Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore E - Book Parasites

E - Book Parasites

Published by knichy132, 2022-04-21 16:01:40

Description: E - Book Parasites , Study by your self.

Keywords: parasite,round worm,tape worm

Search

Read the Text Version

ปรสิต (Parasites) Diversity of life

คำนำ สำรบญั 2 ปรสติ เป็นส่งิ มีชีวติ ท่ีกอ่ ให้เกิดโรคกบั ผ้ถู กู เรื่อง หน้า อาศยั และไมส่ ามารถดารงชีวติ อยไู่ ด้ด้วยตนเอง 1. ความหมายของศพั ท์เทคนิค 3 จาเป็นต้องอาศยั อยรู่ ่วมกบั ส่งิ มชี ีวิตชนิดอืน่ 2. อาณาจกั รยโู ปรตสิ ตา 4 (host) เป็นการศกึ ษาลกั ษณะรูปร่าง ตาแหน่งท่ี 3. ไฟลมั แพลทีเฮลมินทสี 12 อยอู่ าศยั การศกึ ษาวงจรชีวติ (life cycle) อนั เป็น 4. ไฟลมั นีมาโทดา 22 ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งปรสิตและโฮสต์ (host) ใน 5. บรรณานกุ รม 29 การที่จะดารงชีวิตอยไู่ ด้ สามารถแพร่พนั ธ์ุได้ 6. คาถามทบทวน 30 และศกึ ษาวธิ ีการท่ีติดตอ่ มาสคู่ น ( mode of transmission) ณิชกานต์ กลิ่นกสุ มุ , ผศ.

3 ควำมหมำยของศพั ทเ์ ทคนิค (Meaning of Technical term) ศัพท์เทคนิค (Technical term) ท่สี ำคญั Definitive host = โฮสต์สดุ ท้าย คอื host ที่ parasite ระยะตวั เตม็ วยั (adult) อาศยั อยไู่ ด้ และ parasite สามารถแพร่ขยายพนั ธ์ุได้ Intermediate host = โฮสต์ตวั กลาง คือ host ที่ parasite ระยะตวั ออ่ น (larva) อาศยั อยไู่ ด้ และสามารถ แพร่ขยายพนั ธ์ุได้ Reservoir host = โฮสต์กกั ตนุ คือ host ทมี่ ี parasite อาศยั อยจู่ านวนมาก และสามารถแพร่กระจาย parasite นีไ้ ปสคู่ นหรือสตั ว์ได้ Accidental host = โฮสต์โดยบงั เอิญ คอื host ทมี่ ี parasite เข้าอาศยั อยโู่ ดยบงั เอญิ และ อาจจะสามารถมี ชีวติ อยเู่ ป็นไปตามวงจรชีวติ ของ parasite ชนิดนนั้ ได้

4 อำณำจกั รยโู ปรติสตำ (โปรโตซวั ) (Kingdom Euprotista (Protozoa) โปรโตซวั (protozoa) มีขนาดเลก็ สามารถดารงชีวติ ได้ 2 แบบ คอื อยไู่ ด้ด้วยตนเอง (free living) พบได้ในระบบนเิ วศท่ี มีความชืน้ ท่ีมีนา้ และ แบบท่ีสอง คือ ดารงชีวติ อยรู่ ่วมกบั สง่ิ มีชีวิตชนดิ อ่ืน เช่น แบบพง่ึ พากนั (mutualism) ตา่ งได้รับ ประโยชน์ร่วมกนั แบบอิงอาศยั (commensalism) ผ้ถู กู อาศยั ไมไ่ ด้รับประโยชน์แตไ่ ม่เสียประโยชน์เชน่ กนั และแบบปรสิต (parasite) ซงึ่ กอ่ ให้เกิดโรคกบั host ที่parasite อาศยั อยู่ โครงสร้ ำงของเซลล์ protozoa มีองค์ประกอบภายในเซลล์เหมอื นเซลล์ทวั่ ไป ประกอบด้วยเยื่อห้มุ เซลล์ (plasma membrane) ไซโทพลาซมึ (cytoplasm) ภายในมีออร์แกเนลล์หลายชนิด และมีออร์แกเนลล์ (organelles) ชนดิ พิเศษ คอื ถงุ อาหาร (food vacule) คอน แทร็คไทล์แวคลิ โอล (contractile vacuole) การหายใจและการขบั ถา่ ยใช้วิธีการแพร่ผา่ น plasma membrane การเคลอ่ื นท่ี ของ protozoa ใช้เท้าเทียม (pseudopodium) เป็นการเคลือ่ นที่แบบอมีบา (amoeboid movement) protozoa บางชนิดใช้ แฟลเจลลมั (flagellum) และซเี ลยี (cilia) protozoa ท่ีมีซเี ลยี เรียกวา่ ซลิ เิ อต (ciliate) และพวกที่มีแฟลเจลลมั เรียกวา่ แฟล เจลเลต (flagellate) การสบื พนั ธ์ุของ protozoa ถ้าเป็นแบบไมอ่ าศยั เพศจะเป็นการแบง่ ตวั แบบ binary fission ได้เป็นสอง สว่ นเทา่ ๆ กนั แตบ่ างชนิดสามารถแบง่ แบบ multiplication และบางชนิดใช้วิธีการแตกหนอ่ (budding) ในการสบื พนั ธ์แุ บบ

โปรโตซวั 5 ในการสบื พนั ธ์ุแบบอาศยั เพศของ protozoa มี 2 แบบ คือ คอนจเู กชน่ั (conjugation) พบในพวก ciliate และแบบซนิ แกมี (syngamy) มีการสร้างเซลล์สืบพนั ธ์ุ 2 ชนดิ และมาปฏิสนธิ (fertilization) เพ่ือให้ได้ไซโกต (zygote) ที่มีการเจริญและพฒั นา ตอ่ ไป วงจรชีวิตหรือวฏั จกั รชีวิต (life cycle) มี 2 แบบ คอื แบบซบั ซ้อนและไมซ่ บั ซ้อน โดยแบบไมซ่ บั ซ้อน จะประกอบด้วย active phase และซสี ต์ (cyst) หรืออาจไมม่ ี cyst การเกิด cyst เรียกวา่ encystment จะชว่ ยให้มีชีวติ อยใู่ นสภาวะไม่ เหมาะสมได้ และมีการสร้างผนงั ห้มุ เซลล์ แบบท่ีซบั ซ้อน จะมี active phase ประมาณ 2 ระยะ และมีระยะที่เป็น reproductive phase เป็ นการสืบพนั ธ์ุแบบอาศยั เพศ เช่น พลาสโมเดยี ม (Plasmodium) ซง่ึ ทาให้เกิดโรคไข้จบั สน่ั หรือ มาเลเรีย (malaria) กำรจำแนกชนิดโปรโตซัว (Classification of the protozoa) มีการจาแนกโปรโตซวั เป็ น 7 ไฟลมั และที่สาคญั ที่กอ่ ให้เกิดโรคในคน มี 4 ไฟลมั คอื 1. Phylum Euglenozoa : Trypanosoma 2. Phylum Retortamonada : Giardia 3. Phylum Rhizopoda : Entameoba 4. Phylum Apicomplexa : Plasmodium

โปรโตซวั 6 ภาพที่ 1 วงจรชีวติ ของ Entameoba histolitica อมีบำ (Amoeba) (ที่มา : https://microbiologynote.com/entamoeba-histolytica-life- Entamoeba histolytica อยใู่ นผนงั ลาไส้ของคน กินเม็ด cycle-transmission-disease-diagnosis-treatment/) เลือดเป็นอาหาร โดยเจาะเข้าสผู่ นงั ลาไส้ ทาให้เลอื ดออก แผล บริเวณนนั้ เกิดการอกั เสบ มีมกู เลอื ดออกมาเวลาขบั ถ่าย cyst จะ ออกมากบั อจุ จาระและปนเปื อ้ นมากบั อาหาร ทำใหเ้ กิดโรค amoebic dysentery สำมำรถสร้ำง cyst ภำยใน cyst จะมีกำรแบ่งตวั แบบ mitosis ต่อมำ cyst จะแตก ออกและไดโ้ ทรโฟซอยด์ ( trophozoite) จำนวน 4 เซลล์ อยู่ ภำยในท่อทำงเดินอำหำร ต่อมำเชือ้ นีจ้ ะเดินทำงไปที่ liver และไป ตำมสว่ นต่ำง ๆ ของร่ำงกำยของโฮสต์ และ cyst นีจ้ ะออกไปกบั อจุ จำระและปนเปื้อนกบั น้ำและอำหำรผำ่ นทำงแมลงวนั หรือรบั โดยตรงจำกโฮสต์หนึ่งไปสอู่ ีกโอสต์หนึ่ง (ภาพที่ 1 )

โปรโตซวั 7 Giardia lamblia เป็นพวก flagellate ในวงจรชีวติ มีทงั้ trophozoite และ cyst อาศยั อยใู่ นลาไส้เลก็ สว่ นดโู อดีนมั (duodenum) และ ทอ่ นา้ ดี (bile duct) ของ host เชือ้ นีใ้ ช้ flagella ในการ เคล่อื นที่ไปเกิด encyst ในสว่ นของโคลอน (colon) เกิด อาการท้องร่วง เพราะมีการอกั เสบ โรคท่ีเกิดเรียก giardiasis เชือ้ นีต้ ดิ ตอ่ โดย cyst ปนไปกบั อจุ จาระ และเข้า สู่ host ใหม่ผ่านทางนา้ และอาหาร (ภาพท่ี 2 ) ภาพท่ี 2 วงจรชีวติ ของ Giardia lamblia (ที่มา :https://www.researchgate.net/figure/Giardia-sp-life- cycle-Giardia-cysts-shed-in-the-feces-are-infectious-)

โปรโตซวั 8 Trichomonas vaginalis เป็นพวก flagellate ที่อาศยั อยใู่ นช่องคลอด (vagina) ของเพศ หญิง และในท่อทางเดนิ ปัสสาวะ (urethra) ตอ่ มลกู หมาก (prostate gland) ของเพศชาย ทาให้เกิดการอกั เสบ ในเพศหญิง ทาให้เกิดโรค vaginitis การขยายพนั ธ์ุโดยสามารถแบง่ ตวั แบบ ตามยาว (longitudinal binary fission) ในวงจรชีวิต (ภาพที่ 3, a.) ตวั เตม็ วยั เรียกวา่ ระยะ trophozoite (ภาพที่ 3, b. ) ภาพท่ี 3 (a.) วงจรชีวติ ของ Trichomonas vaginalis (ท่ีมา : https://www.semanticscholar.org/paper/Prevalence- Rate-of-Trichomonas-vaginalis-Infection-) ภาพที่ 3 (b.) ระยะ trophozoite (ท่ีมา : https://clinicalsci.info/trichomonas-vaginalis)

โปรโตซัว 9 Plasmodium spp. ที่เป็น ปรสติ ในร่างกาย ไมม่ ี organelle ในการเคลอื่ นท่ี ในวงจรชีวติ มีการสบื พนั ธ์ุ 2 แบบ มี ระยะติดตอ่ (infective stage) เรียกวา่ sporozoite ในวงจรชีวติ มีทงั้ โฮสต์ถาวร (definite host) และ โฮสต์ส่อื กลาง (intermediate host ) ใน definitive host มีการสบื พนั ธ์ุแบบอาศยั เพศ และ แบบไม่อาศยั เพศ Life cycle มี 3 ขัน้ ตอน 1. sporogony : เร่ิมจาก zygote มี chromosome 2 n แบง่ ตวั แบบ meiosis ได้ n เดียว ตอ่ มา แบง่ mitosis ได้ cell จานวน มากเรียก sporozoite (เป็ นระยะ infective stage) อยรู่ วมกนั เป็น spore ซง่ึ spore นีม้ ีเยอ่ื ห้มุ 2. schizogony: เม่ือ spore แตก ทาให้ sporozoite เข้าไปอยใู่ น host ใหม่ เจริญเป็ น trophozoite และเข้าสรู่ ะยะ gametophyte หรือ sporozoite อาจแบง่ ตวั แบบ mitosis แตย่ งั คงอยใู่ นเย่ือห้มุ อนั เดมิ เรียกช่ือใหมว่ า่ schizont และ cell ท่ี อยใู่ นนีเ้รียกวา่ merozoite เม่ือ schizont แตกออก merozoite จะเจาะเข้า cell ใหม่ เพื่อสร้าง schizont ใหม่ หรือ อาจ เปลี่ยนแปลงไปเป็ น gamete 3. gametogony : merozoite พฒั นาไปเป็ น gamete 2 ชนดิ คอื macrogamete และ microgamete ทงั้ 2 ชนดิ นี ้ เม่ือมา ปฏสิ นธิจะได้ zygote และเร่ิมเข้าสรู่ ะยะท่ี 1 ใหม่

โปรโตซวั 10 Plasmodium spp. ท่ีกอ่ ให้เกิดโรค malaria หรือไข้จบั สนั่ มี 4 ชนิด คือ P. vivax P. ovale P. malariae และ P. falciparum โดยมียงุ ก้นปลอ่ งเป็น definite host สว่ นคนเป็น intermediate host เม่อื ยงุ กดั คน จะปลอ่ ย sporozoite เข้าสกู่ ระแสเลอื ด ไปอยทู่ ่ี liver แบง่ cell ได้ schizont เม่ือ cell ของ liver แตก เซลล์ของ schizont กจ็ ะแตกออกมาด้วยและเข้าสเู่ ซลล์ตบั อื่น ๆ เพื่อสร้าง schizont อนั ใหม่ ขณะเดยี วกนั มี merozoite สว่ น หนง่ึ ออกมาอยทู่ ี่กระแสเลือด และเข้าสเู่ ม็ดเลอื ดแดง (red blood cell) เพอ่ื การเจริญเตบิ โต ตอ่ ไป การเจริญขนั้ แรกเป็นวงแหวน ตอ่ มาเป็นรูปร่างคล้าย amoeba และแบง่ เซลล์หลาย ๆ ครัง้ ตอ่ มาเซลล์เมด็ เลอื ดแดงจะแตก และปลอ่ ย merozoite ออกมา ซง่ึ จะเจาะเข้าเซลล์เม็ดเลือดแดงใหม่ และมีสว่ นหนงึ่ จะเจริญเป็ น gamete เมื่อยงุ ก้นปลอ่ งมากดั คน จะปลอ่ ยระยะ sporozoite ให้คน และได้ดดู gamete ที่อยใู่ นนา้ เลือดไปด้วย จะ เกิดการปฏิสนธิในทางเดนิ อาหารของยงุ ได้ zygote ท่เี รียกวา่ โอโอคนิ ี (ookinete) ซงึ่ เคลือ่ นทไ่ี ด้ ไปอยทู่ ีผ่ นงั ลาไส้ และแบง่ เซลล์เพ่ืม sporozoite อยใู่ น spore เม่ือเซลล์แตกจะปลอ่ ย spotozoite ออกมา และเคล่ือนย้ายไปที่ตอ่ ม นา้ ลายของยงุ และจะถกู สง่ เข้าสคู่ น เม่อื คนนนั้ ถกู ยงุ กดั

โปรโตซวั 11 ภาพท่ี 2 วงจรชีวิตของ Plasmodium vivax Plasmodium falciparum ก่อให้เกิดโรคไข้จบั สน่ั เชือ้ เข้าสู่ (ที่มา https://www.researchgate.net/figure/Plasmodium- กระแสเลอื ด แตไ่ มเ่ จาะเข้าเซลล์ของตบั จงึ รักษาหายได้ แต่ vivax-lifecycle-in-human-host-P-vivax-i) อีก 3 ชนิด จะเข้าไปหลบทเี่ ซลล์ตบั ระยะท่ีอยใู่ นเซลล์ตบั (hepatocyte) เป็นระยะพกั ตวั (incubation period) อาการของโรคคือ เกิดอาการหนาวสน่ั เพราะมีของเสยี ที่ เชือ้ นีป้ ลอ่ ยออกมาอยใู่ นเม็ดเลอื ดแดง เมือ่ เมด็ เลือดแดง แตก ของเสยี จะออกมาและทาให้เกิดอาการหนาวสนั่ และ เป็ นไข้

แพลทีเฮลมนิ ธีีส 12 Phylum Platyhelminthes สมาชกิ ในไฟลัมนี้ มีช่ือเรียกทัว่ ไปว่า หนอนตัวแบน (flat worm) ร่างกายมี สมมาตรของซีกซ้ายซกี ขวา ลักษณะลาตวั ยาว ตวั แบน มีปมประสาทสมอง บางชนิดมีอวัยวะยดึ เกาะทหี่ วั มี หลายชนิดทเี่ ป็ นปรสิตในคน ได้แก่ 1.Class Trematoda เป็ นพวกพยาธิใบไม้ (fluke) มีอวัยวะดดู เกาะ 2 อัน คือ แว่นดูดรอบปาก (oral sucker) และ แว่นดูดด้านท้อง (ventral sucker) มีรูสืบพันธ์ุและมีช่องขับถ่ายของเสียท่ลี าตัว มีท่อทางเดนิ อาหาร ลาไส้มักจะเป็ น 2 แขนง ต้องการ definitive host และ intermediate host ในวงจรชีวิต ส่วนใหญ่มีระบบ สืบพันธ์ุเพศผู้และเพศเมียแยกกันแต่ยกเว้นพยาธิใบไม้ในเลือด (Schistosoma) พยาธิใบไม้ผสมพันธ์ุ ภายในตวั เอง สามารถสร้างไข่ (egg) และสเปิ ร์ม (sperm) พยาธิใบไม้บางชนิด เซอร์คาเรียเม่ือออกจากหอยว่ายน้าไปสู่ intermediate host ที่เป็ นพวก arthropod และปลา ต่อมา เซอร์คาเรีย สลัดหางและเจริญเป็ นเมทาเซอร์คาเรีย (metacercaria) ซึ่งเป็ นระยะติดต่อ (infective stage) เม่ือปนเป้ื อนไปกับอาหารและน้า จะเข้าสู่ definitive host เช่น พยาธิใบไม้ในตับ (live fluke) พยาธิใบไม้ในปอด (lung fluke) และพยาธิใบไม้ในเลือด (blood fluke)

แพลทีเฮลมนิ ธีีส 13 วงจรชีวิต: ต้องการ host 2 ประเภท คอื Definitive host ทม่ี ีตัวเตม็ วัยอาศัยอยู่ และมีการสืบพันธ์ุแบบอาศัย เพศได้ และ intermediate host ทมี่ ีตัวอ่อนอาศัยอยู่ อาจมีได้หลายชนิด วงจรชีวติ เร่ิมต้นท่ี ไข่ทปี่ ฏิสนธิแล้ว ภายในมีไมราซิเดียม (miracidium) เป็ นตัวอ่อนทย่ี ังอยู่ในไข่ ไข่จะปนออกมากับอุจจาระ สามารถอย่ใู นไข่ได้ ยาวนานมาก ถ้าสภาพแวดล้อมเหมาะสม miracidium จะออกจากไข่ miracidium จะมี cilia รอบตวั ว่ายน้าได้ และ เข้าเจาะหอยฝาเดยี ว และ พัฒนาไปเป็ นตวั อ่อนระยะ สปอโรซสี ต์ (sporocyst) มีลักษณะเป็ นถุงกลวง ภายในเกดิ แบ่งเซลล์ได้เซลล์ลูกจานวนมาก ต่อมา เซลล์ เหล่าน้ีจะเจริญเป็ นตัวอ่อนระยtรีเดยี (redia) และ เซอร์คาเรีย (cercaria) เม่ือเซอร์คาเรีย ออกจากรีเดยี จะมีหางท่ี ใช้ว่ายน้าได้ ในพยาธิใบไม้บางชนิด เซอร์คาเรียเม่ือออกจากหอยว่ายน้าไปสู่ intermediate host ทเ่ี ป็ นพวก arthropod และปลา ต่อมา เซอร์คาเรีย สลัดหางและเจริญเป็ นเมทาเซอร์คาเรีย (metacercaria) ซงึ่ เป็ นระยะตดิ ต่อ (infective stage) เม่ือปนเปื้ อนไปกับอาหารและน้า จะเข้าสู่ definitive host เช่น พยาธิใบไม้ในตบั (liver fluke) พยาธิใบไม้ในปอด (lung fluke) พยาธิใบไม้ในเลือด (blood fluke) เป็ นต้น

แพลทเี ฮลมนิ ธีีส 14 พยำธิใบไม้ในตบั (lver fluke) เป็ นชนิด Opisthorchis viverrini (ภาพที่ 3)พบ ในคนแพร่ระบาดในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือและภาคเหนือ metacercaria จะพบ ท่ีกล้ามเนือ้ ท่ีตวั ปลาตะเพียนขาวและปลาสร้อย ท่ีนามาทาลาบก้ อย และส้มฟัก รับประทานแบบไม่สกุ ตวั เต็มวยั (ภาพที่ 4)จะอาศยั อย่ใู นตบั มีในตับมากทาให้ เกิดตบั แข็งและตายได้ ภาพที่ 3 วงจรชีวิตของ Opisthorchis viverrini ภาพที่ 4 Opisthorchis viverrini ในระยะตัวเตม็ วัย (ท่ีมา: https://www.researchgate.net/figure/The-three-host- (https://commons.wikimedia.org/wiki/File:Opisthorchi life-cycle-of-Opisthorchis-viverrini-modified-after- s_viverrini_morfologia.png) 69_fig1_308098465)

แพลทีเฮลมนิ ธีีส 15 ภาพท่ี 5 Paragonimus westermani ในระยะตัวเตม็ วัย พยำธิใบไม้ในปอด (lung fluke) เป็ นชนิด Paragonimus westermani (ภาพที่ (ทม่ี า:https://ortholibrary.in/orthoPharmaHome) 5) มี first intermediate host คอื หอยทากนา้ จืด และ second intermediate host คอื ปนู า้ จืดและก้งุ นา้ จืด โดย cercaria ออกจากหอยและเข้าไปอาศยั อย่ใู นเหงือก และกล้ามเนือ้ ของปนู า้ จืดและก้งุ นา้ จืด เมื่อ definitive host รับประทานปแู ละก้งุ ดงั กล่าวแบบไม่สกุ cyst จะเข้าส่ทู างเดินอาหารและตวั อ่อนจะเคลื่อนท่ีไปอย่ทู ่ี ปอด มกั พบที่ bronchiole และกระบงั ลม เจริญเป็ นตวั เต็มวยั (adult) ที่ปอด และ มีการสร้างถุงมาหุ้มตวั เอง เกิดการอกั เสบท่ีปอด ระบบหายใจทางานไม่ปกติ ไข่ พยาธิปนอยใู่ นเสมหะ และปะปนมากบั อจุ จาระ ตวั อ่อนระยะ miracidium จะเข้า อย่ใู นหอยนา้ จืด และมีระยะ cercaria ท่ีสามารถเจาะเข้าไปอย่ใู นปนู า้ จืด เช่น ปู นา ปนู า้ ตก ระยะติดตอ่ (infective stage) คือระยะ metacercaria เป็ น cyst ท่ี เจริญอยใู่ นตวั ปดู งั กลา่ ว คนตดิ พยาธินีเ้พราะชอบรับประทานปดู ิบ (ภาพท่ี 6)

แพลทเี ฮลมนิ ธีีส 16 ภาพที่ 6 วงจรชีวิตของ Paragonimus westermani (ท่ีมา: https://www.researchgate.net/figure/Life-cycle-of- Paragonimus-westermani-Source-Figure-10-24-from- Noble-et-al-1989_fig1_327632791 )

แพลทีเฮลมนิ ธีีส 17 พยำธิใบไม้ในเลือด (blood fluke) Schistosoma (ภาพท่ี 7) เป็ นพยาธิใบไม้ที่พบในกระแสเลือด ชนิดท่ีพบในคนมี 3 ชนิด คอื 1. Schistosoma mansoni พบอยใู่ นเส้นเลือด (blood vessels) ที่ลาไส้ใหญ่ (large intestine) 2. Schistosoma japonicum พบอยใู่ นเส้นเลอื ดดา(vein) ที่ลาไส้เลก็ (small intestine) 3. Schistosoma haematobium พบอยใู่ นเส้นเลอื ดดา ของกระเพาะปัสสาวะ (urinary bladder) Schistosoma มีเพศแยก และเพศเมยี จะฝังอยใู่ นร่องของเพศผู้ แวน่ ดดู ท่ีท้องมีขนาดใหญ่ (ภาพท่ี 8) วงจรชีวิตของ Schistosoma มีดงั นี ้เมื่อไข่ออกจากเพศเมีย จะเข้าส่เู ส้นเลือดดา จากนนั้ เข้าส่ลู าไส้และกระเพาะ ปัสสาวะ ปนออกมากบั นา้ ปัสสาวะหรืออจุ จาระ เมื่อออกสสู่ ภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสม ไข่จะฟักออกมาเป็ น miracidium และเข้าไปอย่ใู นหอยนา้ จืดฝาเดียวเพื่อพฒั นาไปเป็ น sporocyst ท่ีภายในมี cercaria ที่มีหางสองแฉก และเป็ นระยะ ติดต่อ เพราะสามารถเจาะเข้าผิวหนงั ของคน และเข้าส่กู ระแสเลือดไปที่อวยั วะภายในตา่ งๆ เช่น ปอด หวั ใจ ตบั (liver) และเส้นเลือดดา เป็ นต้น โรคท่ีเกิดเรียกว่า schistosomiasis ทาให้เกิดแผลและเป็ นฝี (abcess) และท้องร่วงมีเลือดออก ตอ่ อวยั วะนนั้ ๆ ที่พยาธิอาศยั อยู่

แพลทีเฮลมนิ ธีีส 18 ภาพที่ 7 Schistosome ในระยะตวั เตม็ วยั ภาพท่ี 8 วงจรชีวิตของ Schistosoma spp. (ที่มา :https://owlcation.com/stem/Life-History- (ท่ีมา :https://www.vedantu.com/question- of-the-Blood-Fluke-Schistosoma-sp) answer/human-infection-of-blood-fluke-)

แพลทเี ฮลมนิ ธีีส 19 2. Class Cestoda : พยำธิตวั ตดื (tape worm) มีรูปร่างลกั ษณะยาวคล้ายริบบนิ ้ ลาตวั แบง่ เป็ น 3 สว่ น คือ สว่ นหวั เรียก สโคเลก็ ซ์ (scolex) คอ (neck) และสโทรอบลิ า (strobila) ไมม่ ี ระบบทางเดินอาหาร มีระบบประสาท มที ่อรวบรวมของเสีย มีอวยั วะสบื พนั ธ์ุทงั้ เพศผ้แู ละเพศเมีย อย่ใู นตวั เดยี วกนั สามารถสร้างไขแ่ ละสเปิ ร์มได้ เหมือนพยาธิใบไม้ จึงเป็ นเพศรวม ยกเว้นบางชนิดเป็ นเพศแยก การปฏิสนธิอาจในตวั เดียวกนั อาจต่างปล้องกนั หรือในปล้องเดีย วกนั หรือจบั คผู่ สมพนั ธ์ุกนั เมื่อไขถ่ กู ปลอ่ ยออกมากบั อจุ จาระหรือปล้องสกุ หลดุ ออกมากบั อจุ จาระ ปนเปื อ้ นลงสสู่ ภาพแวดล้อม นา้ และดิน พยาธิตวั ตืดท่ีสาคญั ทาให้เกิดโรคในคน คือ ตวั ตดื หมู (pork tape worm : Taenia solium) และ ตวั ตืดววั (beef tape worm: Taenia saginata) ทงั้ 2 ชนิด มรี ูปร่างคล้ายๆ กนั แตต่ วั ตดื ววั มี intermediate host คือ ววั Taenia solium : เป็ นพยาธิตดื หมทู ่ีพบมากในท่อทางเดนิ อาหารของคน และมีหมเู ป็ นโฮสต์สื่อกลาง และคนอาจเป็ นโฮสต์ส่ือกลางได้ มี ความยาวลาตวั ประมาณ 3 เมตร หรืออาจยาวได้มากกว่านี ้ scolex มีแว่นดดู โดยรอบ 4 อนั และมีตะขอ (hook) (ภาพท่ี 9, 10) เรียงตวั โดยรอบ แต่ Taenia saginata ไม่มีตะขอ วงจรชีวิต เริ่มจากไขท่ ่ีเกิดจากการปฏสิ นธิ เจริญเป็ นตวั ออ่ นมีตะขอ 6 อนั เรียก ออนโคสเฟี ยร์ ( oncosphere ) อยใู่ นไข่ เมื่อปล้องแก่หรือปล้อง สกุ หลดุ ออกมากบั อจจุ าระ หมมู ากินปล้องนีห้ รือไข่ ตวั ออ่ น oncosphere จะออกมาและเคล่ือนท่ีไปอย่ทู ่ีกล้ามเนือ้ และเจริญเป็ นระยะที่เรียกว่า ซสี ทเิ ซอร์คสั (cysticercus)คนไทยเรียกวา่ เมด็ สาค(ู ภาพท่ี 11) ตวั ออ่ นนีจ้ ะไม่มีการพฒั นา จนกระทง่ั คนรับประทานเนือ้ หมูไม่สกุ ท่ีมีเม็ดสาคู ตวั อ่อนนีจ้ ะออกมาและเจริญเกาะอยทู่ ่ีผนงั ลาไส้จนโตเตม็ วยั (ภาพที่ 12 )

แพลทีเฮลมนิ ธีีส 20 a. b. ภาพที่ 11 เม็ดสาคทู ่ีพบในเนือ้ หมู (ท่ีมา:https://www.thebangkokinsight. ภาพที่ 10 ภาพถา่ ย (a.) scolex (b.) ลาตวั com/news/politics-general/) (ท่ีมา:hhttps://steemit.com/sciencepop/@nat.) ภาพที่ 9 Taenia solium ตวั เตม็ วยั (ที่มา:https://printmeposter.com/ poster_photo_Pork-tapeworm--)

แพลทเี ฮลมนิ ธีีส 21 ภาพที่ 12 Taenia solium ในระยะตวั เตม็ วยั (ที่มา :https://www.google.com/search?q= adult+of+%E0% B8%B4taenia.)

นธมี าโทดา 22 Phylum Nematoda เป็นพวกหนอนตวั กลม (round worm) มีรูปร่างยาวเรียวเป็ นทรงกระบอก หวั และท้ายเรียวเลก็ มีทงั้ ท่ีดารงชีวิตอยา่ งอิสระและเป็ นปรสติ มีความสมมาตรแบบ bilateral ลาตวั ไม่เป็ นปล้อง ตามลาตวั ปกคลมุ ด้วยคิวติ เคลิ (cuticle) ด้านหน้ามีช่องปากและริมฝี ปาก ปลายหางของหนอนตวั กลมจะเรียวแหลม แตเ่ พศผ้จู ะมีปลายหางจะมี อวยั วะใช้ในการยดึ เกาะ ขณะผสมพนั ธ์ุ เรียกสปิ คลู (spicule) บางชนิดเรียกเบอร์ซา (bersa) มีทอ่ ทางเดนิ อาหาร ระบบขบั ถ่ายพฒั นาแบบมีท่อและต่อม และกาจัดของเสียออกทางรูขบั ถ่ายที่ด้านหวั แต่บางชนิดอาจไม่มี จะ กาจดั ของเสียออกทางทวารหนกั หรือทางผิวลาตวั มีระบบประสาทประกอบด้วยวงแหวนและปมประสาท หนอนตวั กลมมีเพศแยก (dioecious) บางชนิดเป็ นเพศรวม (monoecious) ตวั ผ้แู ละตวั เมียมีลกั ษณะแตกต่างกนั เพศผ้จู ะใช้หางพนั ตวั เพศเมีย เพ่ือการผสมพนั ธ์ุ ไขท่ ่ีได้รับการปฏสิ นธิ ตอ่ มาจะมีตวั ออ่ นอยู่ภายในไข่ เม่ืออย่ใู นไขม่ ีการ ลอกคราบหลายครัง้ และออกมากบั อจุ จาระ ปนเปื อ้ นอยใู่ นสภาพแวดล้อมภายนอก ท่ีเป็ นปรสติ ก่อให้เกิดโรค ได้แก่ พยาธิปากขอ (hook worm) พยาธิตวั กลมปอดหนู พยาธิเขม็ หมดุ (pin worm) พยาธิไส้เดือนในลาไส้ (intestinal round worm) พยาธิตวั จี๊ด พยาธิแส้ม้า (whip worm) พยาธิปอดหนู (Rat lungworm: Angiostrongylus cantonensis) เป็ นต้น

23 หนอนตัวกลมท่เี ป็ นปรสิต พยำธิท่อี ำศัยอยู่ในลำไส้เล็กของคน Ascaris lumbricoides 1. พยาธิไส้เดือน : Ascaris lumbricoides Necator amercanus และ Necator duodenale 2. พยาธิปากขอ (hook worm) : Trichinella spiralis Trichuris trichiura Necator amercanus และ Necator duodenale Enterobius vermicularis 3. พยาธิทริคินา (trichina worm) : Trichinella spiralis 4. พยาธิแส้ม้า (whipworm) : Trichuris trichiura พยำธทิ ่อี ำศัยอยู่ในลำไส้ของสัตว์กนิ เนือ้ 5. พยาธิเขม็ หมดุ หรือพยาธิเส้นด้าย Gnathostoma spinigerum (pinworm, thread worm) : Enterobius vermicularis 6. พยาธิตวั จ๊ีด (Gnathostoma spinigerum) พยำธิท่ีอำศัยอย่ใู นปอดของหนู Angiostrongylus cantonensis

นธมี าโทดา 24 • พยำธิไส้เดอื น : ตวั เต็มวยั อาศยั อยใู่ นลาไส้เลก็ ของคน กินอาหารในลาไส้ และดดู เลือดท่ีผนงั ลาไส้ ภายในไข่มีตวั อ่อน เม่ือไขถ่ กู กินโดย definitive host ตวั ออ่ นจะออกมาและเดินทางไปท่ีอวยั วะตา่ ง ๆ และไปอาศยั อย่ทู ่ีลาไส้เล็ก และเจริญ เป็ นตวั เตม็ วยั (ภาพที่ 13 ) • พยำธิปำกขอ : Hook worm ปลายหวั จะงอไปทางด้านหลงั ของลาตวั ในอ้งุ ปากขนาดใหญ่ท่ีคล้ายฟัน (teeth) หรือ อาจเป็ นแผน่ ตดั (cutting plate) ใช้ปากเกาะดดู กินเลอื ดท่ีผนงั ลาไส้ จาทาให้เกิดโรคโลหติ าจาง (anemia) ไขอ่ อกมากบั อจุ จาระ ฟักออกมาอยตู่ ามดิน ดารงชีวิตอยไู่ ด้เอง เมือ่ พฒั นาเป็ นระยะติดตอ่ จะเจาะผวิ หนงั บริเวณงา่ มนิว้ เท้าของโฮสต์ ท่ี ไมใ่ สร่ องเท้า เข้าสกู่ ระแสเลอื ด และไปอยทู่ ี่ลาไส้เลก็ พฒั นาเป็นตวั เตม็ ไว (ภาพท่ี 14 ) • พยำธิทริคินำ: trichina worm ตดิ ตอ่ เข้าสคู่ นได้ เพราะรับประทานเนือ้ หมทู ี่ไม่สกุ ตวั ออ่ นฟักออกจากไข่ และออกจาก ตวั แม่ เข้าสู่กระแสเลือดไปเจาะเข้าที่กล้ามเนือ้ ลายท่ีแขนและขา พฒั นาเป็ น cyst มีอายุอยู่ได้หลายปี เมื่อโฮสต์ รับประทานเนือ้ หมไู มส่ กุ ท่ีมี cyst ตอ่ มาตวั ออ่ นจะออกมาจาก cyst พฒั นาเป็ นตวั เตม็ วยั และจบั คผู่ สมพนั ธ์กุ นั ในลาไส้ เลก็ (ภาพที่ 15 )

นธมี าโทดา 25 • พยำธิแส้ม้ำ : Whip worm ตวั ของพยาธิจะอ้วนและม้วนขดเป็ นวงตอนท้าย สว่ นหวั จะรูปร่างเรียวยาว ตวั เตม็ วัยจะอาศยั อยู่ ในลาไส้และไส้ตง่ิ มกั พบในเดก็ (ภาพท่ี 16) • พยำธิเข็มหมุด หรือพยำธิเส้นด้ำย : Pin worm พบมากในเด็ก ตวั เต็มวยั อาศยั อย่ใู นท่อทางเดินอาหาร เม่ือผสมพนั ธ์ุแล้ว เพศเมียจะคลานออกมาวางไข่ที่ท่ีทวารหนกั ในเวลากลางคืน จึงทาให้โฮสต์เกิดอาการคนั เมื่อเด็กเกา ไข่จะติดไปท่ีเล็บ เม่ือ เดก็ เอามือเข้าปาก ไขข่ องพยาธิจะกลบั เข้าไปในทางเดนิ อาหาร วงจรชีวิตจงึ อยกู่ บั โฮสต์เพยี ง 1 ชนิด (ภาพที่ 17 ) • พยำธิตัวจีด๊ : อยใู่ นลาไส้ของสตั ว์กินเนือ้ มี intermediate host คอื ปลา สตั ว์เลือ้ ยคลาน และสตั ว์สะเทินนา้ สะเทินบก ตวั ออ่ นจะอาศยั อยใู่ นสตั ว์เหลา่ นี ้เจริญเป็นตวั เตม็ วยั ไมไ่ ด้ คนจดั เป็น accidental host รับมาโดยบงั เอญิ เพราะทานปลาท่ีไม่สกุ คนจดั เป็ น intermediate host ตวั อ่อนจะเจาะออกจากกระเพาะอาหารของคน คลานไปตามใต้ผิวหนงั เคล่ือนท่ีไปอวยั วะตา่ ง ๆ ทาให้เกิดอาการปวดจ๊ีด ๆ สามารถไปอยทู่ ่ีเนือ้ เยื่อสมองของคนได้ และไมส่ ามารถเจริญเป็นตวั เตม็ วยั ได้ (ภาพท่ี 18 ) • พยำธิปอดหนู : Rat lungworm ก่อให้เกิดโรคเย่ือห้มุ สมองอกั เสบ คนติดเชือ้ เพราะรับประทานอาหารไม่สกุ ท่ีปรุงจากหอย หรือทาก และผกั ที่มีการปนเปื อ้ นระยะติดต่อ คนเป็ นโฮสต์โดยบงั เอิญ ถ้าพยาธิไปท่ีดวงตา จะทาให้ดวงตาบอดได้ มีโฮสต์ ตวั กลางคือ หอย และหนู ตวั เต็มวยั เพศผ้แู ละเพศเมียอย่ใู นเส้นเลือดแดงในปอดหนู ผสมพนั ธ์ุออกไข่ ตวั อ่อนฟักออกจากไข่ ปนออกมากบั อจุ จาระหนู หอยมากินอจุ จาระหนู หรือตวั อ่อนไชเข้าสหู่ อย ตอ่ มาหนกู ินหอยนี ้ ตวั อ่อนจะพัฒนาเป็ นตวั เตม็ วยั อาศยั อยทู่ ี่เส้นเลือดแดงของปอดหนู (ภาพที่ 19)

นธมี าโทดา 26 ภาพท่ี 13 วงจรชีวิตของ พยาธิไส้เดือน ภาพท่ี 14 วงจรชีวิตของพยาธิปากของ (hook worm) (ที่มา : https://medizzy.com/feed/616421) (ท่ีมา : https://www.researchgate.net/figure/The- biology-of-Hookworm-)

นธมี าโทดา 27 ภาพท่ี 15 วงจรชีวติ ของ พยาธิทริคนิ า ภาพที่ 16 วงจรชีวิตของพยาธิแส้ม้า (whipworm) (ที่มา :https://www.merckmanuals.com/en- (ที่มา :https://slidetodoc.com/lab-2-trichuris- pr/professional/multimedia/image/trichinella-) trichiura-)

นธมี าโทดา 28 ภาพท่ี 17 วงจรชีวิตของ พยาธิเข็มหมดุ ภาพท่ี 18 วงจรชีวติ ของพยาธิตวั จ๊ีด ภาพท่ี 19 วงจรชีวิตของพยาธิปอดหนู (pinworm)(ท่ีมา:https://www.researchgate.n (ท่ีมา: https://link.springer.com/) (ท่ีมา:https://www.semanticscholar.org/ et/publication/ ) paper/Angiostrongylus-cantonensis-)

บรรณำนกุ รม 29 บพิตร จารุพนั ธ์ุและนนั ทพร จารุพนั ธ์ุ. 2544.สานกั พิมพ์มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ. Borgitsh, B.J., C.E. Carter and T.N. Oeltmann. 2019. Human Parasitology. 5th ed. Academic Press. An imprint of Elsevier., United Kingdom. https://www.tci-thaijo.org/index.php/tstj/article/download/109648/86158 https://microbiologynote.com/entamoeba-histolytica-life- cycle-transmission-disease-diagnosis-treatment/ https://www.researchgate.net/figure/Giardia-sp-life-cycle-Giardia-cysts- shed-in-the-feces-are-infectious-Infection-occurs https://www.researchgate.net/figure/Plasmodium-vivax-lifecycle-in-human-host-P-vivax-is-transmitted-to-humans-by-the-bite https://www.researchgate.net/figure/The-three-host-life-cycle-of-Opisthorchis-viverrini-modified-after-69 https://commons.wikimedia.org/wiki/File:Opisthorchis_viverrini_morfologia.png https://ortholibrary.in/orthoPharmaHome https://www.researchgate.net/figure/Life-cycle-of-Paragonimus-westermani-Source-Figure-10-24-from-Noble-et-al-1989 https://owlcation.com/stem/Life-History-of-the-Blood-Fluke-Schistosoma-sp https://www.vedantu.com/question-answer/human-infection-of-blood-fluke- https://printmeposter.com/poster_photo_Pork-tapeworm--:hhttps://steemit.com/sciencepop/@nat. https://www.thebangkokinsight.com/news/politics-general/ https://www.thebangkokinsight.com/news/politics-general/ https://www.google.com/search?q=adult+of+%E0% B8%B4taenia. https://medizzy.com/feed/616421 https://www.researchgate.net/figure/The-biology-of-Hookworm- https://www.merckmanuals.com/en-pr/professional/multimedia/image/trichinella- https://slidetodoc.com/lab-2-trichuris-trichiura-: https://www.researchgate.net/publication/ https://www.researchgate.net/publication/ https://link.springer.com/) https://www.semanticscholar.org/paper/Angiostrongylus-cantonensis- https://www.semanticscholar.org/paper/Angiostrongylus-cantonensis-) https://www.tci-thaijo.org/index.php/tstj/article/download/109648/86158

ทดสอบความรู้ 30 Interactive activities for … Asst. Prof. K. Nichakant https://wordwall.net/resource/31651365 “It always seems impossible until it’s done.” (Nelson Mandela)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook