Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การเพิ่มประสิทธิภาพการบำรุงรักษาเครื่อง

การเพิ่มประสิทธิภาพการบำรุงรักษาเครื่อง

Published by DUEN_ PCY, 2022-11-09 12:36:21

Description: การเพิ่มประสิทธิภาพการบำรุงรักษาเครื่อง

Search

Read the Text Version

แบบฟอรม์ ควบคุมความปลอดภัย ใบอนญุ าตทางานในบรษิ ทั ภาพที่ 3.21 แบบฟอรม์ ควบคุมความปลอดภัย 3.7.1 ขนั้ ตอนการปฏบิ ตั ิ และรายงานตรวจสอบ  ปดิ กัน้ บริเวณ หรือแยกอุปกรณบ์ รเิ วณส่วนทปี่ ฏบิ ัติงานออกจากส่วนอนื่ ๆเรียบรอ้ ยแล้ว  ทาความสะอาดอุปกรณแ์ ละบรเิ วณใกลเ้ คยี งจนปราศจากสารเคมี น้ามันและวตั ถอุ ่ืนที่ติดไฟได้  กรณีมีการทางานกบั ไฟฟาู ไดม้ กี ารตดั สะพานไฟฟาู ทอ่ี ปุ กรณน์ น้ั และไดต้ ดิ ปาู ยเตือนเรียบรอ้ ยแลว้  อุปกรณท์ นี่ ามาใชง้ านทุกชนิ้ ตอ้ งอยูใ่ นสภาพเรยี บรอ้ ย พรอ้ มใชง้ านและปลอดภัย 46

 อุปกรณ์ปอู งกนั อันตรายสว่ นบุคคล  เคร่ืองแต่งกายเหมาะสม ไมร่ ุม่ รา่ ม  อุปกรณด์ บั เพลิงทใี่ ชจ้ ะต้องเหมาะสมและเพยี งพอกบั การทางาน  ระบบปูายแท็กเอ้าท์ (Tag Out) คือการควบคุมอันตรายท่ีอาจเกิดข้ึนกับผู้ปฏิบัติงาน จะต้องทาการ แขวนแทก็ เอ้าทไ์ ว้ท่อี ปุ กรณน์ ้นั  ระบบลอ็ คเอ้าท์ (Lock Out) เปน็ ระบบที่ใช้ในการตัดแยกอปุ กรณ์ ทเี่ ปน็ แหล่งกาเนดิ พลังงาน ภาพท่ี 3.22 ปิดก้นั พื้นที่ 47

ภาพที่ 3.23 Lock out ภาพท่ี 3.24 Tag out 48

ภาพที่ 3.25 อปุ กรณน์ ิรภัยสว่ นบคุ คล 3.7.2 ประโยชนท์ ่ไี ด้รบั จากการปฏิบัตงิ านดา้ นความปลอดภยั 3.7.2.1 ผลผลิตที่เพ่ิมข้ึน ถ้าหากผู้ปฏิบัติงานมีความม่ันใจในความปลอดภัยระหว่างการทางาน ด้วย การใช้อุปกรณ์และสถานที่ท่ีมีประสิทธิภาพ จะสามารถลดความวิตกกังวลและความรู้สึกไม่ปลอดภัยลงได้ สง่ ผลใหก้ ารดาเนนิ งานเป็นไปไดอ้ ย่างรวดเร็ว มีคณุ ภาพ รวมท้งั สามารถเพ่ิมผลผลิตโดยรวมไดม้ ากยง่ิ ขนึ้ 3.7.2.2 ต้นทุนการผลิตลดลง ในกรณีท่ีผู้ปฏิบัติงานมีความปลอดภัยในการทางานสูง นอกจากจะ สามารถลดการเกิดอุบัติเหตุและความสูญเสียในการผลิตลงได้แล้ว ผู้ประกอบการยังไม่จาเป็นต้องเพิ่มต้นทุน ให้กับค่าใชจ้ ่ายสาหรบั อบุ ตั ิเหตุท่ีอาจเกดิ ขึ้น ส่งผลใหต้ น้ ทนุ โดยรวมทีใ่ ชส้ าหรับการผลติ ลดลง 3.7.2.3 กาไรเพ่ิมข้ึน เม่ือการดาเนินงานสามารถดาเนินไปได้อย่างปลอดภัย ส่งผลให้เกิดการเพิ่มขึ้น ของผลผลิตและการลดลงของต้นทุนโดยรวม ทาให้ผู้ประกอบการมีโอกาสสรา้ งกาไรไดม้ ากยงิ่ ขึน้ ในตลาด 3.7.2.4 เปน็ ปจั จยั จงู ใจ ถา้ หากระหว่างการดาเนินงาน ผู้ปฏิบัติงานสามารถทางานได้ด้วยความม่ันใจ ในความปลอดภัยของอปุ กรณ์และเครื่องมือ จะส่งผลให้บุคคลเกิดความพร้อมในการทางาน รวมท้ังมีแรงจูงใจ ในการทางานมากยิ่งขึน้ 3.7.2.5 การรักษาทรัพยากรบุคคล การเกิดอุบัติเหตุและความผิดพลาดระหว่างการปฏิบัติงาน ท่ีอาจ นามาซึ่งความสญู เสียทั้งทางร่างกายและทรพั ยส์ ินของผู้ปฏิบัติงาน เปน็ เหตุผลหน่งึ ที่สง่ ผลให้ทรัพยากรโดยรวม ของชาตสิ ญู เสียไปด้วย การสรา้ งความปลอดภยั ในการทางานจึงมีความสาคญั อย่างยง่ิ ต่อสงั คมโดยรวม ประโยชน์ทไ่ี ดร้ ับจากการปฏิบตั ิงานดา้ นความปลอดภยั นอกจากจะสามารถช่วยเพิ่มผลผลิต เพิ่มกาไร และลดต้นทุนการผลิตลงให้กับผู้ประกอบการได้แล้ว การปฏิบัติงานโดยการใช้อุปกรณ์และสถานท่ีที่มีความ ปลอดภัย ยังเป็นปัจจัยจูงใจที่สามารถสร้างความมั่นใจในการทางานให้แก่ผู้ปฏิบัติงาน รวมทั้งสามารถรักษา ทรพั ยากรมนษุ ยโ์ ดยรวมได้เชน่ กัน 49

3.8 การบรหิ ารอะไหล่งานบารงุ รักษา การวางแผนการบรหิ ารอะไหลจ่ ะมคี วามแตกตา่ งจากการวางแผนปัจจัยการผลิตในหลายประเด็น อาทิ ระดับการใหบ้ รกิ าร (Service Level) ท่ตี อ้ งมีความพรอ้ มในการเบิกจ่ายอยา่ งรวดเร็วและความตอ้ งการช้ินส่วน หรอื อะไหลไ่ ม่แน่นอนท่ียากในการคาดการณ์ โดยทวั่ ไปชน้ิ สว่ นอะไหลแ่ ตล่ ะรายการล้วนแต่มีความหลากหลาย โดยเฉพาะการจัดเกบ็ รายการสตอ็ กท่ีหลากหลายประเภทจะส่งผลต่อข้อจากัดภาระงานของพนักงานและเกิด ขอ้ จากดั ในการบริหารจดั การ ซ่งึ เป็นไปไม่ได้ที่จะจัดสรรเวลาให้ใส่ใจกับทุกรายการเท่ากัน ดังนั้นการจาแนก กลุ่มสต็อกมีวตั ถุประสงค์เพ่ือให้เกิดค่าใช้จา่ ยในการจัดเก็บต่าสดุ หากใหค้ วามสนใจบางรายการในรายละเอียด มากเกนิ ไปจะทาให้ส้ินเปลอื งทรพั ยากรโดยใชเ่ หตุ แตห่ ากให้ความสนใจกบั บางรายการน้อยเกนิ ไปย่อมเป็นเหตุ ให้เกดิ ความสูญเสยี อยา่ งคาดไม่ถึง ทาให้จาเป็นต้องมีแนวทางปฏิบัติที่แตกต่างกันตามลาดับความสาคัญด้วย การวิเคราะห์แบบพาเรโต้หรือ ABC (ABC Analysis) โดยให้ความสาคัญกับสินค้ากลุ่ม A สูงสุด ตามด้วย B และ C ตามลาดับ ดังน้ี กลุ่ม A เปน็ สตอ็ กทีม่ ีมลู คา่ ตอ่ หนว่ ยสงู ซ่งึ มปี รมิ าณเพียงร้อยละ 15–20 ของยอดรวม แต่มีมูลค่าสูงถึง ร้อยละ 80 ทาให้มีการส่ังซื้อเฉพาะส่วนที่ขาดหรือจาเป็นด้วยการประเมินจากปริมาณที่ต้องใช้ตามแผน บารงุ รกั ษาและการประเมินความนา่ เช่อื ถือของระบบ กลมุ่ B เปน็ สตอ็ กท่ีมมี ลู ค่าตอ่ หน่วยตา่ กวา่ กล่มุ A โดยมปี ริมาณรวมรอ้ ยละ 25–30 ของยอดรวม ซึ่งมี มูลคา่ การใชง้ านราวร้อยละ 15 ควรกาหนดจุดส่ังซอ้ื คงท่ีเม่ือปริมาณสต็อกลดถึงจุดส่ังซื้อก็ให้ดาเนินการสั่งซ้ือ ลว่ งหนา้ กลุม่ C มีมลู ค่าต่อหนว่ ยน้อยท่สี ุด มีปริมาณสต็อกราวร้อยละ 50–60 (บางกรณีอาจสูงถึงร้อยละ 80) ขณะท่ีมีมูลค่าเพียงร้อยละ 5-10 ดังนั้นจึงมักใช้หลักการควบคุมด้วยสายตาด้วยระบบถาดคู่ (Two-Bin System) เพื่อกาหนดจดุ สงั่ ซ้ือ . 50

3.8.1 การจดั การอะไหลเ่ พ่ือเตรียมความพรอ้ มในการซอ่ มแซมบารุงรักษา อะไหล่คงคลงั สาหรบั 1 เคร่ือง ลาดบั รายการอะไหล่ ราคา จานวน ปริมาณ ปริมาณ คลงั การสง่ั ซ้ือ การสงั่ ซ้ือ เพอื่ ความ ปลอดภยั อยา่ ง อยา่ ง ประหยดั เหมาะสม 1 ยนั ศูนย์ NCF-No.4 35000 1 2 4 2 2 Jig Fixture 10000 2 2 4 2 3 เมด็ มีด 300 2 2 2 2 4 น้ายาหล่อเยน็ 18 ลิตร/ถงั 2990 5 5 18 18 5 Lubricant oil 200 5 5 18 18 6 UPS battery 4500 3 3 6 3 7 จาระบี 1 ถงั / 20 ลิตร 2430 1 1 2 2 8 Bearing NSK 51204 327 2 2 4 2 9 Bearing NSK 51205 214 2 2 4 2 10 น้ามนั ไฮดรอลิค 200 ลิตร/ถงั 15200 1 1 2 2 ตารางที่ 3.5 ตารางอะไหลซ่ อ่ มบารงุ เครือ่ งกลึง ซเี อน็ ซี (CNC Lathe machine) ผลลัพธ์การวิเคราะห์แบบพาเรโต้ หรือ ABC จะถูกใช้ทบทวนการตรวจสอบเพื่อพิจารณาว่าระดับ สตอ็ กทจี่ ดั เก็บไวเ้ หมาะสมหรือไม่ เช่น รายการกลุ่ม A ควรกาหนดรอบตรวจนบั ทุกสัปดาห์ รายการกลุ่ม B ทา การตรวจนับรายเดือนและรายการกลุ่ม C อาจตรวจนับรายไตรมาส การตรวจนับมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็น เอกสารทางบัญชีสาหรับแจ้งยอดสต็อกและระบุสาเหตุปัญหาสต็อกไม่ตรงกับรายการในยอดบัญชีเพ่ือระบุ แนวทางบรหิ ารอะไหล่อย่างเหมาะสม แต่เน่ืองจากกจิ กรรมบารุงรักษาประกอบดว้ ยประเภทและปริมาณข้อมูล ท่ีหลากหลาย ทาให้การจัดเก็บบันทึกข้อมูลเหล่านี้เป็นเรื่องยุ่งยากและต้องระบุวัตถุประสงค์การจัดเก็บให้ ชัดเจนเพอื่ ความเหมาะสมตอ่ การใชง้ านจรงิ การบันทึกข้อมูลมีหลายรูปแบบท่ีไม่สามารถระบุเฉพาะได้ว่าต้อง ประกอบรายละเอียดอะไรบ้าง โดยทว่ั ไปจะกาหนดแนวทาง ดงั นี้  กาหนดวธิ ีการและวัตถุประสงค์จดั เกบ็ ขอ้ มูลท่ีชดั เจนเพอื่ ใชเ้ ป็นมาตรฐานปฏบิ ัตงิ าน  บันทกึ ขอ้ มลู ทจ่ี าเป็นในการวเิ คราะหป์ ระเมนิ ผลและใชป้ รับปรุงมาตรฐาน 51

 จัดทาทะเบียนข้อมูลรายละเอียดเก่ียวกับเครื่องจักร เช่น ช่ือรุ่น ข้อมูลทางเทคนิค วันที่จัดซ้ือ ผู้จัด จาหน่าย กาหนดการตรวจเชค็ เป็นตน้  บันทึกรายละเอียดปัญหาความชารุดเสียหายอย่างถูกต้องและชัดเจนเพื่อนาข้อมูลท่ีบันทึกไปใช้งาน อย่างเหมาะสม ลาดับ รายการอะไหล่ จานวน ราคา มลู ค่า สดั สว่ นรวม สะสม กลุ่ม บาท บาท รอ้ ยละ ร้อยละ 1 ยันศูนย์ NCF-No.4 1 35000 35000 33.73 33.73 B 2 Jig Fixture 2 10000 20000 19.27 53.01 B 3 เม็ดมดี 2 300 600 0.58 53.58 A 4 น้ายาหล่อเย็น 18 ลิตร/ถัง 5 2990 14950 14.41 67.99 B 5 Lubricant oil 5 200 1000 0.96 68.96 C 6 UPS battery 3 4500 13500 13.01 81.97 B 7 จาระบี 1 ถงั / 20 ลิตร 1 2430 2430 2.34 84.31 B 8 Bearing NSK 51204 2 327 654 0.63 84.94 A 9 Bearing NSK 51205 2 214 428 0.41 84.72 A 10 น้ามนั ไฮดรอลิค 200 ลติ ร/ถงั 1 15200 15200 14.65 99.59 B รวม 102862 ตารางท่ี 3.6 ตารางจดั ลาดบั ความสาคัญของอะไหล่คงคลัง การวัดผล ดชั นีชกี้ ารดาเนินงานการจัดการอะไหล่คงคลงั ดัชนีช้วี ดั การดาเนินงานการจดั การอะไหล่คง คลัง เปน็ การวดั ผลการดาเนินงาน ในดา้ นปรมิ าณการสงั่ ซ้อื อย่างประหยดั การส่งั ซื้อที่เหมาะสม จุดส่ังซื้อ และ อะไหลค่ งคลงั เพอ่ื ความปลอดภัยของอะไหล่คงคลงั เพอ่ื สะทอ้ น ประสิทธิภาพ ประสิทธิผลในการปฏิบัติงานซึ่ง จากการตัวอย่าง ทดสอบข้อมลู ในระบบสนบั สนุนการตดั สินใจการจัดการอะไหล่คงคลงั พบว่า เคร่ืองเครื่องกลึง ซีเอ็นซี (CNC Lathe machine) สามารถทางานท่ีมีประสิทธิภาพเพ่ิมมากขึ้น มีค่าใช้จ่ายในการส่ังซื้ออะไหล่ ลดน้อยลง และมอี ะไหล่สารองทคี่ วาม เหมาะสมกับการใชง้ าน โดยทคี่ ลงั พสั ดุเพ่ือความปลอดภยั 52

บทท่ี 4 ผลการเพิม่ ประสิทธิภาพ ผลที่ได้จากการเก็บข้อมูลการศึกษาการดาเนินงานหลังจากการนา TPM มาดาเนิน กิจกรรมและหา แนวทางแก้ปัญหา หลังจากได้ทาระบบบารุงรักษาเชิงปูองกัน (Preventive Maintenance)บริหารจัดการ แผนการบารุงรักษาเชิง ปูองกันอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ตามแผนอย่างต่อเนื่องตามระยะเวลาท่ี กาหนด ความพร้อมของ เคร่ืองจักรสาหรับการผลิต ได้มากขึ้นและลดสภาพการเส่ือมของเคร่ืองจักรทาให้ เครอ่ื งจกั รขดั ข้องและหยดุ ชะงัก Down Time ลดน้อยลง และลดอะไหล่ที่จะต้องเปล่ียนตามความเส่ือมของ เครื่องจักรได้มากข้ึน ทาให้ ฝุายผลิต ผลิตงานเสร็จทันตามเปูาหมาย ท่ีได้วางไว้ จากข้อมูลเคร่ืองจักรหลังมี การนาระบบบารุงรกั ษาเชิงปอู งกนั เข้ามาใน (Preventive Maintenance) การเกบ็ รวมรวมข้อมลู การซ่อมเครื่องจักรหลังการปรับปรุง จะเป็นข้อมูลจากการแจ้งซ่อมเคร่ืองจักร และขน้ั ตอนการปฏิบตั งิ านรูปแบบใหม่ท่ีปฏบิ ตั อิ ยู่ จากนัน้ นาข้อมูลการซ่อมและข้ันตอนการปฏิบัติงานมาเพื่อ ทาการวิเคราะห์และหาแนวทางปรับปรงุ การวิเคราะหข์ ้อมลู ดาเนนิ การตามขน้ั ตอน ดังนี้  วิเคราะหข์ ้อมลู ประวตั เิ คร่อื งจกั ร  วิเคราะหข์ ้อมูลการบารุงรกั ษาประจาวนั  วเิ คราะห์ข้อมูลการแจ้งซ่อมเคร่อื งจักร 4.1 การวัดผลหลังปรบั ปรงุ การนา TPM มาปรบั ปรุงประสิทธิภาพโดยรวมของเครื่องจักร การวดั ผลจะตอ้ งรวบรวม ข้อมูลทั้งกอ่ น และหลังการปรับปรุง เพ่อื นามาเปรยี บเทยี บผลที่ไดจ้ ากดาเนนิ งานโดย ใชห้ ลกั การการบารุงรักษา TPM ตัง้ แต่ เดือน กรกฎาคม 2564 – เดือนธนั วาคม 2564 ดังแสดงจากตาราง ท่ี 4.1 4.2 การทางานของเครอื่ งกลงึ ซเี อน็ ซี (CNC Lathe machine) สถานะทางาน ปี 2564 ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. เวลาเดนิ เครอื่ งจักรทั้งหมด (ชวั่ โมง) 400 400 416 414 432 420 406.05 เวลาใช้งานเครือ่ งจกั ร (ชว่ั โมง) 351.5 357.7 380.2 397.58 417 13.95 เวลาท่เี คร่ืองจกั รเสีย (ชัว่ โมง) 48.5 42.3 35.8 16.42 15 6 จานวนครัง้ ทเี่ คร่อื งจกั รหยุด (ครั้ง) 10 6 11 5 8 ตารางที่ 4.1 การทางานของเคร่อื งกลึง ซีเอน็ ซี (CNC Lathe machine) 53

ข้อมูลจากตารางที่ 4.1 เป็นการรวบรวมระยะเวลาเดินเคร่ืองจักร เวลาใช้งาน เคร่ืองจักร เวลา เครือ่ งจักรเสีย และจานวนครัง้ ที่เครอื่ งจกั รหยุด ขอ้ มูลจากตารางเดือน ตุลาคม- ธันวาคม โดยนาหลักการการ บารุงรักษาทวีผลแบบทกุ คนมสี ่วนรว่ ม (TPM) เขา้ มาบารงุ รกั ษาเครอื่ งจักร 4.3 ตารางค่า MTBF, MTTR และ % Machine Availability ของเครอื่ งจักรแต่ละเดอื น สถานะการทางาน กอ่ นดาเนินการ ปี 2564 หลงั ดาเนินการ ก.ค. ส.ค. ก.ย. คา่ เฉล่ีย ต.ค. พ.ย. ธ.ค. คา่ เฉลย่ี MTBF (ชั่วโมง/ครงั้ ) 40.00 66.67 37.82 48.16 82.80 54.00 70 68.93 3.28 1.88 2.33 2.49 MTTR (ชัว่ โมง/ครง้ั ) 4.85 7.05 3.25 5.05 96.03 96.53 96.68 96.41 % Machine Availability 87.88 89.43 91.39 89.56 ตารางท่ี 4.2 ขอ้ มูลประสิทธิภาพโดยรวมของเครื่องจักรก่อนและหลังการปรับปรงุ จากตารางที่ 4.2 พบว่า เวลาเฉล่ียระหว่างการขัดข้องของเคร่ืองจักร ( Mean Time BetweenFailures : MT B F) หลังดาเนนิ การเดือนตลุ าคม – ธนั วาคม เฉลีย่ มีคา่ เทา่ กับ 68.93 ชั่วโมง/ครงั้ จากตารางท่ี 4.2 พบว่า เวลาเฉลี่ยการซ่อมแซมของเครื่องจักร (Mean Time to Repair: MTTR) หลังดาเนนิ การเดอื นตุลาคม – ธนั วาคม เฉลีย่ มีคา่ เทา่ กบั 2.49 ช่วั โมง/ครั้ง จากตารางท่ี 4.2 พบวา่ อัตราความพรอ้ มการใช้งานของเคร่อื งจกั ร (% Machine Availability) หลัง ดาเนินการเดอื นตุลาคม – ธันวาคม เฉล่ยี มคี า่ เท่ากบั 96.41% 4.4 การวิเคราะห์ผลหลงั การปรับปรุง หลงั จากการปรับปรุงโดยวิธีการนา TPM มาดาเนินการโดยทาการรัดผล 3 เดือนต้ังแต่ เดือน ตุลาคม 2564 ถึง ธันวาคม 2564 ทาให้สามารถยืดอายุการใช้งานของเครื่องจักรได้ยาวนาน ขึ้น สังเกตได้จากข้อมูล ดงั ต่อไปน้ี 4.4.1 เวลาเฉลีย่ ระหวา่ งการเสียหาย (MTBF) แสดงในภาพที่ 4.2 สามารถทาให้ เวลาเดินเครื่องจักร เพ่มิ ขน้ึ จากเดมิ เฉลีย่ 48.16 ชั่วโมงต่อครง้ั เพ่ิมขึ้นเปน็ 68.93 ชัว่ โมงตอ่ ครงั้ 54

ภาพที่ 4.1 ค่า MTBF ของแต่ละเดือน 4.4.2 เวลาเฉล่ยี ในการซอ่ มแซม (MTTR) แสดงในภาพที่ 4.2 สามารถทาให้เวลาเฉล่ียในการซ่อมแซม เคร่อื งจักรแตล่ ะครง้ั ลดลง จากเดมิ เฉลีย่ 5.05 ชั่วโมงตอ่ คร้ัง ลดลงเหลอื เพียง 2.49 ช่วั โมงตอ่ คร้งั ภาพที่ 4.2 คา่ MTTR ของแต่ละเดือน 55

4.2.3 อัตราการเดินเคร่ือง แสดงในภาพท่ี 4.3 สามารถทาให้อัตราการเดิน เครื่องจักรสูงขึ้นจากเดิม เฉล่ีย 89.56% เพ่ิมขึน้ เปน็ 96.41% ภาพที่ 4.3 คา่ % Machine Availability ของแต่ละเดือน การนาหลักการบารงุ รักษาเชิงปูองกันมาใช้ในการบารุงรักษาเครื่องจักรจะสามารถทาให้ อัตราความ พร้อมเดินเคร่ือง เพ่ิมข้ึน ประสิทธิภาพโดยรวมของเคร่ืองจักรสูงข้ึน ลดอัตราการเกิดเครื่องจักรหยุดชะงัก (Brake down) เพมิ่ ผลกาไรและประหยัดค่าใชจ้ ่ายในการซ่อมบารุง 56

บทท่ี 5 สรปุ ผลการดาเนินงาน ในการศึกษาเรอ่ื งการการเพ่มิ ประสทิ ธิภาพการบารุงรักษาเคร่ืองจักรในอุตสาหกรรม พบว่าการตรวจ เครื่องจกั รกอ่ นการเร่มิ งานในแต่ละวันนนั้ มคี วามจาเป็นอย่างมาก ทาใหก้ ารชารุดของเครื่องจักรนั้นลดลง รวม ไปถึงการกาหนดใหม้ กี ารตรวจเช็คเครื่องจักรในแต่ละเดือนตามแผนการตรวจเช็คเครื่องจักรท่ีมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้การมีส่วนร่วมของพนักงานในการดาเนินกิจกรรมการบารุงรักษาทวีผลแบบทุกคนมีส่วนร่วม (TPM) ของพนักงาน ด้านการปรับปรุงเพื่อลดการสูญเสีย ด้านการบารุงรักษาด้วยตนเอง ด้านการวางแผนการ บารงุ รักษา และดา้ นการใหก้ ารศึกษาและฝึกอบรม โดยรวมพนักงานมีส่วนรวมในระดับมากทุกด้าน อาจเนือง มาจาก พนักงาน ทุกคนมีส่วนร่วมและสามารถนาความสามารถมาใช้อย่างมีประสิทธิภาพ เพ่ือให้การดาเนิน ธุรกิจ บรรลุเปูาหมาย อุบัติเหตุเปน็ ศูนย์ เครอื่ งจกั รขดั ข้องเปน็ ศนู ย์ ข้อร้องเรียนเป็นศูนย์และของเสียเป็นศูนย์ เพ่ือให้ใช้เครื่องจักรและอุปกรณ์อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด ช่วยลดต้นทุนของสินค้าและสร้างบรรยากาศใน สถานที่ทางานให้ดยี ่งิ ขึน้ และจะสง่ ผลใหเ้ กดิ การพัฒนาอย่างต่อเนื่องไม่หยุดย้ังและ ทาให้เกิดความสามัคคีกัน ในหมู่คณะ ระบบการบารุงรักษาแบบทวีผลที่ทุกคนมีส่วนร่วม หรือ TPM เป็นระบบท่ีได้รับการพิสูจน์จาก หลายๆ อตุ สาหกรรมแลว้ ว่ามีผลการจัดการอย่างได้ผลใน การปรับปรุงการปฏิบัติงานให้ดียิ่งข้ึนอย่างต่อเน่ือง ซึ่งสอดคล้องกับผลงานวิจัยของสุชาติ เวสสะภักดี (2548 : บทคัดย่อ) เร่ืองความรู้และความพึงพอใจท่ีมีต่อ ระบบการบารุงรักษาทวีผลที่ทุกคนมีส่วนร่วม TPM ของพนักงานในอุตสาหกรรม กรณีศึกษาบริษัทในธุรกิจ แห่งนี้ พบวา่ ความพึงพอใจท่มี ีตอ่ ระบบการบารงุ รักษาทวผี ลทท่ี ุกคนมีสว่ นรว่ ม TPM ของพนกั งานส่วนใหญ่อยู่ ในระดับความพึงพอใจมาก ประโยชนท์ ไ่ี ดร้ ับจากการดาเนนิ งานคร้ังน้ี ทาให้สามารถลดเวลาสูญเสียและลดจานวนครั้งในการเกิด ข้อขัดข้อง เคร่ืองจักรหยุดชะงักลงได้ อัตราการเดินเคร่ืองจักรเฉลี่ยเพ่ิมสูงข้ึน อัตราคุณภาพเฉลี่ยเพ่ิมสูงขึ้น ค่าเฉลี่ยในการซ่อมแซมลดลง ถือได้ว่าเป็นประโยชน์ท่ีได้จากการวางแผนระบบการบารุงรักษาที่ดี และเป็น ประโยชน์ทางออ้ มทเี่ กิดขึ้นจากการดาเนินกิจกรรม ซึ่งได้แก่ พนักงานฝุายผลิตและฝุายซ่อมบารุงรักษามีการ ต่นื ตวั ในการทางานมากขึ้นเน่ืองจากเห็นผลการ เปลี่ยนแปลงการบารุงรักษาที่เป็นรูปธรรม มีสภาพแวดล้อม การทางานท่ดี ขี ้นึ เน่อื งจากพน้ื ท่แี ละเครอื่ งจกั รสะอาดพนักงานทางานอย่างมีระบบและมีความปลอดภัยในการ ทางานมากข้ึน เปน็ สายการผลิตตัวอยา่ งทส่ี ามารถนาไปประยุกต์ใช้กบั สายการผลิตอ่นื ได้ ข้อเสนอแนะ  ควรมีการจัดฝึกอบรมพนักงานท่ีเข้ามาทางานใหม่ให้ทราบถึงระบบการทางาน เอกสารในการ ปฏบิ ัตงิ านการบารงุ รกั ษา  เน่ืองจากเคร่ืองจักรมีอายุการใช้งานนานมาก ๆ ซ่ึงจะส่งผลให้การบารุงรักษาเพ่ิม มากข้ึน จึง ควร วางแผนการซ่อมบารงุ รกั ษาเครือ่ งจกั รให้เหมาะสม  วิธีการบารุงรักษาโดยอาศัยการวิเคราะห์ด้วยแผนแผนภูมิก้างปลาสามารถนาไป ประยุกต์ใช้กับ เครอื่ งจักรอืน่ ๆ ตลอดจนนาไปประยกุ ต์ใชใ้ นภาคอุตสาหกรรมประเภทอน่ื ๆ ได้ 57

 ควรจะส่งเสริมให้มีการจัดทากิจกรรม 5 ส ให้มากข้ึน เพื่อผูกจิตสานึกในเร่ืองของ การควบคุม คุณภาพของพนักงาน  ควรมีการควบคมุ อะไหลส่ ารองให้เหมาะสมต่อการซ่อมบารุงเพื่อลดเวลาการหยุด เครื่องจักร เพ่ือรอ อะไหล่ 58

แหลง่ อ้างอิง อา้ งอิงจาก : บรษิ ทั ผลิตอะไหล่เพลากลางรถยนตแ์ หง่ หน่ึงในจังหวดั ชลบุรี โกศล ดีศลิ ธรรม, การสร้างประสทิ ธิผลงานบารุงรักษา, ซเี อด็ ยเู คชัน่ , 2548 เษกสรร สงิ ห์ธนู “การบารงุ รักษาแผนงานเพอ่ื เพมิ่ ประสิทธภิ าพของเคร่ืองจักร กรณีศึกษาสายการบรรจุน้ายา ทาความสะอาดสุขภณั ฑ์” วศิ วกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมการผลิต, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนอื . 2550 เษกสรร สงิ หธ์ นู จกั รพนั ธ์ ปนทอง ไพฑูรย์ ขจรวฒุ ินนั ท์ชยั และ นิติกร ทุมประสทิ ธ์ิ กรณีศึกษา : อุตสาหกรรม ผู้ผลิตช้ินสวนยานยนต์ Improvement of Machinery Maintenance Efficiency in Production Line: KZL Model Gear Kick Spindle Part สาขาวิชาวิศวกรรมการจัดการอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยี อตุ สาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครนิ ทร์ ชุมพล ศฤงคารศิริ , การวางแผนและ ควบคุมการผลิต ฉบับท่ี ปรับปรุงใหม่ No. 17 สิงหาคม 2551 หน้าท่ี 133 ชุมพล ศฤงคารศริ ิ, การวางแผนและควบคุมการผลติ ฉบบั ที่ ปรับปรุงใหม่ No. 17 สิงหาคม 2551 หนา้ ที่ 81 www.ideacnc.com


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook