่องคอมพิวเตอร์ : Univac I, IBM 650, IBM 700, IBM 704, IBM 705, IBM 709 และ MARK MARK I ยุคที่ 2 (The Second Generation) ปี ค.ศ. 1959 – 1964 เครื่องคอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กลง กินไฟน้อยลง ราคาถูกลง เพราะมีการประดิษฐ์ทรานซิสเตอร์ขึ้นมาใช้ แทนหลอดสูญญากาศ ทำให้ทำงานได้เร็วขึ้น ความเร็วในการทำงานเท่ากับ 1/103 วินาที (มิลลิเซคคั่น) และได้ ผลลัพธ์ที่ถูกต้องมากกว่าใช้หลอดสญู ญากาศ ทรานซิสเตอร์มีขนาดเล็กกว่าหลอดสูญญากาศ 200 เท่า และได้มี การสร้างวงแหวนแม่เหล็ก (Magnetic core) มาใช้แทนดรัมแม่เหล็ก (Magnetic drum) เป็นหน่วยความจำ ภายในซึ่งใชใ้ นการเก็บข้อมูลและชดุ คำสง่ั ภาษาคอมพิวเตอรท์ ่ีใชเ้ ขยี นโปรแกรมในยคุ ที่ 2 นี้ คอื ภาษาแอสแซมบ ลี้ (Assembly) ซึ่งเป็นภาษาที่ใช้สัญลักษณ์แทนคำสั่งต่าง ๆ ทำให้เขียนโปรแกรมได้ง่ายกว่าภาษาเครื่องเครื่อง คอมพวิ เตอร์ในยุคนี้ เชน่ IBM 1620,IBM 401, Honeywell อุปกรณ์ : ใช้ทรานซสิ เตอร(์ Transistor) แทนหลอดไฟสูญญากาศ หนว่ ยวัดความเรว็ : วัดเป็นมลิ ลิวินาที ( Millisecond) ตวั อย่างภาษาคอมพิวเตอร์ : ภาษาแอสแซมบลี (Assembly) , ภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN) ตัวอย่างเคร่อื งคอมพิวเตอร์ : IBM 1620, IBM 1401, CDC 6600, NCR 315 , Honey Well

4 ยคุ ที่ 3 (The Third Generation) ปี ค.ศ. 1965 – 1970 เครอ่ื งคอมพิวเตอรท์ ี่ถูกพัฒนามาใช้ในยุคนเี้ ปน็ วงจรรวม หรือ เรยี กว่าไอซี (IC : Integrated Circuit) ซ่ึง เป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่ถูกบรรจุลงในแผ่นซิลิคอน (silicon) บาง ๆ ที่ เรียกว่า ซิป (Chip) ในซิปแต่ละตัวจะ ประกอบด้วยวงจรอิเล็กทรอนิกส์หลายพันตัว จึงทำให้คอมพิวเตอรม์ ีขนาดเล็ลงกว่าเดิมแต่ความเร็วในการทำงาน สงู ข้นึ ความเรว็ ในการทำงานเปน็ 1/106 วนิ าท่ี (ไมโครเซคค่ัน) กนิ ไฟน้อยลง ความรอ้ นลดลงปละประสทิ ธภิ าพใน การทำงานเพิ่มขึ้น แต่ก่อนที่คอมพิวเตอร์จะเป็นวงจรรวม คอมพิวเตอร์จะถูกออกแบบเพื่อใช้กับงานแต่ละอย่าง เช่น ใช้ในงานคำนวณหรือใช้กับงานธุรกิจ เมื่อคอมพิวเตอร์ถูกพัฒนามาใช้วงจรรวมก็สามารถใช้กับงานที่ซับซ้อน ไดม้ ากขนึ้ IBM 360 เป็นหนึ่งในคอมพิวเตอร์ที่ใช้วงจรรวมที่สามารถทำงานได้ทั้งการประมวลผลแฟ้มข้อมูล และ วิเคราะห์ค่าทางคณิตศาสตร์ ต่อมาบรษิ ทั DEC (Digital Equiptment Corporation) ไดห้ ันมามุง่ ผลติ คอมพิวเตอร์ ขนาดเล็ก เพื่อหลีกเลี่ยงการแข่งขันกับ IBM มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer) จึงถูกพัฒนาขึ้นเป็นครั้งแรก ในช่วงยุคที่ 2 และนิยมใช้กันแพร่หลาย DEC ได้แนะนำมินิคอมพิวเตอร์เครื่องแรก และ PDP1 เป็นหนึ่งใน มินิคอมพิวเตอร์ยุคแรกที่นิยมใช้กันแพร่หลายโดยเฉพาะในกลุ่มของนักวิทยาศาสตร์ นักวิศวกร และนักวิจัยตา ม มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีทางดา้ นซอฟตแ์ วรก์ เ็ กิดขึ้น โปรแกรมมาตรฐานไดถ้ กู เขยี นขึ้นเพ่ือใชง้ านกับคอมพิวเตอร์ ท่ีเปน็ วงจรรวม และใช้เครอ่ื งมาหลงั จากทีไ่ ด้มีการปรับปรุงทางด้านฮารด์ แวร์ อุปกรณ์ : ใช้วงจรแบบไอซี (IC) ซึ่งเป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่ถูกบรรจุลงในแผ่น ซิลิกอน ( Silicon)ท่ี เรยี กวา่ Chip หน่วยวดั ความเรว็ : วดั เปน็ ไมโครวนิ าที ( Microsecond) ตัวอย่างภาษาคอมพวิ เตอร์ : COBOL , PL/1 , RPG , BASIC ตวั อยา่ งเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ : IBM 360 , CDC 3300 , UNIVAC 9400 BURROUGH 7500 , PDP1 ยุคที่ 4 (The fourth Generation) ปี ค.ศ. 1971 ในยคุ นี้ได้มกี ารพฒั นาเอาวงจรรวมหลาย ๆ วงจรมารวมเปน็ วงจรขนาดใหญ่ เรยี กวา่ LSI (Large Scalue Integrated) ลงในซปิ แต่ละอัน บรษิ ัทอนิ เทล (Intel) ไดส้ ร้างไมโครโปรเซสเซอร์ (Microprocessor) ซ่ึงเป็นซิป 1 อัน ทปี่ ระกอบดว้ ยวงจรท้ังหมดทต่ี ้องใช้ในการประมวลผลโปรแกรม ไมโครโปรเซสเซอร์ซิปทีใ่ ช้ในเคร่ืองพีซี (PC : Personal Computer) มีขนาดกระทัดรัดประกอบด้วยส่วนประกอบของ ซีพียู (CPU) 2 ส่วน คือ หน่วยควบคุม (Control Unit) และหน่วยคำนวณและตรรก (Arithmetic / Logic Unit)

5 ปจั จุบันได้มีการสร้างวงจรอเิ ล็กทรอนิกส์หลายหมื่นวงจรรวมอย่ใู นซปิ เดียว เป็นวงจร LSI (Large Scalue Integrated) และ VLSI (Very Large Scale Integrated) ในยุคนี้ได้มีการสร้างเครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ ได้แก่ ไมโครคอมพิวเตอร์ มินิคอมพิวเตอร์ เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ และซุปเปอร์ คอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะเครอ่ื งไมโครคอมพิวเตอรไ์ ด้รับความนิยมมากเพราะมีขนาดเล็ก กระทดั รัดและราคาถูก แต่มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ทำงานเร็วขึ้น ความเร็วในการทางานเป็น 1/109 วินาที (นาโนเซคคั่น) และ 1/1012 วินาที (พิโคเซคคั่น) นอกจากนี้วงจร LSI ยังได้ถูกนำไปใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่เป็นการลด ค่าใช้จา่ ยพรอ้ มกบั เพิ่มประสทิ ธิภาพในการทำงาน อุปกรณ์ : ใช้ระบบ LSI ( Large Scale Integrated ) ซึ่งเป็นวงจรทีป่ ระกอบด้วยทรานซิสเตอร์หลายพนั ตวั และต่อมา ได้รบั การพฒั นาปรบั ปรุงเปน็ VLSI ซ่ึงก็คือ Microprocessor หรือ CPU หนว่ ยวดั ความเรว็ : วัดเปน็ นาโนวินาที ( Nanosecond) และพโิ ควินาที (Picosecond) ตวั อย่างภาษาคอมพิวเตอร์ : ภาษาปาสคาล (PASCAL) , ภาษาซี (C) ตัวอย่างเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ : IBM 370 ระบบเลขฐานท่ใี ช้ในคอมพวิ เตอร์ มนุษย์ติดต่อสื่อสารทางคณิตศาสตร์ด้วยระบบเลขฐานสิบ ซึ่งเป็นที่รู้จักและใช้กันอย่างแพร่หลายทั่วโลก แต่ระบบคอมพิวเตอร์การทำงานภายในเครื่องคอมพิวเตอร์จะใช้ระบบเลขฐานสอง เพราะอุปกรณ์ภานในเครื่อง คอมพิวเตอร์เป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ใช้สัญญานณไฟฟ้าในการทำงาน และมีการทำงาน 2 สภาวะ คิชือ กระแสไฟฟ้าเปิด (ON) และกระแสไฟฟ้าปิด (OFF) มีการเช่ือมโยงเลขฐานสองซึ่งมีตวั เลข สองตัวคือ 0 และ 1 เข้า กบั สวะดงั กลา่ ว โดยการกำหนดให้กำหนดให้กระแสไฟฟ้าเปดิ (ON) แทนดว้ ย 1 และกระแสไฟฟ้าปดิ (OFF) แทน ด้วย 0 เพื่อให้เข้าใจการทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ สำหรับการทำงานคำสั่งหรือโปรแกรมต่างๆ ซึ่งจะใช้ เลขฐานสองทำงานจึงไม่สะดวก จึงนำเลขฐานอื่นมาใช้ร่วมด้วย เช่น เลขฐานแปด เลขฐานสิบหก เป็นต้น เพื่อให้ คอมพวิ เตอรท์ ำงานได้อยา่ งรวดเร็วและมีประสิทธภิ าพมากทสี่ ดุ ในระบบคอมพวิ เตอรม์ กี ารใชเ้ ลขฐานอยู่ 4 ระบบ คอื 1. ระบบเลขฐานสอง (Binary Number System) 2. ระบบเลขฐานแปด (Octal Number System) 3. ระบบเลขฐานสิบ (Decimal Number System) 4. ระบบเลขฐานสิบหก (Hexadecimal Number system) ตัวเลขที่คนเราใช้ในชีวิตประจำวันคือเลขฐาน 10 ประกอบด้วยตัวเลขจำนวน 10 ตัว คือ เลข 0 ถึงเลข 9 เหตุผลที่คนเราใชเ้ ลขฐาน 10 อาจเปน็ เพราะวา่ มนษุ ย์เรามีนิ้วมืออยู่ 10 น้ิว จึงนำมาใชเ้ ปน็ เครือ่ งมือช่วยในนับเลข หรอื การคำนวณ แต่สำหรบั การประมวลผลในคอมพิวเตอร์จะใชร้ ะบบเลขฐานสอง ท่ีประกอบดว้ ยตวั เลข 2 ตัว คือ

6 เลข 0 และเลข 1 เพราะภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยวงจรอิเลคทรอนิกส์ ที่มีหลักการทำงานแ บบ ดิจิตอล และใช้ระดับแรงดนไฟฟ้า 2 ระดับ คือ สวิตซ์เปิด (on) กับสวิตซ์ปิด (off) โดยกำหนดให้สถานะของการ \"เปิด\" แทนดว้ ยเลข \"0\" และ\"ปิด\" แทนดว้ ยเลข \"1\" ซง่ึ เลขฐานสองจำนวนหนึ่งหลัก เราเรยี กวา่ \"บิต\" นอกจากนี้คอมพิวเตอรย์ ังมีการใช้งานตัวเลขฐานอืน่ ๆ อีก คือ เลขฐานแปด ที่ประกอบด้วยตวั เลข 8 ตัว คือ 0 ถึง 7 และเลขฐานสบิ หก ทป่ี ระกอบดว้ ยตัวเลข 0 ถึง 9 และตวั อักษรอกี 6 ตวั คือ A, B, C, D, E และ F ซ่ึงมี คา่ เท่ากับเลข 10 ถงึ 15 1).เลขฐานสอง คือตัวเลขที่มีค่าไม่ซ้ำกันสองหลัก ( 0 และ 1) เป็นเลขฐานเดียวที่เข้ากันได้กับ Hardware ของเครื่อง คอมพิวเตอร์ได้โดยตรง เพราะการใช้เลขฐานอื่น จะสร้างความยุ่งยากให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์อย่างมาก เช่น เลขฐานสิบมีตัวเลขที่เป็นสถานะที่ต่างกันถึง 10 ตัว ในขณะที่ระบบไฟฟ้ามีเพียง 2 สถานะ ซึ่งในช่วงเวลาหนึง่ ๆมี เพียงสถานะเดยี วเทา่ น้ัน แตล่ ะหลกั ของเลขฐานสอง เรยี กวา่ Binary Digit (BIT) 2).เลขฐานแปด เลขฐานแปด มคี วามสมั พันธก์ บั เลขฐานสอง คอื เลขฐานสองจำนวน 3 หลัก แทนดว้ ยเลข ฐานแปด 1 หลัก ดังนั้นเราจึงสามารถเขียนเลขฐานสอง 6 บิท แทนด้วยเลขฐานแปด 2 บิท การใช้เลข ฐานแปดแทนเลขฐานสองทำใหจ้ ำนวนบิทสั้นลง 3).เลขฐานสิบ คือตัวเลขทม่ี คี า่ ไมซ่ ้ำกันสบิ หลัก (0,1,2,…,9) เป็นเลขฐานทีม่ นุษยค์ นุ้ เคยและใช้ในชีวิตประจำวันมากที่สุด ตัวเลขที่มีจำนวนมากกว่า 9 ให้ใช้ 10 ซึ่งเป็นการกลับไปใชเ้ ลข 1 และ 0 อีก เพียงแต่ค่าของ 1 เปลี่ยนไปเป็น 10 เท่าของตัวมันเอง เช่น 333 (สามร้อยสามสิบสาม) แม้จะใช้ตัวเลข 3 ทั้งหมด แต่ตำแหน่งของตัวเลขย่อมมี ความหมายตามตำแหน่งของแต่ละหลักนั้น กล่าวคือ หลักหน่วยน้อยกว่าหลักสิบ 10 เท่า หลักสิบน้อยกว่าหลัก ร้อย 10 เท่า ตามลำดับ 4).เลขฐานสบิ หก เลขฐานสิบหก มคี วามสัมพันธก์ บั เลขฐานสอง คือ เลขฐานสองจำนวน 4 หลัก แทนด้วย เลขฐานสบิ หก 1 หลัก ดังนั้นเราจึงสามารถเขียนเลขฐานสอง 8 บิทแทนด้วยเลขฐานสิบหก 2 บิท การใช้ เลขฐานสิบหกแทนเลขฐานสองทำให้จำนวนบิทสัน้ ลง

7 โครงสรา้ งขอ้ มูล (Data Structure) ในการนำขอ้ มูลไปใช้น้นั เรามีระดบั โครงสรา้ งของข้อมลู ดังน้ี บิต (Bit) คือ ข้อมูลที่มีขนาดเล็กท่ีสุด เป็นข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอรส์ ามารถเข้าใจและนำไปใช้ งานได้ ซึ่งไดแ้ ก่ เลข 0 หรือ เลข 1 เทา่ นั้น ไบต์ (Byte) หรือ อักขระ (Character) ได้แก่ ตัวเลข หรือ ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์พิเศษ 1 ตัว เช่น 0, 1, …, 9, A, B, …, Z และเครื่องหมายตา่ งๆ ซงึ่ 1 ไบตจ์ ะเท่ากบั 8 บิต หรอื ตัวอักขระ 1 ตัว เป็นตน้ ฟิลด์ (Field) ได้แก่ ไบต์ หรือ อักขระตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไปรวมกันเป็นฟิลด์ เช่น เลขประจำตัว(ID) ชื่อ พนักงาน(name) เป็นตน้ เรคคอร์ด (Record) ได้แก่ ฟิลด์ตงั้ แต่ 1 ฟลิ ด์ ขึน้ ไป ทม่ี คี วามสัมพันธเ์ ก่ียวขอ้ งรวมกันเปน็ เรคคอรด์ เช่น ชื่อ นามสกลุ เลขประจำตวั ยอดขาย ข้อมลู ของพนกั งาน 1 คน เปน็ 1 เรคคอร์ด ไฟล์ (Files) หรือ แฟ้มข้อมูล ได้แก่ เรคคอร์ดหลายๆ เรคคอร์ดรวมกัน ซึ่งเป็นเรื่องเดียวกัน เช่น ข้อมูล ของประวัติพนักงานแตล่ ะคนรวมกันท้ังหมดเป็นไฟล์หรอื แฟม้ ขอ้ มลู เกย่ี วกับประวตั พิ นักงานของบริษัท เป็นตน้ ฐานขอ้ มลู (Database) คอื การเก็บรวบรวมไฟลข์ อ้ มลู หลายๆ ไฟล์ที่เกยี่ วข้องกันมารวมเขา้ ด้วยกนั เช่น ไฟลข์ อ้ มลู ของแผนกต่างๆ มารวมกนั เปน็ ฐานขอ้ มูลของบริษทั เปน็ ตน้ การวดั ขนาดข้อมลู ในการพิจารณาว่าขอ้ มูลใดมขี นาดมากน้อยเพียงไร เรามหี นว่ ยในการวดั ขนาดของข้อมูลดงั ตอ่ ไปน้ี 8 Bit = 1 Byte 1,024 Byte = 1 KB (กิโลไบต)์ 1,024 KB = 1 MB (เมกกะไบต์) 1,024 MB = 1 GB (กกิ ะไบต)์ 1,024 GB = 1TB (เทระไบต์)

8 ประเภทของคอมพิวเตอร์ พฒั นาการทางคอมพวิ เตอร์ไดก้ ้าวหน้าไปอย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง จากอดตี เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ท่ี ใช้หลอดสญุ ญากาศขนาดใหญ่ ใช้พลังงานไฟฟ้ามาก และอายุการใช้งานต่ำ เปลย่ี นมาใช้ทรานซิสเตอร์ที่ทำจากชิน ซลิ กิ อนเล็ก ๆ ใช้พลังงานไฟฟ้าต่ำ และผลติ ไดจ้ ำนวนมาก ราคาถูก ต่อมาสามารถสร้างทรานซิสเตอร์จำนวนหลาย แสนตวั บรรจุบนช้ินซิลิกอนเล็ก ๆ เป็นวงจรรวมทเ่ี รียกว่า ไมโครชิป (microchip) และใช้ไมโครชปิ เป็นช้ินสว่ นหลกั ที่ประกอบอยู่ในคอมพวิ เตอร์ ทำให้ขนาดของคอมพิวเตอรเ์ ลก็ ลง ไมโครชิปทีม่ ีขนาดเล็กน้ีสามารถทำงานไดห้ ลายหน้าท่ี เช่น ทำหนา้ ที่เปน็ หน่วยความจำสำหรับเก็บข้อมูล ทำหน้าที่เป็นหน่วยควบคุมอุปกรณ์รับเข้าและส่งออก หรือทำหน้าที่เป็นหน่วยประมวลผลกลาง ที่เรียกว่า ไมโคร โพรเซสเซอร์ ไมโครโพรเซสเซอร์ หมายถึงหน่วยงานหลักในการคิดคำนวณ การบวกลบคูณหาร การเปรียบเทียบ การดำเนินการทางตรรกะ ตลอดจนการสั่งการเคลื่อนข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง หน่วยประมวลผลกลางน้ี เรียกอีกอย่างว่า ซพี ียู (Central Processing Unit : CPU) การพัฒนาไมโครชิปที่ทำหน้าที่เป็นไมโครโพรเซสเซอร์มีการกระทำอย่างต่อเนื่องทำให้มีคอมพิวเตอร์รุ่น ใหม่ ๆ ทีด่ ีกวา่ เกดิ ขึน้ เสมอ จงึ เป็นการยากทจ่ี ะจำแนกชนดิ ของคอมพวิ เตอร์ออกมาอย่างชดั เจน เพราะเทคโนโลยี ได้พัฒนาอย่างรวดเร็ว ขีดความสามารถของคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กอาจมีประสิทธิภาพสูงกว่าคอมพิวเตอร์ขนาด ใหญ่ แต่อย่างไรก็ตามพอจะจำแนกชนิดคอมพิวเตอร์ตามสภาพการทำงานของระบบเทคโนโลยีท่ีประกอบอยู่และ สภาพการใชง้ านได้ดังนี้ 1. ไมโครคอมพวิ เตอร์ (micro computer) 2. สถานีงานวิศวกรรม (engineering workstation) 3. มนิ คิ อมพวิ เตอร์ (mini computer) 4. เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (mainframe computer) 5. ซเู ปอรค์ อมพิวเตอร์ (super computer) 6. ไมโครคอมพวิ เตอร์ (Microcomputer) การประยุกตใ์ ชง้ านของคอมพิวเตอร์ 1 การประยุกต์ใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบัน ได้มีการนำมาใช้ในหลายสาขาวิชาชีพ ทั้งในด้าน การศกึ ษา ดา้ นธุรกิจอตุ สาหกรรม ด้านการแพทย์ ด้านวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพ่อื อำนวยความสะดวกในการ ประกอบธุรกิจ การทำงาน การศึกษาหาความรู้ ทำให้คุณภาพชีวิตของคนในสังคมปัจจุบันดีขึ้น นอกจากนี้ หน่วยงานราชการต่างๆ ก็นำเทคโนโลยีสารสนเทศและ ระบบคอมพิวเตอร์ เข้ามาอำนวยความสะดวกให้กับ ประชาชน ในการติดต่อประสานงานกบั ทางราชการ และในธรุ กิจเอกชนทางดา้ นการโรงแรม และการท่องเที่ยว ก็ ให้บริการข้อมลู ขา่ วสาร และบรกิ ารลูกคา้ ผ่านทางระบบอนิ เทอรเ์ นต็ ทำไดอ้ ย่างสะดวกรวดเรว็ ทนั เหตุการณ์

9 ประยกุ ต์ใชใ้ นงานด้านการศกึ ษา เทคโนโลยีสารสนเทศที่นำมาใช้สำหรบั การเรียนการสอน เป็นการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่หลายอย่าง สอน ดว้ ยสอื่ อุปกรณ์ท่ีทันสมยั หอ้ งเรยี นสมยั ใหม่ มอี ุปกรณ์วดิ ีโอโปรเจคเตอร์ (Video Projector)มีเคร่ืองคอมพิวเตอร์ มีระบบการอ่านข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์แบบตา่ ง ๆ รปู แบบของส่อื ทีน่ ำมาใช้ในด้านการเรียนการสอน กม็ ีหลากหลาย ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมในการนำมาใช้ เช่น คอมพิวเตอร์ช่วยสอน อิเล็กทรอนิกส์บุค วิดีโอเทเล คอนเฟอเรนซ์ ระบบวิดีโอออนดีมานด์ การสืบค้นขอ้ มลู ในคอมพิวเตอร์ และระบบอนิ เทอร์เนต็ เป็นตน้ - คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เป็นการนำเอาเทคโนโลยี รวมกับการออกแบบโปรแกรมการสอน มาใช้ช่วยสอน ซึ่งเรียกกันโดยทั่วไปว่าบทเรียน CAI ( Computer - Assisted Instruction ) การจัดโปรแกรมการสอน โดยใช้ คอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน ในปัจจุบันมักอยู่ในรูปของสอื่ ประสม (Multimedia) ซง่ึ หมายถงึ นำเสนอไดท้ ั้งภาพ ข้อความ เสียง ภาพเคลื่อนไหวฯลฯ โปรแกรมช่วยสอนนี้เหมาะกับการศึกษาด้วยตนเอง และเปิดโอกาสให้ผู้เรียนสามารถ โต้ตอบ กบั บทเรียนได้ตลอด จนมผี ลป้อนกลบั เพื่อให้ผูเ้ รยี นรู้ บทเรียนไดอ้ ยา่ งถูกต้อง และเขา้ ใจในเนื้อหาวิชาของ บทเรียนนน้ั ๆ - การเรียนการสอนโดยใชเ้ ว็บเป็นหลัก เป็นการจัดการเรียน ที่มีสภาพการเรียนต่างไปจากรูปแบบเดมิ การเรยี นการสอนแบบน้ี อาศยั ศักยภาพและความสามารถของเครือขา่ ยอนิ เทอร์เนต็ ซึ่งเป็นการนำเอาสือ่ การเรียน การสอน ที่เป็นเทคโนโลยี มาช่วยสนับสนุนการเรียนการสอน ให้เกิดการเรียนรู้ การสืบค้นข้อมูล และเชื่อมโยง เครือขา่ ย ทำใหผ้ ูเ้ รยี นสามารถเรยี นได้ทุกสถานที่และทุกเวลา การจัดการเรียนการสอนลักษณะนี้ มีชื่อเรียกหลาย ช่ือ ได้แก่ การเรียนการสอนผ่านเว็บ (Web-based Instruction) การฝกึ อบรมผา่ นเว็บ (Web-based Trainning) การเรียนการสอนผ่านเวิล์ดไวด์เว็บ (www-based Instruction) การสอนผ่านสื่อทางอิเล็กทรอนิกส์ (e- learning)เป็นตน้ - อิเล็กทรอนิกส์บุค คอื การเกบ็ ข้อมูลจำนวนมากด้วยซีดีรอม หนึง่ แผน่ สามารถเกบ็ ข้อมูลตัวอักษรได้มาก ถึง 600 ล้านตัวอักษร ดังนั้นซีดีรอมหนึ่งแผ่นสามารถเก็บข้อมูลหนังสือ หรือเอกสารได้มากกว่าหนังสือหนึ่งเล่ม และที่สำคัญคือการใช้กับคอมพิวเตอร์ ทำให้สามารถเรียกค้นหาข้อมูลภายในซีดีรอม ได้อย่างรวดเร็วโดยใช้ดัชนี สืบค้นหรือสารบัญเรื่อง ซีดีรอมจึงเป็นส่ือที่มีบทบาทต่อการศึกษาอย่างยิ่ง เพราะในอนาคตหนังสือต่าง ๆ จะ จัดเกบ็ อยูใ่ นรปู ซดี ีรอม และเรียกอา่ นดว้ ยเครื่องคอมพวิ เตอร์ ท่เี รยี กวา่ อิเล็กทรอนิกสบ์ คุ ซีดรี อมมขี อ้ ดีคือสามารถ จัดเก็บ ข้อมูลในรปู ของมัลตมิ เี ดยี และเมอ่ื นำซีดีรอมหลายแผ่นใส่ไว้ในเคร่อื งอา่ นชดุ เดียวกนั ทำให้ซดี รี อมสามารถ ขยายการเก็บข้อมูลจำนวนมากยิ่งข้ึนได้ - การสืบค้นข้อมูล (Search Engine) ปัจจุบันได้มีการกล่าวถึงระบบการสืบค้นข้อมูลกันมาก แม้แต่ใน เครือข่ายอินเทอร์เน็ต ก็มีการประยุกต์ใช้ไฮเปอร์เท็กซ์ในการสืบค้นข้อมูล จนมีโปรโตคอลชนิดพิเศษที่ใช้กัน คือ World Wide Web หรอื เรยี กวา่ www. โดยผใู้ ชส้ ามารถเรียกใช้โปรโตคอล

10 การประยกุ ต์ใช้งานของคอมพิวเตอร์ 2 ประยุกต์ใช้ในงานทะเบียนของสถานศึกษา - งานรับมอบตวั ทำหน้าที่ตรวจสอบหลักฐานที่นักศึกษานำมารายงานตัว จากนั้นก็จัดเก็บประวัติภูมิหลงั นกั ศึกษา เช่น ภมู ิลำเนา บดิ ามารดา ประวตั กิ ารศกึ ษา ทนุ การศึกษา ไวใ้ นแฟ้มเอกสารขอ้ มูลประวตั ินักศึกษา - งานทะเบียนเรียนรายวิชา ทำหน้าที่จัดรายวิชาที่ต้องเรียนให้กับนักศึกษา ในแต่ละภาคเรียนทุกชั้นปี ตามแผนการเรียนของแตล่ ะแผนก แลว้ จัดเกบ็ ไว้ในแฟ้มขอ้ มลู ผลการเรียน - งานประมวลผลการเรียน ทำหน้าที่นำผลการเรียนจากอาจารย์ผู้สอนมาประมวลในแต่ละภาคเรียน จากน้นั ก็จดั เก็บไวใ้ นแฟ้มเอกสารขอ้ มูลผลการเรียน และแจ้งผลการเรียนใหผ้ ้ทู ี่เกี่ยวข้องทราบ - งานตรวจสอบผู้จบการศกึ ษา ทำหนา้ ท่ีตรวจสอบรายวิชา และผลการเรียน ท่ีนกั ศกึ ษาเรียนตง้ั แต่เริ่มต้น จนกระทง่ั จบหลกั สตู ร จากแฟม้ เอกสาร ข้อมลู ผลการเรียน ว่าผ่านเกณฑ์การจบหรอื ไม่ - งานส่งนักศึกษาฝึกงาน ทำหน้าที่หาข้อมูลจากสถานที่ฝึกงาน ในแต่ละแห่งว่าสามารถรองรับจำนวน นักศึกษาที่จะฝึกงานในรายวิชาต่าง ๆ ได้เป็นจำนวนเท่าใด จากนั้นก็จัดนักศึกษา ออกฝึกงานตามรายวิชา ให้ สอดคล้องกบั จำนวนที่สถานประกอบการต้องการ ประยกุ ต์ใช้ในหา้ งสรรพสนิ คา้ และสาขายอ่ ย เนอ่ื งจากห้างสรรพสนิ ค้า เปน็ ศูนย์การคา้ ขนาดใหญ่ มีอยหู่ ลายสาขาท่ีจดั จำหน่ายอยู่ทั่วประเทศ มีซัพพลายเออร์กว่าพันราย และมีพนักงานอยู่หลายพันคน ดังนั้นข้อมูลทีเ่ กี่ยวขอ้ ง และการตัดสินใจต้องทำอย่าง รวดเร็วเพื่อให้ทันต่อเหตกุ ารณ์ ดังนั้นการที่ต้องใช้เทคโนโลยีจึงเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ การใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ และเครื่องอ่านบาร์โค้ดจึงมีความจำเป็นฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศจะเป็นฝ่ายสนับสนุน สิ่งสำคัญที่สุดคือ เราต้อง ให้ความมั่นใจได้ว่า ระบบจะต้องทำงานได้ไม่มีปัญหาขัดข้อง ปัจจุบันระบบการเชื่อมต่อห้างสรรพสินค้าจะเป็น แบบสอง ลักษณะคือในต่างจังหวัดจะใชก้ ารเชื่อมต่อผ่านดาวเทยี ม ในกรุงเทพจะใช้การเชื่อมตอ่ แบบออนไลน์ ซึ่ง จะมีการรับส่งข้อมูลกันทุกวัน ในส่วนของไอที นอกจากจะต้องทำให้ระบบ สามารถทำงานได้ตลอดเวลาแล้ว ยัง ต้องมั่นใจด้วยว่าขอ้ มลู ที่รับส่งกนั นัน้ มีความถูกต้อง ซึ่งในแต่ละวันมีข้อมลู มาก ที่จะต้องผา่ นการประมวลผลใหแ้ ก่ ผู้บรหิ ารเพอ่ื ใช้ประกอบการตดั สนิ ใจ ไมว่ ่าจะเป็นข้อมูลยอดขายขอ้ มลู สต็อกและข้อมลู ต่างๆ ท่ี ผ้บู รหิ ารตอ้ งการ ประยกุ ตใ์ ชใ้ นงานสาธารณสุขและการแพทย์ เทคโนโลยีสารสนเทศได้รับการนำมาใช้ในการพัฒนา ด้านสาธารณสุขอย่างกวา้ งขวาง และทำให้งานดา้ น สาธารณสุขเจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว โดยกระทรวงสาธารณสุข ได้ปรับระบบการบริหารงาน และนำเทคโนโลยี สารสนเทศมาใช้ในงานต่างๆ ดงั นี้ - ดา้ นการลงทะเบยี นผู้ป่วย ตัง้ แตเ่ รม่ิ ทำบตั ร จา่ ยยา เก็บเงิน

11 - การสนบั สนุนการรักษาพยาบาล โดยการเชอื่ มโยงระบบคอมพวิ เตอร์ของโรงพยาบาล ตา่ งๆ เข้าด้วยกัน สามารถสร้างเครอื ขา่ ยข้อมลู ทางการแพทย์ แลกเปลย่ี นขอ้ มูลของผูป้ ว่ ย - สามารถให้คำปรึกษาทางไกล โดยแพทย์ผู้เชี่ยวชำนาญ เทคโนโลยีสารสนเทศ จะช่วยให้แพทย์สามารถ เหน็ หนา้ หรอื ท่าทางของผ้ปู ว่ ยได้ ชว่ ยใหส้ ง่ ข้อมูลท่ีเป็นเอกสาร หรอื ภาพเพือ่ ประกอบการพจิ ารณาของแพทย์ได้ - เทคโนโลยีสารสนเทศจะช่วยในการ ให้ความรู้แก่ประชาชนของแพทย์ หรือหน่วยงานสาธารณสุขต่างๆ เป็นไปด้วยความสะดวก รวดเร็ว ได้ผลขึ้น โดยสามารถใช้สื่อต่างๆ เช่นภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหวมีเสียงและอื่นๆ เป็นตน้ - เทคโนโลยีสารสนเทศ ช่วยให้ผู้บริหารสามารถกำหนดนโยบาย และติดตามกำกับการดำเนินงานตาม นโยบายได้ดียิ่งขึ้น โดยอาศัยข้อมูลที่ถูกต้องฉับไว และข้อมูลที่จำป็น ทั้งนี้อาจใช้คอมพิวเตอร์เป็นตัวเก็บข้อมูล ต่างๆ ทำใหก้ ารบริหารเป็นไปไดด้ ้วยความรวดเร็ว ถูกตอ้ งมากย่งิ ขึน้ - ในดา้ นการให้ความร้หู รือการเรียน การสอนทางไกล เทคโนโลยีสารสนเทศ โดยเฉพาะดาวเทียม จะช่วย ให้การเรยี นการสอนทางไกล ทางด้านการแพทยแ์ ละสาธารณะสขุ เปน็ ไปได้มากขนึ้ ประชาชนสามารถเรียนรู้พร้อม กนั ได้ทัว่ ประเทศและ ยังสามารถโตต้ อบหรือถามคำถามได้ด้วย ประยุกตใ์ ชใ้ นงานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มนักวิทยาสตร์ วิศวกรที่ต้องการศึกษาพฤติกรรมบางอย่างของสิ่งมีชีวิต รวมถึงสิ่งแวดล้อมต่างๆ เช่น ศกึ ษาการกระจายถน่ิ ที่อยู่ของนก การกระจายของแบคทีเรยี การสรา้ งอาณาจักรของมด ผ้งึ ชีวิตความเป็นอยู่ของ สัตว์ป่าต่าง ๆ การพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน ตลอดจนระบบนิเวศวิทยา ความสนใจในการจำลองความเป็นอยู่ของ สิ่งมีชีวิตได้มีมานานแล้ว เริ่มตั้งแต่ครั้ง จอห์น พอยเมน ผู้เป็นนักคณิตศาสตร์ เสนอแนวคิดการทำให้เครื่องจักร ทำงานโดยอัตโนมตั ิภายใตโ้ ปรแกรม ซงึ่ เป็นรากฐานของเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ จนถึงปจั จบุ นั เกมแหง่ ชวี ิตจึงเกดิ ขน้ึ ประยกุ ต์ใช้ในงานด้านการสื่อสารและโทรคมนาคม เทคโนโลยขี องการส่ือสารและโทรคมนาคมในปจั จุบนั ก้าวไกลไปมาก มีบริการมากมายทท่ี ันสมัยและตอบ รับกับการนำมาประยุกต์ใช้ในการดำเนินธุรกิจ ตัวอย่างการใช้โทรศัพท์ในปัจจุบันนี้ก็มิไดมีไว้เพียงสำหรับคุย สนทนาเพียงอย่างเดียวอีกต่อไป แต่มันสามารถช่วยงานได้มากขึ้น โดยอ้างอิงข้อมูลและการเปิ ดให้บริการของ บริษัท มีติดต่อสื่อสารผ่านดาวเทียมทั้งภาพและเสียง มีโทรศัพท์มือถือรุ่นต่าง ๆ ออกมามากมาย พัฒนาทั้ง หนว่ ยงานของภาครัฐและเอกชน เช่นเทเลคอม เอเชยี คอรป์ อร์เรชั่น จำกัด (มหาชน) ซึง่ เปน็ ผวู้ างแผนการก่อสรา้ ง และติดตั้งขยายบริการโทรศัพท์พื้นฐาน 2.6 ล้านเลขหมาย ครอบคลุมพื้นที่ในเขตกรุงเทพและปริมณฑล รวมถึง การซอ่ มบำรงุ รักษาเปน็ ระยะเวลา 25 ปี และเป็นหนง่ึ ในผูใ้ ห้บริการในปจั จบุ ัน

12 ประยุกตใ์ ช้ในงานดา้ นการออกแบบผลติ ภณั ฑ์ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศด้านการออกแบบ ได้มีการนำคอมพิวเตอร์มาช่วยในการออกแบบ ( CAD : Computer Aided Design) ออกแบบผลิตภัณฑ์ ออกแบบสินค้า และสามารถใช้คอมพิวเตอร์ช่วยควบคุม กระบวนการผลิต ( CAM : Computer Aided Menufacturing ) เช่นควบคุมอุณหภูมิ ควบคุมคุณภาพของ ผลิตภณั ฑ์ ลดแรงงาน โดยใชค้ อมพวิ เตอรค์ วบคุมหนุ่ ยนต์ทำงาน ประยุกตใ์ ช้ในสำนักงานภาครัฐและเอกชน ปัจจุบันได้มีการนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในหน่วยงานภาครัฐและเอกชนต่าง ๆ มากมาย เช่น การทำบัตรประจำตัวประชาชน การเกดิ การตาย การเสยี ภาษีอากร การทำใบอนุญาตขับรถยนต์ การจ่ายค่า สาธารณูปโภคต่างๆ การประมวลผลคะแนนเลือกตั้ง ฯลฯ เป็นต้น งานเหล่านี้ได้มีการนำระบบสำนกั งานอัตโนมตั ิ เขา้ มาใช้ เพือ่ ทำใหไ้ ด้ข้อมูลขา่ วสารที่รวดเร็ว และยังตอบสนองกับการบรหิ ารยคุ ใหม่ท่ตี ้องใช้ข้อมูลเปน็ หลักในการ บริหารจัดการ กล่าวโดยสรปุ คอื ได้มีการนำคอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยสี ารสนเทศเข้ามาใช้ในหนว่ ยงานต่าง ๆ เกือบทุก วงการ ทั้งภาครัฐและเอกชนไม่วา่ จะอยู่ในรปู ของบุคคลหรอื องค์กรใด ๆ ก็ตาม ฉะนั้นจึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมี การศึกษาทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ในหน่วยงานด้านการศึกษาก็มีความตื่นตัวและเปิดทำการเรียนการสอน ในหลักสูตรดงั กลา่ ว ท้งั ในระดับ อาชีวศึกษา และอุดมศกึ ษา และเปน็ สาขาวชิ าที่มนี กั ศึกษา ใหค้ วามสนใจ กนั มาก เนือ่ งจากยังมตี ลาดแรงงานรองรับมากน่นั เอง สว่ นประกอบของคอมพิวเตอร์ จำแนกหนา้ ท่ขี องฮารด์ แวร์ตา่ งๆ สามารถแบ่งเป็นส่วนสำคญั 4 ประเภท คอื อุปกรณน์ ำข้อมูลเข้า (Input Device) อุปกรณ์ประมวลผล (Processing Device) หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง (Secondary Storage Device) อปุ กรณ์แสดงผล (Output Device)

13 1.3.1 อุปกรณน์ ำข้อมูลเขา้ (Input Device) เป็นอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับการนำเข้าข้อมูลหรือชุดคำสั่งเข้ามายังระบบเพื่อให้คอมพิวเตอร์ประมวลผล ตอ่ ไปได้ ซงึ่ อาจจะเปน็ ตัวเลข ตัวอกั ษร ภาพนง่ิ ภาพเคล่ือนไหว เสียง เป็นต้น อุปกรณ์ประมวลผล (Processing Device) อุปกรณ์ประมวลผลหลักๆ มีดงั น้ี - ซพี ยี ู (CPU-Central Processing Unit) หนว่ ยประมวลผลกลางหรอื ซีพยี ู เรียกอีกช่อื หนงึ่ วา่ โปรเซสเซอร์ (Processor) หรือ ชปิ (Chip) นับเป็นอุปกรณท์ ี่มีความสำคัญมากทสี่ ุดของฮาร์ดแวร์ เพราะ มีหนา้ ที่ในการประมวลผลข้อมลู ท่ีผ้ใู ช้ป้อนเข้ามาทางอปุ กรณ์นำเข้าข้อมูลตามชุดคำสงั่ หรือโปรแกรมทผี่ ู้ใช้ต้องการ ใช้งาน หนว่ ยประมวลผลกลาง - หน่วยความจำหลัก (Main Memory) หรือเรียกว่า หน่วยความจำภายใน (Internal Memory) สามารถแบง่ ออกเปน็ 2 ประเภท ไดแ้ ก่ - รอม (Read Only Memory - ROM) เป็นหน่วยความจำที่มีโปรแกรมหรือข้อมูลอยู่แล้ว สามารถเรียกออกมาใช้งานได้แต่จะไม่สามารถเขียนเพิ่มเติมได้ และแม้ว่าจะไม่มีกระแสไฟฟ้าไปเลี้ยงให้แก่ระบบ ข้อมูลกไ็ ม่สูญหายไป - แรม (Random Access Memory) เป็นหน่วยความจำที่สามารถเก็บข้อมูลได้เมื่อมี กระแสไฟฟา้ หลอ่ เลยี้ งเทา่ น้ัน เมอ่ื ใดไมม่ กี ระแสไฟฟ้ามาเลย้ี งข้อมลู ที่อยู่ในหนว่ ยความจำชนดิ น้ีจะหายไปทันที

14 - เมนบอร์ด (Main board) เป็นแผงวงจรต่อเชื่อมอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับการทำงานของคอมพิวเตอร์ ทงั้ หมด ถอื ได้ว่าเปน็ หัวใจหลักของ พซี ที กุ เครื่อง เพราะจะบอกความสามารถของเครื่องว่าจะใชซ้ ีพยี ูอะไรได้บา้ ง มี ประสิทธิภาพเพียงใด สามารถรองรบั กับอปุ กรณ์ใหม่ไดห้ รือไม่ - ซิปเซ็ต (Chip Set) ซิปเซต็ เปน็ ชิปจำนวนหนึ่งหรือหลายตวั ทบี่ รรจุวงจรสำคญั ๆ ท่ชี ่วยการทำงานของ ซีพียู และติดตั้งตายตัวบนเมนบอร์ดถอดเปลี่ยนไม่ได้ ทำหน้าที่เป็นตัวกลางประสานงานและควบคุมการทำงาน ของหน่วยความจำรวมถึงอุปกรณ์ต่อพ่วงต่างทั้งแบบภายในหรือภายนอกทุกชนิดตามคำสั่งของซีพียู เช่น SiS, Intel, VIA, AMD เป็นตน้ หนว่ ยเก็บขอ้ มลู สำรอง (Secondary Storage Device) เนอื่ งจากหนว่ ยความจำหลักมพี นื้ ท่ีไมเ่ พียงพอในการเกบ็ ขอ้ มูลจำนวนมากๆ อีกทง้ั ขอ้ มลู จะหายไปเมื่อปิด เครื่อง ดงั นั้นจำเปน็ ต้องหาอุปกรณเ์ กบ็ ข้อมลู ที่มีขนาดใหญ่ขึน้ เชน่ - ฮาร์ดดิสก์ (Hard Disk) เป็นฮาร์ดแวร์ที่ทำหน้าที่เก็บข้อมูลในเครื่องคอมพิวเตอร์ ทั้งโปรแกรมใช้งาน ต่างๆ ไฟลเ์ อกสาร รวมท้งั เป็นทเ่ี ก็บระบบปฏิบตั กิ ารที่เปน็ โปรแกรมควบคมุ การทำงานของเครือ่ งคอมพวิ เตอร์ด้วย - ฟล็อบปี้ดิสก์ (Floppy Disk) เป็นอุปกรณ์บันทึกข้อมูลที่มีขนาด 3.5 นิ้ว มีลักษณะเป็นแผ่นกลมบาง ทำจากไมลาร์ (Mylar) สามารถบรรจุขอ้ มูลไดเ้ พยี ง 1.44 เมกะไบต์ เทา่ นน้ั ี - ซีดี (Compact Disk - CD) เป็นอุปกรณ์บันทึกข้อมูลแบบดิจิทัล เป็นสื่อที่มีขนาดความจุสูง เหมาะ สำหรับบันทกึ ขอ้ มูลแบบมัลตมิ ีเดีย ซดี รี อมทำมาจากแผน่ พลาสตกิ กลมบางท่ีเคลือบดว้ ยสารโพลีคาร์บอเนต (Poly Carbonate) ทำให้ผิวหน้าเป็นมันสะท้อนแสง โดยมีการบันทึกข้อมูลเป็นสายเดียว (Single Track) มีขนาด เส้นผา่ ศนู ย์กลางประมาณ 120 มิลลเิ มตร ปจั จบุ นั มีซีดีอย่หู ลายประเภท ไดแ้ ก่ ซดี เี พลง (Audio CD) วซี ีดี

15 อุปกรณ์แสดงผล (Output Device) คืออุปกรณ์สำหรับแสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ และเป็นอุปกรณ์ สง่ ออก (Output device) ทำหนา้ ทแ่ี สดงผลลัพธเ์ มื่อซีพียทู ำการประมวลผล - จอภาพ (Monitor) เป็นอุปกรณแ์ สดงผลลพั ธท์ ่ีเป็นภาพ ปัจจบุ ันแบ่งออกเปน็ 2 ชนิด คือ จอภาพแบบ CRT (Cathode Ray Tube) และ จอภาพแบบ LCD (Liquid Crystal Display) - เคร่อื งพมิ พ์ (Printer) เปน็ อุปกรณท์ ท่ี ำหน้าท่ีแสดงผลลพั ธ์ในรปู ของอักขระหรอื รูปภาพที่จะไปปรากฏ อยู่บนกระดาษ แบ่งออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่ เครื่องพิมพ์ดอตเมตริกซ์ (Dot Matrix Printer) เครื่องพิมพ์แบบ พน่ หมกึ (Ink-Jet Printer) เครือ่ งพิมพแ์ บบเลเซอร์ (Laser Printer) และพล็อตสเตอร์ (Plotter) - ลำโพง (Speaker) เปน็ อปุ กรณ์แสดงผลลัพธ์ท่ีอยู่ในรูปของเสยี ง สามารถเชอื่ มต่อกับคอมพิวเตอร์ผ่าน แผงวงจรเกี่ยวกบั เสียง (Sound card) ซึ่งมีหนา้ ที่แปลงขอ้ มูลดจิ ติ อลไปเปน็ เสยี ง

เอกสารอ้างองิ ความรู้เบอื้ งต้นเก่ยี วกับคอมพิวเตอร.์ (ออนไลน์). (2563). สบื คน้ จาก : https://www.scimath.org/lesson-technology/item/10519-2019-07-18-01-43-40


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook