05 11 15 18 ท่ีอับอากาศ ใกนาพรชื้น่ วทย่อี เหับลกอืาผศู้ประสบภยั 4คู่งผาูน้รอทบ่อี รับู้ อากาศ ผเเพรูน้่อื ่อื �ำงมคอ“วทบาำ� คม”วปแาลลมอะปดล“ภนอยั �ำดฯ”ภยั คอื อะไร? (Confined Space Rescue) ให้กบั ทมี งานทกุ คน เรียบเรยี งโดย ตะวันหนาว 4 ผูร้ อบรู้ คูง่ านที่อบั อากาศ ที่อบั อากาศ คุณสุชาติ จนั ทรว์ ิเมลอื ง คื อ อ ะ ไร ? ผู ้เช่ี ยวชาญด้านสุขภาพความปลอดภัยและส่ิงแวดล้อม บริษัท Chevron Thailand Exploration and Production จ�ากัด ความสูญเสียที่เกิดขึ้นจากการท�างานในสถานที่อับอากาศท่ีผ่านมา (กใCนาoรnพชf่วin้ืนยeเdทหล่ีอSอืpบั ผacกู้ปeราRะศสesบcภuยัe) การช่วยเหลือผู้ประสบภัยในพื้นท่ีอับอากาศ มีความจ�าเป็น สถานทที่ า� งานทีเ่ กย่ี วข้องกับที่อับอากาศในปจั จบุ นั นนั้ สามารถพบได้มาก ไม่ว่าจะเปน็ บอ่ ผ้นู ำ� “ทำ� ” และ “น�ำ” เราทกุ คนทที่ า� งานในบรษิ ทั /องคก์ ร/สถานประกอบ คร้ังแล้ว ครัง้ เล่า มีผลท�าใหล้ ูกจา้ ง นายจ้างทีป่ ระสบอนั ตรายสูญเสยี ชวี ติ จากไป ตอ้ งดา� เนนิ การอยา่ งเรง่ ดว่ นระดบั ไหนและวธิ กี ารชว่ ยเหลอื เปน็ แบบใด หลุม ท่อ ถังน้�ามัน หรืออุโมงค์ เป็นต้น ซึ่งมีผู้ปฏิบัติงานจ�านวนไม่น้อยท่ีต้องเสียชีวิตจากการท�างาน เรือ่ งควำมปลอดภัยฯ การต่างๆ เรามีหน้าที่ช่วยสนับสนุนเรื่องความปลอดภัยฯ กอ่ นวยั อนั สมควร สญู เสยี ทรพั ยส์ นิ และจากการเกบ็ สถติ ิ พบวา่ ผรู้ ว่ มงาน ผชู้ ว่ ยเหลอื ฉานฉลาด บุนนาค ขน้ึ อยกู่ บั การเตรยี มการรองรบั สถานการณ ์ โดยการประเมนิ ความเสย่ี ง ในสถานที่อับอากาศ เน่ืองมาจากการปฏิบัติงานที่ไม่ถูกวิธี ดังน้ันเพื่อเป็นการลดอุบัติเหตุจากการ เพอื่ มอบควำมปลอดภัย ซึ่งต้องท�าควบคู่ไปกับหน้าที่ในต�าแหน่งงานที่เราได้รับมอบ ได้เสียชีวิต และบาดเจ็บ พิการ ทุพลลภาพ มากกว่าผู้ปฏิบัติงาน ด้วยอุบัติเหตุดังกล่าว แวผิศวนกกรผผลู ้เิตช่ีภยัณวชฑา์ญเพ่ืดอ้าคนวเาทมคปนลิคอ/ดวภิทัยยสาก่วนร บุ คคล อย่างสมเหตสุ มผล ระดบั ความเรง่ ดว่ นของการช่วยเหลือผู้ประสบภยั ท�างานในท่ีอับอากาศ เราจึงควรที่จะมีบุคคลส�าคัญ “4 ผู้” ส�าหรับการปฏิบัติงานในท่ีอับอากาศ ใหก้ ับทีมงำนทุกคน หมาย เม่ือเราท�างานใน 14 กลุ่มประเภทกิจการที่กฎ จะเกดิ ขนึ้ ตอ่ ไปอกี ถา้ หากผปู้ ฏบิ ตั งิ าน และผเู้ กย่ี วขอ้ งยงั ขาดความร ู้ ความเขา้ ใจ เกยี่ วกบั อนั ตราย บริษัท 3เอ็ม ประเทศไทย จ�ากัด พิจารณาจากคุณภาพของอากาศในพ้ืนที่อับอากาศนั้นเป็นเกณฑ์ กระทรวง ก�าหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการ และวิธกี ารท�างานในสถานทีอ่ บั อากาศทถี่ กู ต้อง และปลอดภยั ดงั นน้ั จึงใคร่ขอสรปุ เนอ้ื หามาฝากกนั กล่าวคือ ถ้าอากาศมีความเป็นพิษมาก เป็นอันตรายต่อการหายใจ Confined Space: 4 ผู้ ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมใน เพอ่ื สามารถนา� ไปปฏิบตั ไิ ดจ้ รงิ อยา่ งถูกตอ้ ง และปลอดภยั อย่างย่ิง การช่วยเหลือต้องเป็นไปอย่างเร่งด่วนโดยการเคลื่อนย้าย การท�างาน พ.ศ. 2549 ได้ระบุไว้ซึ่งมีเกณฑ์เงื่อนไขเบ้ือง ผู้ประสบภัยออกมาภายนอกพ้ืนที่อับอากาศให้ได้ภายในเวลาไม่เกิน ผูอ้ นญุ าต มีหนา้ ทอ่ี ะไร ต้นตารางด้านล่างนี้ บริษัท/องค์กร/สถานประกอบการต้อง ทอี่ คบั อื ออาะกไราศ “ท่ีอับอากาศ” หมายความว่า ที่ซ่ึงมีทางเข้าออกจ�ากัดและไม่ได้ออกแบบ 4-5 นาที แต่ถ้าคุณภาพอากาศไม่เป็นอันตรายต่อการหายใจ อาจ - ไดร้ บั มอบหมายจากนายจา้ งในการออกหนงั สอื ขออนญุ าตการทา� งานในทอ่ี บั อากาศตามที่ มีการด�าเนินการต่างๆ ภายในองค์กรให้ครอบคลุมตามกฎ ไว้ส�าหรับเป็นสถานท่ีท�างานอย่างต่อเนื่องเป็นประจ�า และมีสภาพอันตรายหรือ ไม่มีความจ�าเป็นต้องเร่งรีบน�าผู้ประสบภัยออกจากพื้นท่ีอับอากาศ กฎหมายก�าหนด กระทรวงดงั กลา่ วขา้ งตน้ อยา่ งครบถว้ น เชน่ การมเี จา้ หนา้ ท่ี มบี รรยากาศอนั ตราย เชน่ อโุ มงค ์ ถา�้ บอ่ หลมุ หอ้ งใตด้ นิ หอ้ งนริ ภยั ถงั นา้� มนั ถงั หมกั ถงั ไซโล แตท่ มี ชว่ ยเหลอื ตอ้ งทา� การประเมนิ ผปู้ ระสบภยั เบอื้ งตน้ เชน่ ผปู้ ระสบ - มอี า� นาจในการพิจารณาอนมุ ตั ใิ ห้มกี ารท�างานในทอี่ บั อากาศ จป. ระดบั ตา่ งๆ, การมหี นว่ ยงานความปลอดภยั , การมคี ณะ ท่อ เตา ภาชนะหรือส่ิงอน่ื ท่มี ลี กั ษณะคล้ายกัน ภัยหยุดหายใจหรือไม่ หรือหัวใจหยุดเต้น หรือเสียเลือดมาก เป็นต้น กรรมการความปลอดภัยฯ (คปอ.) เป็นต้น และทา� การปฐมพยาบาลทนั ท ี 15 5 11 23 27 32สส่ิมงั ทภ่เีาจษ้าณหน์พา้ เิทศ่ีคษวในาคมอปลลอมั ดนภ์ ัย กในาทร่รอี ะับบอาายกอาาศกาศ 18 (CONFINED SPACE ลา้ งท�ำความสะอาด ระดับวชิ าชีพควรทำ� VENTILATION) 34 ถเปังลน่ยี ้�ำนมงนั านยยุคาก4ใ.ห0้เป็น งานง่าย New Normal for Workplace สมั ภำษณ์พิเศษในคอลัมน์ ใกนาทรร่อี ะบับาอยอาากกาาศศ ในสถานประกอบกจิ การ (CONFINED SPACE VENTILATION) สง่ิ ทเ่ี จา้ หนา้ ทคี่ วามปลอดภยั NN EO WR M A L ถลา้ งงั ทนา� ค้า� วามมสนั ะอาดยุค 4.0 ระดบั วชิ าชพี ควรทา� FOR WORKPLACE เปล่ียนงานยากให้เป็นงานง่าย โดยอาจารยโ์ สภณ พงษ์โสภณ ในสถานประกอบกิจการ ดร.วินเซน อาลอยซีอุส ไทยแลนด ์ 4.0 เปน็ กลยทุ ธท์ ถ่ี กู กลา่ วถงึ มากทส่ี ดุ ในประเทศไทย นายสทุ ธิศักด์ิ เพ็งสลุง วินยั ลฐั ิกาวบิ ูลย์ ประธานเจ้าหน้าท่ีบริหาร รัฐบาลได้มุ่งพัฒนาต้นแบบทางธุรกิจเพื่อพัฒนาท้ังในแง่เศรษฐกิจ ความ ท่ีปรึกษาอาวุโส บริษัท อินทรี อีโคไซเคิล จ�ากัด เป็นอยู่ทีด่ ที างสงั คม คณุ คา่ ทรพั ยากรมนุษย์ และการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม บริษัท เอ็นพีซี เซฟต้ี แอนด์ เอ็นไวรอน Tel: +662 797 7000 ระเบยี งเศรษฐกจิ ตะวันออก (Eastern Economic Corridor: EEC) นับ เมนทอล เซอร์วิส จ�ากัด Email: [email protected] ว่าเป็นหวั ใจของการซอื้ ขาย ลงทุน การขนสง่ ในระดบั ภูมภิ าค และยงั เป็น http://www.inseeecocycle.com ประตยู ุทธศาสตรส์ ภู่ มู ภิ าคเอเชยี ภายใตแ้ ผนไทยแลนด์ 4.0 การระบายอากาศในทอ่ี บั อากาศ (Confined space ventilation) เปน็ มาตรการความปลอดภยั ทนี่ า� มาใชเ้ พอื่ ทา� ให ้ ระเบียงเศรษฐกิจตะวันออกเป็นที่ต้ังของนิคมอุตสาหกรรม “บรรยากาศอนั ตราย” ในทอ่ี บั อากาศหรอื Confined space นนั้ หมดไป แตจ่ ะมวี ธิ กี ารหรอื มาตรฐานใดๆ มาใชเ้ ปน็ แนวทาง มาบตาพดุ ซงึ่ เปน็ แหลง่ อตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมขี นาดใหญ ่ ขอ้ มลู จากคณะ Q: อาจารย์มคี วามคิดเหน็ อย่างไรบา้ งครบั เพอ่ื ใหม้ น่ั ใจวา่ ผปู้ ฏบิ ตั งิ านทอี่ ยภู่ ายในจะมอี ากาศทเ่ี พยี งพอตอ่ การหายใจและลดความเสยี่ งไดบ้ า้ ง ซง่ึ ผเู้ ขยี นไดพ้ ยายามคน้ ควา้ กรรมการส่งเสริมการลงทุนระบุว่า อุตสาหกรรมปิโตรเคมีในโครงการ เกย่ี วกบั สงิ่ ทเี่ จา้ หนา้ ทค่ี วามปลอดภยั ระดบั วชิ าชพี ควรทา� เอกสารที่เกยี่ วขอ้ งมาน�าเสนอแลกเปล่ียน โดยจะนา� เสนอตอ่ ไป พัฒนาพื้นที่บริเวณชายฝั่งทะเลตะวันออก หรืออีสเทิร์น ซีบอร์ด มีก�าลัง Confined space จัดว่าเป็นท่ีท�างานท่ีมีความเส่ียงอันตรายสูงอาจท�าให้ผู้ปฏิบัติงานเสียชีวิตอันเน่ืองมาจาก การผลิตราวร้อยละ 94 ของทั้งประเทศ โดยหลายโรงงานตั้งอยู่ในเขต A: ตามความเหน็ ผมมี 7 ประเดน็ ดงั น้คี รบั “บรรยากาศอนั ตราย” ทอ่ี ยู่ภายใน Confined space ซึ่งมีเพชฌฆาต 3 ตวั ท่ีท�าให้เสียชีวิตมากทีส่ ดุ ตามล�าดับ ได้แก่ อุตสาหกรรมมาบตาพดุ 1. เจา้ หนา้ ทคี่ วามปลอดภยั ระดบั วชิ าชพี ตอ้ งไมท่ า� ตวั เปน็ ผตู้ ดั สนิ ใจเกยี่ วกบั Safety วา่ จะ 1. การขาดออกซิเจน ไม่น่าแปลกใจหากจะพบว่าแผนไทยแลนด์ 4.0 จะผูกพันใกล้ ทา� อะไรและจะไม่ทา� อะไร เพราะจะท�าให้เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยระดับวิชาชพี เป็นเจ้าของ Safety 2. สารไวไฟ ชิดกับอุตสาหกรรมปิโตรเคมี ซึ่งถูกระบุว่าเป็น 1 ใน 10 อุตสาหกรรม ซ่ึงจะท�าให้เจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยระดับวิชาชีพไม่มีพลังขับเคล่ือนต่อ ไม่ว่าจะเป็นกรณีท่ีต้องให้ผู้ 3. สารเคมีอันตรายหรอื สารพษิ เป้าหมายท่ีจะได้รบั การสนับสนนุ ในระเบียงเศรษฐกิจตะวนั ออก โดยองค์ มอี า� นาจลงนามอนุมัติ หรือด�าเนินการได้เองโดยไมต่ อ้ งขออนมุ ัต ิ ด้วยเหตเุ พราะการด�าเนินการใดๆ โดยกฎหมายไดก้ า� หนดไวว้ า่ “บรรยากาศอนั ตราย” คอื สภาพบรรยากาศการทา� งานทอี่ ยา่ งหนง่ึ อยา่ งใดตอ่ ไปน ้ี คอื ประกอบสา� คญั ของแผนไทยแลนด ์ 4.0 คอื การนา� เทคโนโลยสี มยั ใหมม่ าใช้ เรื่อง Safety ส่วนใหญ่มักต้องประสานบุคคลอื่นๆ มาดา� เนินการทง้ั สิน้ โดยเฉพาะในส่วนท่เี กย่ี วข้อง 1. มปี ริมาณออกซเิ จนต่า� กว่า 19.5% และมากกวา่ 23.5% โดยปรมิ าตร ควบคู่กับทรัพยากรบคุ คล เพ่อื ลดตา� แหนง่ งานของแรงงานทกั ษะต�่า กบั กฎหมาย กรณที ตี่ อ้ งประสานบคุ คลภายในมกั จะไมไ่ ดร้ บั ความรว่ มมอื เพราะเขามคี วามรสู้ กึ วา่ ถกู 2. มีปรมิ าณสารไวไฟมากกว่า 10% LEL 3. มีปรมิ าณสารเคมอี ันตรายเกินกวา่ ค่า TLV หรอื PELของสารเคมีแต่ละชนิด 23 ดงั นัน้ การท่ีจะจดั การกบั เพชฌฆาต 3 ตวั ใหไ้ ด ้ น่นั ก็คือ การนา� หลกั การระบายอากาศในท่อี ับอากาศ (Confined space ventilation) มาใช้ (ซึ่งก่อนหน้าน้ีจะต้องมีการตัดแยกพลังงานหรือสาร หรือ Isolation system เรียบร้อยแล้ว) ซึ่งในกฎกระทรวงฯ อับอากาศ 2547 ได้ก�าหนดไว้ว่าจะต้องด�าเนินการตรวจวัดสภาพอากาศท้ังก่อนและระหว่างท�างานใน Confined space และหากตรวจพบบรรยากาศอนั ตรายจะต้องท�าการระบายอากาศ เพอ่ื ใหบ้ รรยากาศอนั ตรายนัน้ หมดไป 32 รบกวนใหท้ า� งานใหเ้ จา้ หนา้ ทคี่ วามปลอดภยั ระดบั วชิ าชพี โดยทเี่ ขากม็ งี านประจา� อยแู่ ลว้ และการท่ี ผูบ้ ริหารทีม่ ีอ�านาจลงนามอนมุ ัติให้ดา� เนินการไดน้ นั้ ก็มิได้เปน็ คา� ส่ังตอ่ เนอื่ งถงึ บุคคลอน่ื แต่อย่างใด 27 49 34 40 44 เก็บรักษาสารเคมี 53 55 คอลัมน์ จป.มอื โปร คอลัมน์ จป.วยั ทีน อันตรายอยา่ งไร คณุ อนสุ รณ์ พนิ ธุ คุณหทัยรตั น์ ศรจี นั ทกึ ใน Warehouse พิลาทีส TOSH NEWS ใหป้ ลอดภัย ขา่ ว สสปท. ผูจ้ ัดการฝ่ ายความปลอดภัย เจ้าหน้าท่ีความปลอดภัย นานาสาระ บรษิ ัท ข้าว ซี.พี.จ�ำกดั ในการท�ำงาน (ระดบั วชิ าชีพ) บรษิ ัท พอี เี อน็ เอ็น โฮลดิ้ง จ�ำกัด TOSH NEWS จป.มอื โปร เก็บรกั ษา พลิ าทสี 01 จัดอบรมเทคนคิ PILATES การท�างานในท่อี บั อากาศอยา่ งปลอดภัย คณุ อนสุ รณ์ พินธุ (นูน) สำรเคมีอนั ตรำยอย่ำงไร (CONFINED SPACE TECHNIQUE) รุ่นท่ี 3 ใน Warehouse พิลาทีส (Pilates) การออกก�าลังกายประเภทนี้อาจจะเป็นสิ่ง นางสาวชวนัญญส์ รณ์ สงิ หห์ ล้า 1. ประวัติ ที่หลายๆ คนยังไม่คุ้นเคยหรืออาจจะเคยได้ยินกันมาบ้างแล้ว แต่จริงๆ Pilates Specialist & Pilates Master Trainer สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ให้ปลอดภัย แล้วอาจไม่รู้จักมันดีนักและหลายคนก็คิดว่าพิลาทีสก็คือโยคะหรือคง We Fitness Society ในการทา� งาน (องค์การมหาชน) จดั อบรมในหัวข้อ “เทคนิคการทา� งาน การศึกษา : ป.ตร ี อาชีวอนามยั และความปลอดภัย ม.วลัยลกั ษณ์ คล้ายๆกัน พิลาทีสคืออะไรแตกต่างกับการออกก�าลังกายทั่วไปอย่างไร Thailand ในท่ีอับอากาศอย่างปลอดภัย” (Confined Space Technique) ป.โท วศิ วกรรมความปลอดภยั ม.เกษตรศาสตร ์ (บางเขน) ในปัจจุบันสถานประกอบกิจการจ�าเป็นต้องมีการจัด ทา� ไมไดห้ ลายคนจงึ ไดห้ ลงใหลในการฝกึ พลิ าทสี และในสถานทกี่ า� ลงั กาย รุ่นที่ 3 เพ่ือส่งเสริมและพัฒนาการเรียนรู้ด้านความปลอดภัย และ ประวัติการทา� งาน : ปี 2548-ปจั จบุ ัน เก็บสารเคมีอันตรายไว้ภายในโรงงานเพื่อด�าเนินกระบวนการ และฟิตเนสระดับหา้ ดาวในเมืองไทยหลายแห่ง จึงใหค้ วามส�าคัญกับการ อาชีวอนามัย และสร้างความตระหนักให้เกิดจิตส�านึก พฤติกรรมใน บริษัท ขา้ ว ซ.ี พ.ี จา� กดั อายุงาน 15 ปี ผลิตต่างๆ หรือส่งต่อให้สถานประกอบกิจการอื่น โดยจะเห็น ออกก�าลังกายศาสตร์นี้ และบรรจุเป็นคลาสออกก�าลังกายท่ียอดฮิ ด้านความปลอดภัยให้แก่เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการท�างานทุก ตา� แหน่งปัจจุบัน ผูจ้ ัดการฝ่ายความปลอดภัย ได้ว่ามีข่าวเก่ียวกับอันตรายท่ีเกิดจากการเก็บรักษาสารเคมี ตในกลุ่มผู้หญิง และมีจ�านวนผู้ฝึกผู้ชายที่มากขึ้นรวมถึงเป็นที่ต้องการ ระดับ นายจ้าง ลูกจ้าง ในสถานประกอบกิจการ สามารถน�าองค์ความ รับผดิ ชอบงานดา้ นความปลอดภยั อันตรายภายในสถานประกอบกิจการเกิดข้ึนมาก เช่น การรั่ว ของเหลา่ ทมี นกั กีฬา รู้ไปขยายผลลงสู่การปฏิบัติให้มีความต่อเน่ืองและเกิดเป็นรูปธรรมอย่าง และการบรหิ ารความเส่ียงสายธุรกิจขา้ ว ไหลในสถานประกอบกิจการ หรือหกร่ัวไกลระหว่างการขนส่ง พิลาทีสคือ การออกก�าลังกายที่เน้นการสร้างความแข็งแรง ชัดเจน โดยจดั อบรมขึน้ เมอ่ื วนั ท่ี 6 มนี าคม 2563 ณ โรงแรมรอยลั รเิ วอร ์ กลมุ่ ธุรกจิ การคา้ ระหวา่ งประเทศ เป็นต้น ซึ่งอันตรายท่ีเกิดจากการเก็บรักษาสารเคมีอันตราย ของแกนกลาง (Core body/ Core muscles) รว่ มดว้ ยกบั การจดั สรรี ะ กรุงเทพมหานคร วทิ ยากรโดย นายสชุ าต ิ จันทรว์ เิ มลอื ง เครอื เจริญโภคภัณฑ์ อยา่ งไมป่ ลอดภยั นไี้ มเ่ พยี งแตก่ อ่ ใหเ้ กดิ อนั ตรายตอ่ ผปู้ ฏบิ ตั งิ าน และปรบั กระดกู สนั หลงั ใหเ้ ปน็ ใกลเ้ คยี งทส่ี ดุ ตามหลกั กายวภิ าคศาสตร์ ประวตั ิการอบรม : - เทคนิคการพฒั นาระบบบริหารจดั การ จป.วัยทนี ภายในสถานประกอบกจิ การนน้ั แตย่ งั กอ่ ใหเ้ กดิ อนั ตรายตอ่ สงิ่ หรือท่ีเรียกว่า Neutral Alignment เพ่ือให้เกิดความสมดุลของ ร่วมการฝึกซอ้ มดับเพลงิ 02 ความปลอดภยั ฯใหไ้ ดม้ าตรฐานสากล แวดลอ้ มภายนอก หรือชุมชนการอยอู่ าศัยใกล้เคยี ง ดังเห็นใน และฝึกซอ้ มอพยพหนไี ฟ ประจา� ปี 2563 และอุบัตเิ หตุให้เป็นศนู ย์ คุณหทัยรตั น์ ศรจี ันทกึ ภาพข่าวทว่ั ไป 53 วันพุธที่ 4 มีนาคม 2563 นายวรานนท์ ปีติวรรณ ผู้อ�านวยการสถาบัน - การก�าจดั พฤตกิ รรมเสยี่ ง (อาเฟิร์น) 49 ส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�างาน พร้อม - การประเมินความเสีย่ งทางด้านการยศาสตร์ ด้วยผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ เข้าร่วมการฝึกซ้อมดับเพลิงและฝึกซ้อมอพยพหนี - ระบบการจัดการ 5ส (Thailand 5S award) ชือ่ -สกลุ : นำงสำว หทัยรตั น์ ศรีจนั ทึก ไฟ ประจ�าปี 2563 ณ อาคารกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน (ส่วนแยก - วิศวกรรมปอ้ งกนั อัคคีภยั ชอ่ื เลน่ : อำเฟริ น์ ตล่ิงชัน) การฝึกซอ้ มนป้ี ระกอบด้วยหน่วยงานท่อี ยู่ในพืน้ ที่เดียวกนั อีก 4 หน่วย - โปรแกรมการพฒั นาระบบบริหารจดั การเพื่อความยั่งยืน อำยุ : 25 ปี งาน ไดแ้ ก ่ กองความปลอดภยั แรงงาน สา� นกั งานสวสั ดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน - ระบบการบริหารความตอ่ เนือ่ งทางธุรกิจ (ISO 22301) สถำบันกำรศกึ ษำ/คณะ/ชน้ั ปี : กรงุ เทพมหานครพน้ื ท ี่ 7 ศนู ยค์ วามปลอดภยั ในการทา� งานเขต 11 และสมาคมสง่ - ผู้จดั การสิ่งแวดล้อม บัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสขุ ศาสตร์ หลักสตู รอาชีวอนามัย เสริมความปลอดภยั และอนามยั ในการทา� งาน (ประเทศไทย) ในพระราชูปถัมภ ์ - การบริหารความเสี่ยงองคก์ ร และความปลอดภัย มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีสรุ นาร ี ซึ่งทั้ง 5 หน่วยงานได้ร่วมกันจัดข้ึนทุกปี เพื่อให้บุคลากรมีความรู้ ทักษะ และ ประสบกำรณ์ท�ำงำน/ฝกึ งำน จป. วชิ ำชพี : ประสบการณ์ในการฝึกซอ้ มดบั เพลิงและฝึกซ้อมอพยพหนีไฟได้อยา่ งปลอดภยั 40 - ปี 2563 : เจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยในการท�างาน (ระดับ ภาพ : กรมสวสั ดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน วิชาชีพ) บริษัท พอี เี อน็ เอ็น โฮลดง้ิ จ�ากัด โครงการโรงไฟฟา้ 55 ล�าตะคองชลภาวัฒนา เครื่องท่ี 3-4 - ปี 2561 : เจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยในการท�างาน (ระดับ วชิ าชพี ) บริษัท ซีพเี อฟ ประเทศไทย จา� กดั มหาชน โรงงาน ผลติ อาหารสตั ว์ศรีราชา - ป ี 2560 : สหกจิ ศกึ ษา ณ บรษิ ทั ไทย-สวดี สี แอสเซมบล ่ี จา� กดั ( Volvo group trucks Asia & JVs ) จงั หวดั สมุทรปราการ 44
พบกันคร้ังน้ีขอเร่ิมจากเสียงบ่นที่ว่า “โลกน้ีหนอ...ท�ำไมอยู่ยากจัง !” ไหนจะฝุ่น ไหนจะเช้ือโรค ไมร่ จู้ ะหลบไปไหนกนั แล้วนะคะพวกเรา พอจะหลบลงหลมุ ลงทอ่ มุดถ้�ำ มุดอุโมงค์ ก็เสยี่ งเจอกบั แก๊สพษิ สลบคาท่อไม่ฟื้นคืนชีพกันก็มาก ที่เกริ่นมาท้ังหมดนี่ก็เพ่ือจะบอกแฟนคลับ OSHE Magazine ว่าเน้ือหา สาระในฉบับน้ี จะช่วยคลายกังวลให้กับพวกเราท่ีจะต้องท�ำงานในที่อับอากาศ หรือบางท่านที่ไม่รู้ด้วยซ้�ำ ว่าก�ำลังอยู่ในที่อับอากาศ ก็จะได้รู้และปฏิบัติตนได้ถูกต้องกันนะคะ แล้วท่านจะเปลี่ยนจากเสียงบ่นเป็น “โลกนไี้ มไ่ ดอ้ ยยู่ ากอยา่ งทคี่ ดิ ” ขอแคเ่ รยี นรทู้ จ่ี ะปอ้ งกนั อนั ตราย และปฏบิ ตั ติ ามมาตรการความปลอดภยั อยา่ งเครง่ ครดั ก็เติมสุขไดท้ กุ วนั แลว้ คะ่ ดิฉันขอถือโอกาสท�ำหน้าท่ีเขียนบทบรรณาธิการฉบับสุดท้ายของปีงบประมาณ 2563 ก่อนจะ ผันตัวไปเป็นแฟนคลับแทนนะคะ ที่ผ่านมาต้องขอบคุณทุกค�ำติชม ท่ีเป็นทั้งแรงผลักดันและเป็นก�ำลังใจ จนทำ� ใหท้ มี งานเราพัฒนา OSHE Magazine มาจนถึงจดุ น้ี ขอบคุณและสวัสดคี ะ่ ท่ปี รึกษา กรุงไกรวงศ ์ กรรมการผ้ทู รงคณุ วุฒิ สดุ ธดิ า ปีตวิ รรณ ผูอ้ ำ� นวยการสถาบันส่งเสรมิ ความปลอดภยั ฯ วรานนท ์ ฟงุ้ เกยี รต ิ รองผู้อำ� นวยการสถาบันสง่ เสรมิ ความปลอดภยั ฯ ศรณั ย์พงศ์ สุธรรมาสา สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตร์สขุ ภาพ มหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช รองศาสตราจารย์สราวุธ พนั ธ์ประสทิ ธ ิ์ สมาคมอาชีวอนามยั และความปลอดภยั ในการท�ำงาน (สอป.) รองศาสตราจารย์ ดร.วนั ทน ี บรรณาธกิ ารบริหาร บุญดกี ุล รองผู้อำ� นวยการสถาบนั สง่ เสรมิ ความปลอดภยั ฯ จุฑาพนติ สธุ รรมาสา รองศาสตราจารย์สราวธุ พันธป์ ระสทิ ธิ์ รองศาสตราจารย์ ดร.วนั ทนี กองบรรณาธกิ าร ควบคุมการผลติ และประสานงาน พรรณทวิ า นวะมะรตั น์ กมลฐติ ิ วรเวชกลุ เศรษฐ์ นายธนูศิลป ์ สลอี อ่ น วา่ ท่รี ้อยตรี นพรัตน์ ศรีวงษ์แผน ฝ่ายการตลาดและสมาชกิ สัมพนั ธ์ นพปกรณ์ ทรงพันธ์ุ สคุ นธา ท้วมพงษ์ จริ นนั ทน์ อินทร์มณี สภุ ารตั น์ คะตา สถาบันสง่ เสริมความปลอดภยั อาชวี อนามัย พษิ ณุ จนั ทรส์ ี และสภาพแวดลอ้ มในการทำ� งาน (องค์การมหาชน) ศภุ ชัย แสงพวง เลขท่ี 18 ถนนบรมราชชนนี แขวงฉิมพลี เขตตลิง่ ชนั กรุงเทพมหานคร 10170 พิมพ์รมั ภา เรือนค�ำ โทรศพั ท์ 0 2448 9111, 0 2448 9098 สกุ านดา ปรางทพิ ย์ www.tosh.or.th จฑุ าภรณ์ เมืองอุดม ปานฤทยั ไชยสทิ ธิ์ 4
เรยี บเรยี งโดย ตะวันหนาว ทีอ่ บั อากาศ คื อ อ ะ ไ ร? ความสูญเสียที่เกิดข้ึนจากการท�ำงานในสถานท่ีอับอากาศท่ีผ่านมา ครง้ั แล้ว ครั้งเลา่ มีผลทำ� ให้ลูกจ้าง นายจา้ งที่ประสบอันตรายสูญเสยี ชวี ิต จากไป กอ่ นวยั อนั สมควร สญู เสยี ทรพั ยส์ นิ และจากการเกบ็ สถติ ิ พบวา่ ผรู้ ว่ มงาน ผชู้ ว่ ยเหลอื ได้เสียชีวิต และบาดเจ็บ พิการ ทุพพลภาพ มากกว่าผู้ปฏิบัติงาน ด้วยอุบัติเหตุดังกล่าว จะเกดิ ขน้ึ ตอ่ ไปอกี ถา้ หากผปู้ ฏบิ ตั งิ าน และผเู้ กยี่ วขอ้ งยงั ขาดความรู้ ความเขา้ ใจ เกยี่ วกบั อนั ตราย และวิธกี ารทำ� งานในสถานท่อี ับอากาศทถี่ ูกตอ้ ง และปลอดภัย ดงั น้ัน จึงใคร่ขอสรุปเน้อื หามาฝากกนั เพอื่ สามารถนำ� ไปปฏิบตั ิได้จรงิ อย่างถูกตอ้ ง และปลอดภยั ทอ่ี คบั อื ออาะกไราศ “ท่ีอับอากาศ” หมายความว่า ท่ีซ่ึงมีทางเข้าออกจ�ำกัดและไม่ได้ออกแบบ ไว้ส�ำหรับเป็นสถานที่ท�ำงานอย่างต่อเน่ืองเป็นประจ�ำ และมีสภาพอันตรายหรือ มบี รรยากาศอนั ตราย เชน่ อโุ มงค์ ถำ�้ บอ่ หลมุ หอ้ งใตด้ นิ หอ้ งนริ ภยั ถงั นำ้� มนั ถงั หมกั ถงั ไซโล ท่อ เตา ภาชนะหรือส่งิ อน่ื ทม่ี ลี กั ษณะคลา้ ยกัน 5
ขออขะงอใไณนกรบั คสาอะรทถอื าเำ�าสสกงนาียาาเทศชหนี่ีวติตุ “สภาพอันตราย” หมายความวา่ สภาพหรอื สภาวะทอี่ าจทำ� ใหล้ กู จา้ งไดร้ บั อนั ตรายจากการทำ� งาน อยา่ งหนึง่ อยา่ งใด ดังตอ่ ไปนี้ (1) มีวัตถุหรือวัสดุที่อาจก่อให้เกิดการจมลงของลูกจ้างหรือถมทับลูกจ้างที่เข้าไป ท�ำงาน (2) มสี ภาพทอ่ี าจทำ� ใหล้ กู จ้างตก ถกู กัก หรือตดิ อยภู่ ายใน (3) มสี ภาวะท่ีลกู จา้ งมีความเส่ยี งท่จี ะไดร้ บั อันตรายจากบรรยากาศอันตราย (4) สภาพอนื่ ใดทอี่ าจเปน็ อนั ตรายตอ่ รา่ งกายหรอื ชวี ติ ตามทอ่ี ธบิ ดปี ระกาศกำ� หนด “บรรยากาศอนั ตราย” หมายความวา่ สภาพอากาศทอ่ี าจทำ� ให้ลกู จา้ งไดร้ บั อนั ตรายจากสภาวะอยา่ งหนงึ่ อยา่ งใด ดงั ตอ่ ไปน้ี (1) มอี อกซเิ จนตำ่� กวา่ รอ้ ยละ 19.5 หรอื มากกวา่ รอ้ ยละ 23.5 โดยปรมิ าตร (หนว่ ยเปน็ %Volume) (2) มกี ๊าซ ไอ หรือละอองท่ีติดไฟหรือระเบดิ ได้ เกนิ ร้อยละ 10 ของค่าความเข้มข้นขัน้ ต่ำ� ของสาร เคมแี ตล่ ะชนิดในอากาศท่ีอาจติดไฟหรือระเบิดได้ (Lower Flammable Limit หรือ Lower Explosive Limit) หนว่ ยเปน็ % LEL. (3) มฝี นุ่ ทตี่ ดิ ไฟหรอื ระเบดิ ได้ ซงึ่ มคี า่ ความเขม้ ขน้ เทา่ กบั หรอื มากกวา่ คา่ ความเขม้ ขน้ ขนั้ ตำ่� สดุ ของ ฝ่นุ ทีต่ ิดไฟหรือระเบิดได้แต่ละชนดิ (Minimum Explosible Concentration) (4) มีค่าความเข้มข้นของสารเคมีแต่ละชนิดเกินมาตรฐานที่ก�ำหนดตามกฎกระทรวงว่าด้วยการ ก�ำหนดมาตรฐานในการบรหิ าร จดั การ และด�ำเนินการดา้ นความปลอดภัย อาชีวอนามยั และ สภาพแวดล้อมในการท�ำงานเก่ยี วกับสารเคมีอันตราย หน่วยเป็น (PPM : Part Per Million คอื สารเคมหี น่งึ ส่วนในล้านสว่ น) (5) สภาวะอนื่ ใดท่อี าจเปน็ อนั ตรายตอ่ รา่ งกายหรือชีวิตตามทร่ี ัฐมนตรีประกาศก�ำหนด กา๊ ซหรือไอพิษ ท่ีเกิดข้ึนในสถานทอ่ี ับอากาศมาจากไหน ก๊าซหรือไอพิษที่เกิดจากการใช้สารตัวท�ำละลายท�ำความสะอาด สารประเภทไขมันในสถานที่อับอากาศ เชน่ ไตรคลอโรอเี ทน เมธิลคลอโรฟอรม์ เปน็ ตน้ ก๊าซที่เกิดจากการหมักหรือปฏิกิริยาเคมีในการผสมสารต่างๆ เช่น ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ กา๊ ซไฮโดรเจนซัลไฟด์ หรอื กา๊ ซไข่เน่า เปน็ ต้น ฟูมหรือก๊าซท่ีเกิดขึ้นจากการท�ำงานในสถานที่อับอากาศ เช่น การเชื่อมตัดด้วยก๊าซ การพ่นสี การใชก้ าว หรอื สารตวั ท�ำละลายตา่ งๆ การทำ� งานทตี่ อ้ งใชก้ า๊ ซออกซเิ จนปรมิ าณมาก เชน่ งานตดั ดว้ ยกา๊ ซออกซเิ จน และกา๊ ซโพรเพน ซ่ึงจะมอี อกซิเจน ในบรรยากาศมากเกนิ ไปจนเปน็ สาเหตุของการเกดิ อัคคีภยั และการระเบิดไดง้ า่ ยขนึ้ ปฏิกริ ยิ าการเกิดสนมิ ในถงั เหล็กขนาดใหญท่ ่ีปิดฝาท้ิงไว้นานๆ จะท�ำใหป้ ริมาณออกซิเจน ในถังมนี ้อยลง เน่อื งจากการเกิดสนมิ ตอ้ งใชก้ า๊ ซออกซิเจนในบรรยากาศ ก๊าซหรอื ไอพิษท่ีรวั่ มาจากสถานท่ีท�ำงานใกล้เคียง เปน็ ต้น 6
ท�ำไมอบุ ัติเหตุจากการท�ำงาน ในสถานที่อับอากาศจึงเกดิ ขนึ้ จากการวิเคราะหอ์ ุบัติเหตพุ บวา่ การทำ� งานในสถานทอี่ บั อากาศมกั ไมใ่ ชง่ านในหนา้ ทต่ี ามปกตขิ องคนงาน แตเ่ ปน็ งานทน่ี านๆ ครง้ั จงึ มกี ารทำ� งาน เชน่ งานซอ่ มแซม งานท�ำความสะอาดพน้ื ที่ จงึ มักไม่ใชเ้ จ้าหน้าทป่ี ระจ�ำปฏิบัตงิ านแต่จะจ้างลูกจา้ งช่วั คราวมาทำ� งาน ลูกจ้างเหล่าน้ีไม่มีความรู้วธิ กี ารทำ� งานใหถ้ ูกตอ้ ง ปลอดภัย ในสถานทีอ่ ับอากาศ เจ้าหน้าที่ พนกั งาน บุคลากร ขาดความร้เู บอื้ งตน้ เกย่ี วกับกาปฐมพยาบาล การเคลือ่ นย้าย ตลอดจนการชว่ ยชวี ิตผู้ประสบภัยขณะ ท�ำงานในสถานท่ีอบั อากาศ จะท�ำงานในสถานที่อบั อากาศใหป้ ลอดภยั ไดอ้ ยา่ งไร ทำ� การประเมินอนั ตรายทอ่ี าจเกิดขนึ้ ในสถานที่อบั อากาศวา่ จะมีอะไรบ้าง เชน่ ก๊าซพิษที่ยังคงอยู่ในสถานท่ีนน้ั หรอื อาจเกดิ ขึน้ ขณะทเ่ี ขา้ ไปทำ� งาน หรืออาจมีก๊าซร่วั มาจากทท่ี ำ� งานข้างเคียง และมวี ิธกี ารท�ำงานในสถานทอ่ี ับอากาศโดยไม่ต้องใช้คนลงไปหรอื ไม่ ในกรณีตอ้ งให้คนเขา้ ไปทำ� งาน ต้องให้ความรูก้ ับพนักงาน ใหท้ ราบถึงอันตรายต่างๆ ทอี่ าจเกดิ ขน้ึ วิธีการทำ� งานให้ปลอดภยั การใช้เคร่ืองช่วยหายใจ เครือ่ งปอ้ งกนั ตา่ งๆ รวมทง้ั การปฐมพยาบาล การเคลือ่ นย้าย และการชว่ ยชวี ติ ผปู้ ระสบภัยเบือ้ งตน้ แยกสถานที่อับอากาศออกจากงานอื่นๆ โดยเด็ดขาด ท�ำการตัดระบบ ปิดท่อน�้ำเข้า ล๊อคสวิทช์ และวาล์วต่างๆ เพื่อหยุดการ ทำ� งานของสถานท่นี ัน้ โดยส้ินเชงิ ( Lock Out Tag Out ) ท�ำความสะอาดพ้ืนที่สถานท่ีอับอากาศ ด้วยการเคล่ือนย้ายสารเคมีต่างๆ ออกจากสถานที่นั้น ซ่ึงต้องท�ำอย่างละเอียดรอบคอบ เนอ่ื งจากหากมสี ารพษิ ตกคา้ งตามซอกรอยตอ่ ตา่ งๆ ซงึ่ ยากตอ่ การทำ� ความสะอาดจะเปน็ แหลง่ กอ่ อนั ตรายได้ ในการทำ� ความสะอาดสถานทอี่ บั อากาศท่ีมีก๊าซอันตราย เช่น การท�ำความสะอาดสถานท่ีท่ีมีตะกอนของเหลือทิ้ง จ�ำเป็นต้องสวมใส่เครื่องช่วยหายใจ และเตรียมอุปกรณ์ช่วย ชีวติ ใหพ้ ร้อมทีจ่ ะใชไ้ ดย้ ามฉกุ เฉิน เมื่อการทำ� ความสะอาดเสร็จสิ้นแลว้ ใหม้ ีการจัดการกบั นำ้� เสียอย่างถูกตอ้ ง เปดิ ฝาหรอื ประตเู ขา้ -ออกทกุ ทาง เพอื่ ใหม้ กี ารระบายอากาศไดเ้ ตม็ ที่ กรณที ใี่ ชว้ ธิ กี ารทำ� ความสะอาดดว้ ยไอนำ้� ควรไลอ่ ากาศออก ในขณะที่สถานที่น้ันยังร้อนอยู่เพราะจะระบายอากาศได้เต็มที่ หากการระบายอากาศด้วยวิธีธรรมชาติไม่ได้ผลดีพอ ควรใช้พัดลมเป่า พัดลมดูดอากาศ หรืออากาศอัดช่วยในการระบายอากาศ หากสถานทนี่ ้นั มีกา๊ ซไวไฟ ควรไลก่ ๊าซไวไฟด้วยกา๊ ซเฉ่ือย เช่น ไนโตรเจน คารบ์ อนไดออกไซด์ เพ่ือปอ้ งกันการผสมกับอากาศ และเกดิ การระเบิดขนึ้ และหลงั จากน้นั จงึ ไล่ก๊าซเฉอ่ื ยด้วยอากาศอีกครั้งหนงึ่ เพราะหากไม่ไลก่ า๊ ซเฉ่อื ยด้วยอากาศบรสิ ทุ ธ์แิ ลว้ จะเกดิ อนั ตราย แกผ่ ู้เขา้ ไปท�ำงานได้เนอ่ื งภาวะจากการขาดออกซิเจน ตรวจวดั กา๊ ซพษิ และปรมิ าณออกซเิ จน ซง่ึ จะเปน็ ตวั ชวี้ า่ การเขา้ ไปทำ� งานในสถานทน่ี น้ั มคี วามปลอดภยั มากนอ้ ยเพยี งใด และมคี วามจำ� เปน็ ตอ้ งสวมใสอ่ ปุ กรณช์ ว่ ยหายใจ ชดุ อปุ กรณค์ มุ้ ครองความปลอดภยั ชนดิ พเิ ศษเพม่ิ เตมิ หรอื ไม่ หรอื สามารถ ทำ� งานได้โดยไม่ใชอ้ ปุ กรณช์ ว่ ยหายใจได้เปน็ ระยะเวลานานเท่าใดในแต่ละครงั้ แตล่ ะรอบ ใหท้ มี งานทล่ี งไปทำ� งานในสถานทอี่ บั อากาศผกู เชอื กชว่ ยชวี ติ โดยมที มี ชว่ ยเหลอื อกี คนหนงึ่ เปน็ ผสู้ งั เกตการณ์ ถอื หางเชอื กอย่ปู ากทางเขา้ -ออก ซึง่ จะเปน็ ผู้ใหค้ วามช่วยเหลือสำ� หรับพนักงาน ทล่ี งไปในสถานทอ่ี ับอากาศได้ทนั ท่วงทีหากมีอันตรายเกิดขึ้น ควรมีผู้ควบคุม ผู้ช่วยเหลืออ่ืนๆ ที่ผ่านการอบรมตามกฎหมาย ท�ำงานอยู่ในระยะ ใกล้พอที่จะเรียกขอความช่วยเหลือได้หากเกิดอุบัติเหตุใดๆ และหากเป็นไปได้พนักงานท่ีท�ำงานในสถาน ท่ีอับอากาศ และทีมผู้คอยช่วยเหลืออยู่ด้านนอก ควรมีการติดต่อกันอยู่ตลอดเวลา เน่ืองจากบางครั้งผู้ สังเกตการณ์ด้านนอกไม่สามารถสังเกตอากัปกิริยาของพนักงานที่มีปัญหา หรือหมดสติอยู่ข้างในได้จึง อาจให้พนกั งานทท่ี ำ� งานดา้ นในพกอปุ กรณ์เตอื น กรณีทพ่ี นักงานประสบภัย หรือหยดุ การเคล่ือนไหว การท�ำงานในสถานท่ีอับอากาศโดยไม่ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจ จะต้องให้ความระมัดระวัง และเน้นเรื่องระบบการระบายอากาศ ต้องให้มีปริมาณเพียงพอที่จะช่วยให้ก๊าซพิษที่เกิดข้ึนเจือ จางลงในระดบั ทยี่ อมรบั ได้ และมอี ากาศเพยี งพอตอ่ การหายใจของพนกั งานทล่ี งไปปฏบิ ตั งิ าน ด้วย 7
วธิ ปี ฏิบตั ิงานในทอี่ ับอากาศทถี่ กู ตอ้ งและปลอดภัย สถานประกอบกจิ การใดทม่ี ที อี่ บั อากาศ นายจา้ งจะตอ้ งด�ำเนินการกับท่อี ับอากาศ ดงั นี้ จัดท�ำแผ่นปา้ ยแจง้ ขอ้ ความวา่ “ทอ่ี บั อากาศอันตรายหา้ มเขา้ ” ใหม้ ขี นาดมองเหน็ ได้อยา่ งชดั เจน ตดิ ตัง้ ไว้โดยเปิดเผยบรเิ วณทาง เข้าออกของทีอ่ ับอากาศทุกแห่ง ทัง้ นี้ เพื่อใหล้ ูกจ้างได้ทราบวา่ สถานทีน่ ้ีเป็นสถานทที่ ่ีมอี นั ตราย โดยพื้นของปา้ ยควรเปน็ สแี ดง อักษรสขี าว ในทอี่ บั อากาศทม่ี ลี กั ษณะเปน็ ชอ่ ง โพรง หลมุ ถำ�้ ฯลฯ จะตอ้ งจดั ใหม้ สี งิ่ ปดิ กนั้ ไมใ่ หม้ ใี ครเขา้ หรอื ตกลงไปได้ ซง่ึ อาจจะใชฝ้ าปดิ หรอื จดั ทำ� รัว้ กัน้ โดยรวั้ ก้ันจะตอ้ งมคี วามสงู ไม่นอ้ ยกวา่ เกา้ สบิ เซนตเิ มตร การปฏิบตั ิเกย่ี วกับการทำ� งานในท่ีอับอากาศ เมอื่ ไดม้ กี ารดำ� เนนิ การกบั ทอี่ บั อากาศแลว้ นายจา้ งจะตอ้ งดแู ลไมใ่ หล้ กู จา้ งหรอื บคุ คลอน่ื เขา้ ไปในทอี่ บั อากาศ จนกวา่ จะไดม้ กี ารดำ� เนนิ การใหม้ คี วามปลอดภยั ตามมาตรฐานของกฎกระทรวงฉบบั น้ี ซง่ึ ลกู จา้ งหรอื บคุ คลทจี่ ะเขา้ ไปในทอ่ี บั อากาศกจ็ ะตอ้ งขออนญุ าตจากนายจา้ ง และ เมอ่ื ไดร้ บั อนญุ าตจากนายจา้ งแลว้ จงึ เขา้ ไปในทอ่ี บั อากาศนนั้ ได้ และเพอ่ื ใหเ้ กดิ ความปลอดภยั กบั ผทู้ ไ่ี ดร้ บั อนญุ าตใหเ้ ขา้ ไปในทอี่ บั อากาศนายจา้ ง จะตอ้ งปฏิบตั ใิ หเ้ ป็นไปตามกฎกระทรวงดงั ตอ่ ไปนี้ การดำ� เนนิ การเพอื่ ใหม้ ีความปลอดภยั นายจา้ งจะตอ้ งดำ� เนินการ ดังนี้ 1. จดั ใหผ้ คู้ วบคมุ งาน ผชู้ ว่ ยเหลอื และลกู จา้ งทจี่ ะเขา้ ไปทำ� งานในทอ่ี บั อากาศ ไดร้ บั การฝกึ อบรมความปลอดภยั ใน การทำ� งานในทอ่ี บั อากาศตามหลกั เกณฑว์ ธิ กี ารและหลกั สตู รทอ่ี ธบิ ดปี ระกาศกำ� หนดกอ่ นเขา้ ทำ� งานในทอี่ บั อากาศ (ดูรายละเอียดประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เร่ือง หลักเกณฑ์วิธีการ และหลักสูตรการฝึกอบรม ความปลอดภัยในการท�ำงานในท่ีอับอากาศ พ.ศ 2549) 2. จัดให้มีอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล อุปกรณ์ช่วยเหลือและช่วยชีวิตที่เหมาะสมกับ ลักษณะงานตามมาตรฐานท่ีอธิบดียอมรับ (ดูรายละเอียดประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรอื่ งมาตรฐานอปุ กรณค์ มุ้ ครองความปลอดภัยส่วนบคุ คล อปุ กรณช์ ว่ ยเหลอื และช่วยชีวติ พ.ศ 2548) 3. จดั บรเิ วณทางเดนิ หรือทางเขา้ ออกทอ่ี บั อากาศให้เดนิ หรือเขา้ ออกได้สะดวกและปลอดภยั โดยทางเดินจะต้องมีความกว้างประมาณแปดสิบเซนติเมตร บริเวณทางเดินและทางเข้าออกจะ ต้องไมม่ ีวัสดุ สิง่ ของอปุ กรณห์ รอื สงิ่ ใดๆ วางเกะกะ กดี ขวาง 4. ปดิ ประกาศหา้ มลกู จ้างสบู บหุ รี่ หรอื พกพาอุปกรณส์ �ำหรบั จดุ ไฟ หรอื ตดิ ไฟทไี่ ม่ เกี่ยวข้องกับการท�ำงานในที่อับอากาศไว้บริเวณทางเข้าออกท่ีอับอากาศโดยประกาศจะ ตอ้ งมีขนาดทมี่ องเหน็ ได้ชัดเจน พื้นของปา้ ยควรเป็นสีแดง ตัวอักษรสขี าว 5. จดั อปุ กรณไ์ ฟฟา้ ทเี่ หมาะสมกบั การใชง้ านในทอี่ บั อากาศ และหากทอี่ บั อากาศ มีสารไวไฟหรือระเบิดได้ อุปกรณ์ไฟฟ้าจะต้องเป็นชนิดท่ีสามารถป้องกันมิให้เกิด การติดไฟหรือระเบิดจากอุปกรณ์ไฟฟ้าได้ รวมท้ังต้องมีการตรวจสอบอุปกรณ์ ไฟฟ้าใหม้ ีสภาพทส่ี มบูรณส์ ามารถ ใช้งานได้อยา่ งปลอดภยั 6. จดั ใหม้ เี ครอ่ื งดบั เพลงิ ทส่ี ามารถใชด้ บั เพลงิ ทอี่ าจเกดิ ขน้ึ เมอื่ มกี าร ทำ� งานในทอ่ี ับอากาศได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพและเพียงพอ 7. การอนุญาตให้ทำ� งานในที่อบั อากาศ 8
ผทู้ มี่ หี นา้ ทร่ี บั ผดิ ชอบในการอนญุ าตใหล้ กู จา้ งทำ� งาน ในที่อับอากาศก็คือนายจ้างของสถานประกอบกิจการท่ีมีท่ีอับ อากาศนั้น แต่นายจ้างอาจมอบหมายเป็นหนังสือให้ลูกจ้างซึ่งได้ รับการอบรมความปลอดภัยในการท�ำงานในท่ีอับอากาศ ตามหลัก เกณฑ์ วิธีการ และหลักสูตรที่อธิบดีประกาศ เป็นผู้มีหน้าท่ีรับผิดชอบ ในการอนุญาตแทนก็ได้ ซ่ึงผู้ท่ีได้รับหมายให้ท�ำหน้าที่รับผิดชอบในการ อนญุ าตใหล้ กู จา้ งทำ� งานในอบั อากาศแทนนายจา้ งนจ้ี ะมมี ากกวา่ หนง่ึ คนกไ็ ด้ โดยจะต้องเกบ็ หลกั ฐานหนงั สือมอบหมายไว้ ณ สถานประกอบกจิ การ พร้อม ที่จะให้พนักงานตรวจความปลอดภัยตรวจสอบได้ แต่ลูกจ้างท่ีได้รับมอบหมาย ให้ท�ำหน้าที่รับผิดชอบในการอนุญาตให้ลูกจ้างท�ำงานในที่อับอากาศแทนนายจ้าง นี้ จะต้องไม่ใช่ลูกจ้างที่ท�ำหน้าที่เป็นผู้ควบคุม ผู้ช่วยเหลือ หรือ เป็นลูกจ้างที่ท�ำงาน ในทอี่ ับอากาศ กอ่ นอนญุ าตใหล้ กู จา้ งทำ� งานในทอ่ี บั อากาศ นายจา้ งจะตอ้ งดำ� เนนิ การดงั ตอ่ ไปน้ี จดั ใหม้ หี นังสืออนญุ าต หนังสืออนุญาตจะต้องมีรายละเอียดอยา่ งน้อย ดังน้ี (1) ทอี่ ับอากาศท่ีอนญุ าตให้ลูกจ้างเข้าไปทำ� งาน (2) วัน เวลาในการท�ำงาน (3) งานทใี่ หล้ ูกจา้ งเข้าไปทำ� (4) ชอื่ ลูกจ้างท่อี นญุ าตให้เข้าไปท�ำงาน (5) ชอ่ื ผ้คู วบคมุ งาน (6) ชอื่ ผ้ชู ่วยเหลือตามขอ้ (7) อนั ตรายทล่ี กู จา้ งอาจไดร้ บั และวธิ กี ารปฏบิ ตั ติ นและการชว่ ยเหลอื ลกู จา้ งออกจากทอ่ี บั อากาศในกรณฉี กุ เฉนิ และวธิ กี ารหลกี หนภี ยั (8) ผลการประเมนิ สภาพอันตรายและบรรยากาศท่เี ป็นอนั ตราย (9) มาตรการความปลอดภัยที่เตรยี มไวก้ อ่ นการให้ลกู จ้างเข้าไปท�ำงาน (10) อปุ กรณค์ ุ้มครองความปลอดภยั สว่ นบคุ คล และอุปกรณ์ชว่ ยเหลือและช่วยชีวติ (11) ชอื่ และลายมอื ชอื่ ผขู้ ออนญุ าต และช่ือและลายมอื ชื่อผูม้ ีหน้าทีร่ ับผดิ ชอบในการอนญุ าต (12) ผลการตรวจสขุ ภาพของลกู จา้ งทีท่ �ำงานในที่อับอากาศโดยมีใบรับรองแพทย์ การอนญุ าต จะตอ้ งไมอ่ นญุ าตใหล้ กู จา้ งหรอื บคุ คลทเ่ี ปน็ โรคเกยี่ วกบั ทางเดนิ หายใจ โรคหวั ใจ หรอื โรคซงึ่ แพทยเ์ หน็ วา่ การเขา้ ไปทำ� งานอาจเปน็ อนั ตรายตอ่ ผนู้ น้ั ได้ เขา้ ไปทำ� งานในทอ่ี บั อากาศ โดยนายจา้ งตอ้ งมผี ลการตรวจสขุ ภาพของลกู จา้ งหรอื บคุ คลทจี่ ะเขา้ ไปทำ� งานในทอี่ บั อากาศ เพอื่ ใช้ประกอบการพิจารณาอนุญาต จะตอ้ งจดั ใหม้ กี ารตรวจวดั บนั ทกึ ผลการตรวจวดั และประเมนิ สภาพอากาศในทอี่ บั อากาศวา่ มบี รรยากาศอนั ตรายหรอื ไม่ ถา้ ตรวจ พบว่ามีบรรยากาศอันตรายนายจ้างจะต้องท�ำการประเมินและค้นหาว่าบรรยากาศอันตรายเกิดจากสาเหตุใดเม่ือรู้สาเหตุ และจะต้องปรับปรุง แก้ไขให้บรรยากาศนนั้ อยใู่ นระดบั ท่ีปลอดภัย 1. แตถ่ ้าหากว่าปรบั ปรงุ แก้ไขบรรยากาศอนั ตรายนน้ั แลว้ แตไ่ มส่ ามารถแก้ ไขไดแ้ ละมีความจ�ำเป็นที่จะตอ้ งให้ลกู จ้างเข้าไปปฏิบัตงิ าน ในที่อบั อากาศนั้น นายจ้างจะตอ้ งจัดอุปกรณ์ค้มุ ครองความปลอดภยั สว่ นบุคคล เช่น เครอื่ งชว่ ยหายใจ เขม็ ขัดนริ ภยั สายชชู ีพ ตามความเหมาะ สมกบั อนั ตรายทอ่ี าจจะเกดิ ขึ้นไว้ให้ลกู จ้างสวมใส่ 2. ควบคมุ ดแู ลใหล้ กู จา้ งทที่ ำ� งานในทอี่ บั อากาศ และผชู้ ว่ ยเหลอื สวมใส่ หรอื ใชอ้ ปุ กรณค์ มุ้ ครองความปลอดภยั สว่ นบคุ คล และอปุ กรณ์ ช่วยเหลือ และช่วยชีวิต 9
3. ทำ� การระบายอากาศ และมกี ารตรวจวดั บรรยากาศ บน กลาง ล่าง หรือ ปากบ่อ กลางบ่อ ปลายบ่อ กอ่ นสง่ พนักงานเขา้ ไปท�ำงาน 4. ก่อนเข้า ให้มีการบนั ทกึ ชอ่ื เวลา เขา้ เวลาออก พรอ้ มกับ บนั ทกึ ปริมาณอากาศในถงั ของแต่ละบุคคล เพือ่ ตราจสอบ และเชค็ การ ใช้อากาศของพนักงานแต่ละคน ว่าแตกต่างกันเพียงใด หากแตกต่างมาก อาจมีการช�ำรุด ร่ัวไหลของเครื่องช่วยหายใจแบบสะพายหลัง (Self Breathing Apparatus : SCBA) หรอื แบบ มสี าย (Air Line) 5. ในระหวา่ งทีล่ ูกจา้ งก�ำลงั ทำ� งานในทีอ่ ับอากาศตอ้ งปิดกั้น หรอื กระทำ� การใดๆ เพื่อป้องกนั มิให้พลังงาน สาร หรอื สงิ่ ทีเ่ ป็นอันตราย จากภายนอกเข้าสทู่ ่อี บั อากาศ เช่น การจดั ทำ� แผงกั้น การปดิ วาล์ว การตดั ระบบ (Lock Out Tag Out) เปน็ ตน้ 6. จะตอ้ งไมใ่ หล้ กู จา้ งทำ� งานทท่ี ำ� ใหเ้ กดิ ความรอ้ น หรอื ประกายไฟ เชน่ การเชอื่ ม การเผาไหม้ การยำ้� หมดุ การเจาะ หรอื การขดั จนกวา่ จะได้จัดให้มีมาตรการเพือ่ ความปลอดภยั ตามท่ีกฎกระทรวงน้กี ำ� หนด 7. และนายจา้ งเกบ็ บนั ทึกการตรวจวัดการประเมินสภาพอากาศไวเ้ พอ่ื ใหพ้ นักงานตรวจความปลอดภัยตรวจสอบ 8. เมอ่ื ปฏบิ ตั งิ านเสรจ็ ควรตรวจสอบพน้ื ท่ี และจำ� นวนผปู้ ฏบิ ตั งิ าน ทำ� ความสะอาดพนื้ ที่ เกบ็ ปา้ ยเตอื น ธงลอ้ มกนั้ บรเิ วณ แจง้ ใหห้ นว่ ย งานเจา้ ของงาน เจา้ ของพื้นที่ทราบ 9. ท�ำการตรวจเชค็ รว่ มกัน ระหว่างเจ้าของพ้ืนท่ี และผู้ท�ำงาน เจา้ หน้าทคี่ วามปลอดภัยฯ เซ็นปดิ ใบอนุญาต แหลง่ ข้อมูลประกอบเพ่ิมเตมิ • สำ� นักความปลอดภัยแรงงาน กรมสวสั ดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน • ศูนยค์ วามปลอดภยั แรงงานพน้ื ที่ 2 • สมาคมส่งเสริมความปลอดภยั ฯ 10
(ใกCนาoรnพชf่วinืน้ ยeเdทหล่อีSือpบั ผacอูป้ eราRะกสesบาcภuศยัe) การช่วยเหลือผู้ประสบภัยในพื้นท่ีอับอากาศ มีความจ�ำเป็น ตอ้ งดำ� เนนิ การอยา่ งเรง่ ดว่ นระดบั ไหนและวธิ กี ารชว่ ยเหลอื เปน็ แบบใด ฉานฉลาด บุนนาค ขน้ึ อยกู่ บั การเตรยี มการรองรบั สถานการณ์ โดยการประเมนิ ความเสย่ี ง แวผิศวนกกรผผลู ้เิตช่ีภยัณวชฑา์ญเพ่ืดอ้าคนวเาทมคปนลิคอ/ดวภิทัยยสาก่วนร บุ คคล อย่างสมเหตุสมผล ระดบั ความเร่งด่วนของการช่วยเหลือผปู้ ระสบภัย บริษัท 3เอ็ม ประเทศไทย จ�ำกัด พิจารณาจากคุณภาพของอากาศในพื้นท่ีอับอากาศนั้นเป็นเกณฑ์ กล่าวคือ ถ้าอากาศมีความเป็นพิษมาก เป็นอันตรายต่อการหายใจ อย่างย่ิง การช่วยเหลือต้องเป็นไปอย่างเร่งด่วนโดยการเคลื่อนย้าย ผู้ประสบภัยออกมาภายนอกพื้นที่อับอากาศให้ได้ภายในเวลาไม่เกิน 4-5 นาที แต่ถ้าคุณภาพอากาศไม่เป็นอันตรายต่อการหายใจ อาจ ไม่มีความจ�ำเป็นต้องเร่งรีบน�ำผู้ประสบภัยออกจากพ้ืนที่อับอากาศ แตท่ มี ชว่ ยเหลอื ตอ้ งทำ� การประเมนิ ผปู้ ระสบภยั เบอื้ งตน้ เชน่ ผปู้ ระสบ ภัยหยุดหายใจหรือไม่ หรือหัวใจหยุดเต้น หรือเสียเลือดมาก เป็นต้น และท�ำการปฐมพยาบาลทนั ที 11
“อากาศเปน็ พิษ” เป็นการกล่าวรวมๆ หมายถึงคณุ ภาพอากาศในพนื้ ทอ่ี ับอากาศที่มผี ลต่อความปลอดภยั ในชวี ติ และการปฏบิ ัตงิ าน ของผ้ปู ฏบิ ตั งิ านโดยตรง ไดแ้ ก่ 1 ปริมาณกา๊ ซออกซิเจนต่ำ� กวา่ 19.5 % หรอื มากกวา่ 23.5%โดยปริมาตร 2 มกี า๊ ซ ไอ หรือละอองท่ีตดิ ไฟหรอื ระเบดิ ได้ ปนเปอ้ื นอย่มู ากกว่า10% LEL 3 มฝี ุน่ ท่รี ะเบดิ หรอื ตดิ ไฟได้ปนเป้อื นในอากาศ ในปริมาณทม่ี ากกวา่ ปรมิ าณขน้ั ต�่ำสุดของฝุ่นนน้ั ทจี่ ะระเบิดหรอื ตดิ ไฟได้ 4 มสี ารพษิ ปนเปือ้ นในปรมิ าณมากกวา่ คา่ ขีดจำ� กัด การรับสมั ผัสของสารนั้นตามทกี่ ฎหมายกำ� หนด ถา้ ในทอี่ บั อากาศมสี ภาพอากาศอยา่ งนอ้ ยหนงึ่ อยา่ งดงั กลา่ วแลว้ ขา้ งตน้ การชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภยั จำ� เปน็ ตอ้ งใชเ้ ครอ่ื งชว่ ยหายใจแบบ ถงั อากาศอดั แรงดนั (Self-Contained Breathing Apparatus, SCBA) หรอื แบบทอ่ สง่ อากาศหายใจ (Air-line system) ซง่ึ ทงั้ สองแบบน้ี ระบบ จา่ ยอากาศเปน็ การจา่ ยอากาศแรงดันสงู กวา่ บรรยากาศ (Positive Pressure) SCBA, Self-Contained Breathing Apparatus Air-line system 12
ในกรณีเช่นนี้การช่วยเหลือผู้ประสบภัยต้องเร่งรีบเคลื่อนย้ายผู้ประสบภัยออกจากพื้นท่ีอับอากาศให้ได้ภายในเวลา 4-5 นาที หาก โครงสรา้ งของพน้ื ทไ่ี มซ่ บั ซอ้ น หรอื ทเี่ กดิ เหตอุ ยบู่ รเิ วณชอ่ งทางออก การชว่ ยเหลอื สามารถกระทำ� ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ จงึ มโี อกาสสงู ทผี่ ปู้ ระสบภยั จะ รอดชวี ติ ในทางตรงกนั ขา้ ม หากพน้ื ทมี่ คี วามสลบั ซบั ซอ้ น หรอื ชอ่ งทางออกอยหู่ า่ งไกลจากทเ่ี กดิ เหตุ การชว่ ยเหลอื เปน็ ไปไดย้ าก จงึ มโี อกาสนอ้ ย ที่ผปู้ ระสบภยั จะรอดชวี ิต จงึ จำ� เปน็ ตอ้ งหาวิธีการยดื เวลาในการช่วยชวี ติ ใหน้ านมากขน้ึ โดยใชอ้ ุปกรณพ์ ิเศษที่เรยี กวา่ เครื่องชว่ ยหายใจแบบถัง อากาศอดั ใช้ในกรณฉี ุกเฉินหรือหนีภยั ELSA ( Emergency Life Support Breathing Apparatus) เคร่ืองช่วยหายใจฉกุ เฉินนี้ เปน็ ระบบการ จา่ ยอากาศอย่างตอ่ เนื่องประมาณ 40 ลิตรต่อนาที สามารถเลอื กระยะเวลาในการใชง้ านได้ 10 นาที หรอื 15 นาที ขนึ้ อยูก่ ับขนาดถงั อากาศ มี ประโยน์มากกรณีท่ีผู้ประสบภัยหายใจล�ำบาก ซึ่งต่างกับการช่วยเหลือโดยให้ผู้ประสบภัยหายใจจาก SCBA เพราะหากผู้ประสบภัยมีอัตราการ หายใจตำ�่ (นอ้ ยกว่า 12 ครง้ั ตอ่ นาที) แรงสดู ลมหายใจเขา้ น้อยและแรงดนั ของลมหายใจออกต่�ำ ท�ำให้ไมส่ ามารถหายใจผา่ น SCBA ได้ ELSA จงึ เป็นอปุ กรณก์ ารช่วยชีวติ อกี อย่างหนึง่ ทต่ี ้องพจิ ารณาก�ำหนดให้อยู่ในแผนการชว่ ยเหลือ (Rescue Plan) พน้ื ทอ่ี บั อากาศมกั จะมลี กั ษณะพเิ ศษ คอื เปน็ พนื้ ทม่ี ที างเขา้ และออกเลก็ กวา่ ปกติ ไมส่ ามารถเดนิ เขา้ และออกไดอ้ ยา่ งปกติ ชอ่ งทางเขา้ และออกอาจอยู่ในแนวดิ่ง (Vertical Entry) หรอื แนวระนาบ (Horizontal Entry) การวางแผนการชว่ ยเหลอื ผู้ประสบภัยจะตอ้ งเตรยี มอปุ กรณ์ ที่จะนำ� ผูป้ ฏิบตั ิงานออกจากพืน้ ท่ีอบั อากาศ ไดอ้ ย่างปลอดภัยและรวดเรว็ พ้นื ทีอ่ ับอากาศ แนวระนาบ ( Horizontal Entry) และอปุ กรณ์ พื้นที่อับอากาศ แนวดิง่ (Vertical Entry) และอปุ กรณ์ การช่วยเหลอื ผปู้ ระสบภัยออกจากพื้นทีอ่ ับอากาศจะต้องประกอบดว้ ยทมี ผู้ช่วยเหลอื ทีม่ ีความรู้ ประสบการณ์ ผ่านการฝึกอบรมตาม กฎหมายกำ� หนด มกี ารฝกึ ซ้อมเพิ่มพูนทักษะอยเู่ ปน็ ประจำ� และตอ้ งมอี ุปกรณ์ในการชว่ ยเหลือผปู้ ฏิบตั ิงานอย่างพอเพยี งและอย่ใู นสภาพพร้อม สมบรู ณ์สามารถปฏบิ ัติการช่วยเหลือได้อย่างทันท่วงทีเมอ่ื เกิดเหตุการณข์ ้นึ 13
4 ผู้รอบรู้ คู่งานทีอ่ ับอากาศ คุณสุชาติ จนั ทรว์ ิเมลอื ง ผู ้เช่ี ยวชาญด้านสุขภาพความปลอดภัยและส่ิงแวดล้อม บริษัท Chevron Thailand Exploration and Production จ�ำกัด สถานทท่ี ำ� งานทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ทอี่ บั อากาศในปจั จบุ นั นน้ั สามารถพบไดม้ าก ไมว่ า่ จะเปน็ บอ่ หลมุ ทอ่ ถงั นำ้� มนั หรอื อโุ มงค์ เป็นต้น ซ่ึงมีผู้ปฏิบัติงานจ�ำนวนไม่น้อยท่ีต้องเสียชีวิตจากการท�ำงานในสถานที่อับอากาศ เนื่องมาจากการปฏิบัติงานที่ไม่ถูกวิธี ดังนั้นเพื่อเป็นการลดอุบัติเหตุจากการท�ำงานในท่ีอับอากาศ เราจึงควรที่จะมีบุคคลส�ำคัญ “4 ผู้” ส�ำหรับการปฏิบัติงานในท่ี อบั อากาศ Confined Space : 4 ผู้ ผูอ้ นญุ าต มหี นา้ ทอ่ี ะไร - ได้รบั มอบหมายจากนายจ้างในการออกหนังสือขออนญุ าตการท�ำงานในทอี่ บั อากาศตามท่ีกฎหมายก�ำหนด - มอี ำ� นาจในการพจิ ารณาอนุมัติให้มกี ารทำ� งานในทอ่ี ับอากาศ 15
- เป็นผู้พิจารณาร่วมกับผู้ขออนุญาตท�ำงานในท่ีอับอากาศในการวางแผนการปฏิบัติงานและมาตรการ ป้องกนั อนั ตราย - ทราบลกั ษณะงานทเี่ ป็นอันตรายและผลของการไดร้ ับอนั ตรายในการทำ� งานในท่ีอบั อากาศ - เตรยี มการในการตัดแยกพลงั งานอนั ตราย - จัดเตรยี มให้มีการระบายอากาศ - ตรวจสอบแผนการเตรยี มการปฏิบตั งิ านใหเ้ ปน็ ไปตามท่ีก�ำหนดไวใ้ นหนงั สือขออนญุ าตท�ำงาน - ระหวา่ งทำ� งานในทอ่ี บั อากาศ ทกุ ฝา่ ยทเี่ กย่ี วขอ้ งปฏบิ ตั ติ ามมาตรการความปลอดภยั ทกี่ ำ� หนดไวร้ ว่ มกนั - เป็นผูล้ งนามอนมุ ัตใิ นการสนิ้ สุดการท�ำงานตามท่กี �ำหนดไวใ้ นหนังสือขออนญุ าตทำ� งาน ผ้คู วบคุม ท�ำอะไร - ดำ� เนนิ การขอหนังสอื อนุญาตท�ำงานในท่ีอบั อากาศ - วางแผนปฏบิ ตั งิ านและปอ้ งกนั อนั ตรายทอี่ าจเกดิ ขน้ึ จากการทำ� งาน และปดิ ประกาศ หรอื แจง้ ใหผ้ ปู้ ฏบิ ตั ิ งานทราบเป็นลายลกั ษณ์อกั ษร - ด�ำเนินการค้นหาและทราบถึงอันตรายในการท�ำงานในทอ่ี บั อากาศ รวมถึงผลของการไดร้ ับอันตราย - เป็นผตู้ รวจสอบบรรยากาศให้เหมาะสมก่อนท่ีจะอนุญาตใหเ้ ขา้ ทำ� งานในท่ีอบั อากาศ - ชแี้ จงหนา้ ท่ีความรับผิดชอบ วิธปี ฏิบัตงิ าน และวิธีป้องกนั อนั ตรายให้เปน็ ไปตามแผนทีก่ ำ� หนดไว้ - ตรวจสอบขน้ั ตอนการท�ำงานใหป้ ลอดภัยอย่างต่อเนอื่ ง - ตรวจสอบอุปกรณ์ท่ีนำ� มาใชใ้ นการท�ำงานในท่ีอับอากาศอยา่ งเหมาะสม - ควบคมุ ดแู ลผปู้ ฏบิ ตั งิ านใหใ้ ชเ้ ครอื่ งปอ้ งกนั อนั ตราย และอปุ กรณค์ มุ้ ครองความปลอดภยั สว่ นบคุ คล และ ตรวจตราอปุ กรณ์ให้อยใู่ นสภาพพรอ้ มใชง้ าน - ตรวจสอบความพร้อมของแผนปฏบิ ัติงานฉกุ เฉนิ ได้ตลอดเวลา - สั่งหยุดการทำ� งานช่วั คราว ในกรณที มี่ เี หตทุ ่กี อ่ ใหเ้ กิดอันตรายตอ่ ผปู้ ฏิบัติงาน จนกวา่ เหตุนนั้ จะหมดไป และทบทวนมาตรการ ข้ันตอนความปลอดภัยกอ่ นที่จะปฏบิ ัติงานต่อ และหากจำ� เป็นอาจขอยกเลิกงานนนั้ ได้ - ขอปดิ ใบอนญุ าตเมอื่ สิน้ สุดการทำ� งาน และตรวจสอบการท�ำงานเมอื่ งานน้ันเสร็จสมบูรณ์ 16
ผู้ช่วยเหลอื ทำ� อะไร - ทราบถึงอนั ตรายทีอ่ าจเกิดขนึ้ ในระหวา่ งเข้าไปทำ� งาน - ก�ำหนดรูปแบบในการส่ือสารกบั ผ้ทู ท่ี �ำงานในท่อี บั อากาศใหเ้ ขา้ ใจตรงกัน - ซกั ซอ้ มความเขา้ ใจรว่ มกนั กบั ผปู้ ฏบิ ตั งิ านถงึ วธิ สี อื่ สาร การใหส้ ญั ญาณทงั้ ในเหตกุ ารณป์ กติ ผดิ ปกตแิ ละ ฉุกเฉิน - ดำ� เนนิ การตรวจวัดสภาพอากาศท้งั ก่อนและขณะปฏบิ ัติงานในที่อับอากาศ - เฝา้ ระวังและสังเกตพฤตกิ รรมที่เปลีย่ นแปลงไปของผู้ทปี่ ฏบิ ัตทิ ่อี าจสมั ผสั อันตรายในท่ีอบั อากาศ - ควบคุมใหผ้ ทู้ ีผ่ ่านเข้าไปท�ำงานในท่อี บั อากาศเป็นผู้ท่ไี ดร้ ับอนญุ าตเท่านน้ั - ดำ� เนนิ การตามขั้นตอนปฏิบตั ิในกรณเี กิดอุบัติเหตุหรือฉกุ เฉนิ - ตรวจสอบอุปกรณ์ที่ใช้ช่วยเหลอื ใหอ้ ยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน - มีทักษะและความช�ำนาญในการใชอ้ ปุ กรณ์ช่วยเหลอื เป็นอยา่ งดี - เฝ้าดูแลบริเวณทางเข้า-ออกที่อับอากาศ โดยให้สามารถติดต่อสื่อสารกับผู้ปฏิบัติงานที่ท�ำงานในท่ีอับ อากาศได้ตลอดเวลา ผปู้ ฏบิ ตั งิ าน ทำ� อะไร - ทราบถึงอันตรายทมี่ อี ยใู่ นทอ่ี บั อากาศ ท่จี ะเขา้ ไปทำ� งาน - ท�ำความเข้าใจข้ันตอนการปฏิบตั งิ านทีถ่ ูกตอ้ งและปลอดภัยตามทกี่ ำ� หนดไว้ - ประเมนิ ความพรอ้ มของร่างกายก่อนเข้าปฏบิ ตั งิ าน เพื่อใหท้ ราบถงึ ความสามารถของรา่ งกาย - สวมใสอ่ ุปกรณ์ตามท่ีกำ� หนดไว้ ตลอดระยะเวลาการปฏิบัติงาน - รวู้ ธิ กี ารชว่ ยเหลือตนเองเบื้องต้น เมอ่ื พบอาการผิดปกตเิ กิดขึ้น - ซักซอ้ มและฝกึ ทกั ษะความชำ� นาญในการให้สัญญาณกลบั ไปยังผ้เู ฝ้าระวังเพื่อขอความช่วยเหลอื - ร่วมฝกึ ซ้อมเพ่อื ให้ทราบวิธกี ารอพยพออกจากที่อบั อากาศได้อย่างปลอดภัย 17
ผนู้ ำ� “ทำ� ” และ “นำ� ” เราทกุ คนทที่ ำ� งานในบรษิ ทั /องคก์ ร/สถานประกอบ เรื่องความปลอดภัยฯ กิจการต่างๆ เรามีหน้าที่ช่วยสนับสนุนเร่ืองความปลอด เพือ่ มอบความปลอดภยั ภัยฯ ซงึ่ ต้องท�ำควบคไู่ ปกบั หนา้ ทใ่ี นต�ำแหนง่ งานท่เี ราไดร้ บั ให้กบั ทมี งานทกุ คน มอบหมาย เมื่อเราท�ำงานใน 14 กลุ่มประเภทกิจการท่ีกฎ กระทรวงก�ำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการ ดา้ นความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการ ทำ� งาน พ.ศ. 2549 ไดร้ ะบุไวซ้ ึ่งมีเกณฑ์เงอื่ นไขเบอื้ งต้น ดัง ตารางด้านล่างนี้ บริษัท/องค์กร/สถานประกอบกิจการต้อง มีการด�ำเนินการต่างๆ ภายในองค์กรให้ครอบคลุมตามกฎ กระทรวงดงั กลา่ วขา้ งตน้ อยา่ งครบถว้ น เชน่ การมเี จา้ หนา้ ท่ี จป. ระดบั ตา่ งๆ, การมหี นว่ ยงานความปลอดภยั , การมคี ณะ กรรมการความปลอดภัยฯ (คปอ.) เปน็ ต้น 18
จากตารางขา้ งต้น ท้ัง 14 ประเภทกจิ การ ทมี่ ีจำ� นวนพนักงานตรงตามเงอ่ื นไข จะตอ้ งดำ� เนินการให้มีคณะกรรมการความปลอดภัยฯ (คปอ.), เจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยในการท�ำงาน ระดับหัวหน้างาน (จป.หัวหน้างาน) และเจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยในการท�ำงาน ระดับบริหาร (จป.บริหาร) ดังนั้น เมื่อพิจารณาจากต�ำแหน่งการบริหารงานขององค์กร การระบุต�ำแหน่งของหัวหน้างานและต�ำแหน่งท่ีสูงกว่าระดับหัวหน้า งานจากโครงสร้างองค์กร ผังองค์กรให้กับพนักงานหรือเจ้าหน้าท่ีคนใด ทางบริษัท/องค์กร/สถานประกอบกิจการจะต้องแต่งต้ังพนักงาน/เจ้า หน้าท่ีคนนน้ั ๆ ให้เปน็ จป.บริหาร หรอื จป.หัวหน้างาน ต่อไป 19
เราเปน็ จป.บรหิ าร หรือเป็น จป. หัวหนา้ งานหรอื ไม่ ตรวจสอบตำ� แหนง่ งานของเราในบรษิ ัท/องค์กร/สถานประกอบกจิ การ เราเป็นพนักงาน/เจ้าหนา้ ที่ ท่ที �ำหนา้ ทีค่ วบคมุ ดแู ล บังคบั สง่ั งานให้ทมี งานภายใตค้ วามรบั ผดิ ชอบของเราท�ำงานตามหนา้ ที่ต่างๆ ที่ หนว่ ยงานเราต้องรบั ผดิ ชอบ ซงึ่ มรี ะดับเปน็ หัวหน้าหนว่ ยงานทีม่ รี ะดบั สงู กวา่ หัวหนา้ งานขึน้ ไป ใช่หรือไม่ √ ใช่ เราจะได้รับการแตง่ ตัง้ จากนายจา้ งให้เป็นเจา้ หนา้ ทีค่ วามปลอดภัยในการทำ� งานระดบั บริหาร(จป.บริหาร) เราเป็นพนักงาน/เจา้ หน้าท่ี ท่ที ำ� หน้าที่ควบคมุ ดแู ล บงั คบั สง่ั งานให้ทมี งานภายใตค้ วามรับผดิ ชอบของเราท�ำงานตามหนา้ ท่ตี ่างๆ ที่หนว่ ยงาน เราต้องรับผดิ ชอบ ใช่หรือไม่ √ ใช่ เราจะได้รับการแต่งต้งั จากนายจา้ งให้เปน็ เจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภยั ในการทำ� งานระดับหัวหน้างาน(จป.หวั หน้างาน) เม่ือเรามีคุณสมบัติครบถ้วนสมบูรณ์ในฐานะ จป. หัวหน้างาน หรือ จป.บริหาร ตามท่ีกฎหมายก�ำหนดแล้ว นอกจากการจัดการเรื่อง งานของแผนก ดูแลสมาชิกทุกคนในแผนกให้มีการท�ำงานที่มีประสิทธิภาพแล้ว เรายังต้องควบคุม ก�ำกับ ดูแลให้ทุกๆ คนในทีมของเราท�ำงาน อย่างปลอดภยั และมคี วามใสใ่ จเร่อื งความปลอดภยั ฯ ทแ่ี สดงออกผา่ นพฤตกิ รรมทปี่ ลอดภยั ของสมาชกิ แต่ละคนเพ่มิ เตมิ ข้ึนอกี ด้วย ถงึ เวลาท่ี ผู้ “นำ� ” (จป.หวั หนา้ งาน, จป.บรหิ าร) จะไดช้ ว่ ยกนั “ทำ� ” เรอื่ งความปลอดภยั ฯ เพอื่ ขยบั ภาพรวมเรอื่ งความปลอดภยั ของ บรษิ ัท/องคก์ ร/สถานประกอบกิจการให้อยใู่ นระดับทด่ี ยี ิ่งขน้ึ จากเดมิ ผา่ นการ “ท�ำ” และ “น�ำ” เร่อื งความปลอดภัยฯ ทีผ่ ู้น�ำตง้ั ใจมอบความ ปลอดภัยใหก้ บั ทมี งานทุกคน 3 “ทำ� ” ทีผ่ ูน้ ำ� ตั้งใจมอบความปลอดภยั ใหก้ ับทีมงาน 1. “ทำ� ” หน้าที่ของเราในฐานะ จป. (จป.หวั หนา้ งาน, จป.บริหาร) ใหค้ รบถ้วน 2. “ทำ� ” ใหส้ มาชกิ ทกุ คนทเ่ี ราดแู ลคดิ เปน็ คดิ ถกู ไดด้ ว้ ยตนเอง พวกเขาเหลา่ นน้ั จะไดท้ ำ� เปน็ ทำ� ถกู ในสง่ิ ทต่ี อ้ งทำ� สงิ่ ทตี่ อ้ ง รบั ผดิ ชอบได้อย่างถกู ตอ้ งและปลอดภัย เพราะความคิดเปน็ ตน้ ทุนท่ใี ชก้ ำ� หนดการกระท�ำ/พฤติกรรมการแสดงออกของเราแต่ละคน พฤติกรรม ท่แี สดงออกก็เปน็ ตัวก�ำหนดผลลพั ธท์ ่ีจะเกิดขึ้นจากการกระท�ำน้นั ๆ 20
ผู้น�ำ (จป.บริหาร, จป.หัวหน้างาน) เน้นท�ำให้สมาชิกทุกคนได้คิดเร่ืองความปลอดภัยก่อนลงมือท�ำงาน (Think Safe) สร้างจิตส�ำนึก ด้านความปลอดภัยโดยคาดการณ์ถึงอันตรายที่อาจจะเกิดข้ึน และหากพบว่าในงานท่ีท�ำมีอันตราย/ไม่มีความปลอดภัยท่ีเพียงพอ ต้องท�ำการ แก้ไขปรบั ปรงุ ใหเ้ กดิ ความปลอดภัยเสียกอ่ นจึงจะมีการลงมอื ท�ำงาน 3. “ท�ำ” ให้ผลลัพธ์ของงานมีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัย ผ่านการพูดคุยเพื่อก�ำหนดผลลัพธ์ท่ีส�ำคัญท่ีต้องการให้ เกิดขนึ้ เมอ่ื เสรจ็ ส้ินการทำ� งาน (กำ� หนดเกณฑก์ ารวัดผลการท�ำงาน), ประเมินความเส่ยี ง/คน้ หาอนั ตรายจากแตล่ ะขนั้ ตอนของงาน และกำ� หนด มาตรฐานการทำ� งานทปี่ ลอดภยั ทต่ี อ้ งการใหท้ กุ คนไดป้ ฏบิ ตั ไิ ปในทศิ ทางเดยี วกนั อยา่ งเครง่ ครดั (มมี าตรฐานการทำ� งานและมกี ารควบคมุ ใหเ้ กดิ การทำ� งานตามมาตรฐานดว้ ยความปลอดภยั ตลอดเวลา) เมอ่ื จบงานผนู้ ำ� (จป.บรหิ าร, จป.หวั หนา้ งาน) มกี ารประเมนิ ผลการทำ� งานเพอื่ ทำ� ใหท้ มี งานทกุ คนไดท้ บทวนตนเอง สำ� หรบั พฒั นา/ปรบั ปรงุ ตนเองและพฒั นา/ปรบั ปรงุ งานในครงั้ ตอ่ ๆไป เชน่ การเปรยี บเทยี บการทำ� งานของตนเองกบั มาตรฐานการทำ� งานท่ีก�ำหนดไว,้ การเปรียบเทียบการท�ำงานของตนเองกบั การท�ำงานของเพือ่ นสมาชกิ ในทมี คนอื่น, ความปลอดภัย/อุบตั เิ หต/ุ อบุ ตั กิ ารณท์ เี่ กดิ ขน้ึ จากการทำ� งานในครง้ั นี้ เปน็ ตน้ ซงึ่ อาจใชร้ ปู แบบของการพดู คยุ ระหวา่ งผนู้ ำ� และทมี งานแบบเดย่ี ว/แบบกลมุ่ , ใชแ้ บบประเมนิ , ใชข้ อ้ มลู เชงิ ตวั เลข/สถติ ผิ า่ นแผนภาพ กราฟ บนบอรด์ แสดงผลการทำ� งานหรอื รปู แบบอน่ื ใดกไ็ ดข้ น้ึ อยกู่ บั ความเหมาะสมทบี่ รษิ ทั /องคก์ ร/สถาน ประกอบกจิ การจะสามารถท�ำได้ 2 “น�ำ” ท่ีผนู้ �ำต้งั ใจมอบความปลอดภัยใหก้ บั ทีมงาน 1. น�ำทุกคนด้วยการเป็นแบบอย่างท่ีดีด้านความปลอดภัยผ่านการกระท�ำเร่ืองความปลอดภัยในแบบท่ีดีของผู้น�ำ (จป. บริหาร,จป.หวั หน้างาน) เชน่ เคารพ กฎ กตกิ า พร้อมทง้ั ปฏบิ ตั ิตามระเบยี บตา่ งๆ ด้านความปลอดภัยอยา่ งเคร่งครดั , เดนิ สำ� รวจตรวจตราความ ปลอดภยั , นำ� การทำ� Think Safe เป็นต้น 2. น�ำการสื่อสารที่ดีมาใช้ในการท�ำงาน (ฟัง, ถาม, ชื่นชม) เพ่ือช่วยกระตุ้นการกระท�ำพฤติกรรมที่ปลอดภัยของทีมงานผู้น�ำ (จป.บริหาร, จป.หวั หน้างาน) ตอ้ ง - เปน็ ผู้ฟังทด่ี ี ฟงั อยา่ งตงั้ ใจ ได้ยนิ ความคิดของผพู้ ดู รบั รไู้ ด้วา่ ผู้พดู รู้สกึ และต้องการอะไร - เป็นผถู้ ามท่ดี ี ถามในจงั หวะทเี่ หมาะสม ถามโดยใชค้ ำ� ถามปลายเปดิ ซึง่ เปิดโอกาสให้ผพู้ ูดแสดงความคิดเห็นและอธิบายความคิดต่อ เรื่องราวการท�ำงานท่ีมีความปลอดภัย ถามในส่ิงท่ีเก่ียวกับผู้พูด เช่น จะเกิดอันตรายอะไรกับเรา (ทีมงานแต่ละคน) ในการท�ำงานน้ีได้บ้าง, จะ เกดิ ผลลพั ธ์อยา่ งไรบ้าง ถา้ เรา (ทีมงานแตล่ ะคน) ทำ� งานโดยไม่มมี าตรฐานการทำ� งานทีป่ ลอดภัย เปน็ ตน้ - เปน็ ผใู้ หฟ้ ดี แบก็ (Feedback) ทด่ี ี สามารถใหฟ้ ดี แบก็ ทท่ี มี งานเปดิ ใจยอมรบั แนวคดิ และความเหน็ ของผนู้ ำ� (จป.บรหิ าร, จป.หวั หนา้ งาน) ได้ บอกให้ทีมงานทราบแบบตรงไปตรงมาเพ่อื ให้พวกเขาร้วู า่ สง่ิ ใดทท่ี �ำได้ดซี ่ึงเป็นสง่ิ ท่ที ำ� ให้เกิดความปลอดภยั ตอ่ ตนเอง ตอ่ งาน ต่อส่วนรวม ผา่ น การชื่นชม ขอบคุณ ใหก้ ำ� ลังใจการทำ� งาน และยกยอ่ งการกระท�ำทีด่ ขี องทมี งานอยา่ งสม่�ำเสมอ พร้อมกับประกาศความดีนัน้ ใหค้ นอนื่ ๆ ร้ดู ว้ ย เมอ่ื ผู้น�ำ ทงั้ “ท�ำ” และ “น�ำ” เรอ่ื งความปลอดภัยให้กบั ทีมงานทกุ คนแลว้ เราทกุ คนท่ีเปน็ สมาชิกในทีมก็มีหนา้ ท่ใี นการรว่ มมือและ รว่ มสรา้ งความปลอดภยั ฯ ผา่ นการกระทำ� ทดี่ ี ทที่ ำ� ใหเ้ กดิ ความปลอดภยั ดว้ ยการคดิ เรอื่ งความปลอดภยั กอ่ นเรมิ่ ทำ� งาน เมอื่ ทำ� งานกท็ ำ� งานแบบ มีสติ จดจอ่ กับสิง่ ทีท่ ำ� ตรงหน้า ทำ� งานตามข้นั ตอนและเปน็ ไปตามมาตรฐานในการทำ� งานที่ปลอดภัย เราทกุ คน คอื ผนู้ ำ� ทท่ี ำ� เรอื่ งความปลอดภยั ผา่ นการกำ� กบั ตนเองใหม้ พี ฤตกิ รรมทปี่ ลอดภยั ตลอดการทำ� งาน เพอื่ มอบความปลอดภยั ใหก้ บั ตนเอง ใหก้ บั เพอ่ื นรว่ มงาน และชว่ ยขยบั ภาพรวมเรอื่ งความปลอดภยั ของบรษิ ทั /องคก์ ร/สถานประกอบกจิ การใหอ้ ยใู่ นระดบั ทดี่ ขี น้ึ กวา่ เดมิ เชน่ กนั ด้วยรกั และห่วงใย จากใจผ้เู ขยี น...โคช้ ออนซ์_สชุ าดา อวยจนิ ดา วทิ ยากรความปลอดภัยในการทำ� งาน (หลกั สูตรจิตสำ� นึกความปลอดภยั , หลกั สูตรพฤติกรรมความปลอดภัยในการทำ� งาน และหลักสตู รความปลอดภัยในการทำ� งานอน่ื ๆ) ที่ปรกึ ษา (ดา้ นความปลอดภยั ฯ, ด้านสงิ่ แวดล้อม และดา้ นการพฒั นาเชิงกลยทุ ธ)์ โค้ชดา้ นจติ วิทยาการสอ่ื ประสาท NLP Neuro Linquistic Programming Coach หรอื NLP Coach (หลกั สูตรการโคช้ ,รบั ปรกึ ษาปญั หาเพ่ือทะลายทกุ ข้อจ�ำกัดที่ฉุดรง้ั คุณ) นักเขยี น หนังสอื เรอ่ื ง จิต (ใต)้ ส�ำนกึ ความปลอดภัย 21
ถลา้ งงั ทนำ� ค้ำ� วามมสันะอาดยุค 4.0 เปล่ียนงานยากให้เป็นงานงา่ ย ดร.วนิ เซน อาลอยซีอุส ประธานเจ้าหน้าท่ีบริหาร บริษัท อินทรี อีโคไซเคิล จ�ำกัด Tel: +662 797 7000 Email: [email protected] http://www.inseeecocycle.com 23
24
ทำ� ความแสบะอบาดฉถลงั าน้�ำดมกนั ว่าเดมิ 25
26
โดยอาจารยโ์ สภณ พงษโ์ สภณ Q: A: 27
เครือ่ งมือด�ำเนินการ ดา้ นความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทำ� งานทม่ี ีอยู่ และเปน็ ท่รี ูจ้ ักในปจั จุบนั ควรได้รบั การทบทวน พัฒนาใหถ้ กู ต้อง สมบรู ณ์ยง่ิ ขึน้ 28
29
30
เจา้ หนา้ ทค่ี วามปลอดภยั ระดับวิชาชีพตอ้ งทำ� ใหผ้ ู้บรหิ ารในองคก์ ร เข้าใจว่า 5 ส. สญั ลักษณ์ เคร่ืองหมาย ค�ำขวญั ธงทิว นทิ รรศการ และสง่ิ ประดษิ ฐ์ต่าง ๆ เก่ียวกบั ความปลอดภัย เปน็ กิจกรรมสนบั สนุน งานความปลอดภยั อาชวี อนามยั ไม่ใช่เป็นกิจกรรมหรอื เครือ่ งมอื หลัก 31
ใกนาทรร่อี ะบับาอยอาากกาาศศ (CONFINED SPACE VENTILATION) นายสุทธศิ กั ด์ิ เพ็งสลุง ท่ีปรึกษาอาวุโส บริษัท เอ็นพีซี เซฟต้ี แอนด์ เอ็นไวรอน เมนทอล เซอร์วิส จ�ำกัด การระบายอากาศในทอ่ี บั อากาศ (Confined space ventilation) เปน็ มาตรการความปลอดภยั ทนี่ ำ� มาใชเ้ พอื่ ทำ� ให้ “บรรยากาศอนั ตราย” ในทอี่ บั อากาศหรอื Confined space นน้ั หมดไป แตจ่ ะมวี ธิ กี ารหรอื มาตรฐานใดๆ มาใชเ้ ปน็ แนวทาง เพอื่ ใหม้ น่ั ใจวา่ ผปู้ ฏบิ ตั งิ านทอี่ ยภู่ ายในจะมอี ากาศทเ่ี พยี งพอตอ่ การหายใจและลดความเสยี่ งไดบ้ า้ ง ซง่ึ ผเู้ ขยี นไดพ้ ยายามคน้ ควา้ เอกสารทเี่ ก่ียวข้องมาน�ำเสนอแลกเปลีย่ น โดยจะน�ำเสนอตอ่ ไป Confined space จัดว่าเป็นท่ีท�ำงานที่มีความเส่ียงอันตรายสูงอาจท�ำให้ผู้ปฏิบัติงานเสียชีวิตอันเนื่องมาจาก “บรรยากาศอนั ตราย” ทอ่ี ยภู่ ายใน Confined space ซง่ึ มีเพชฌฆาต 3 ตวั ทที่ ำ� ใหเ้ สยี ชวี ติ มากท่ีสุดตามล�ำดบั ได้แก่ 1. การขาดออกซิเจน 2. สารไวไฟ 3. สารเคมีอนั ตรายหรือสารพิษ โดยกฎหมายไดก้ ำ� หนดไวว้ า่ “บรรยากาศอนั ตราย” คอื สภาพบรรยากาศการทำ� งานทอี่ ยา่ งหนงึ่ อยา่ งใดตอ่ ไปนี้ คอื 1. มปี รมิ าณออกซิเจนต�ำ่ กวา่ 19.5% และมากกว่า 23.5% โดยปริมาตร 2. มีปรมิ าณสารไวไฟมากกว่า 10% LEL 3. มีปรมิ าณสารเคมอี นั ตรายเกินกว่าคา่ TLV หรอื PELของสารเคมแี ตล่ ะชนดิ ดังน้ันการท่ีจะจัดการกับเพชฌฆาต 3 ตวั ให้ได้ นน่ั ก็คือ การนำ� หลักการระบายอากาศในทีอ่ บั อากาศ (Confined space ventilation) มาใช้ (ซ่งึ ก่อนหนา้ นีจ้ ะตอ้ งมกี ารตดั แยกพลงั งาน สารเคมี สารไวไฟ หรือสารอนั ตราย หรอื Isolation system เรยี บร้อยแล้ว) ซงึ่ ในกฎกระทรวงฯ อบั อากาศ 2547 ไดก้ �ำหนดไวว้ า่ จะต้องดำ� เนนิ การตรวจวัดสภาพอากาศท้ังก่อน และระหวา่ งทำ� งานใน Confined space และหากตรวจพบบรรยากาศอนั ตรายจะตอ้ งทำ� การระบายอากาศ เพอื่ ใหบ้ รรยากาศ อันตรายนนั้ หมดไป 32
General Equipment Co., ไดใ้ หข้ อ้ มลู เกย่ี วกบั วธิ กี ารระบายอากาศใน Confined space และ วธิ ีการเลือกใช้ Blower ไวอ้ ย่างหน้าสนใจในบทความเร่อื ง Using Ventilation Blowers in Confined spaces เมอ่ื February 1997 ซึง่ ไดส้ รปุ หลกั การพิจารณาเลือก Blower ไว้ดงั น้ี 1. หาก Confined space มหี รืออาจมบี รรยากาศอนั ตราย Blower ท่ีน�ำมาใช้ตอ้ งระมดั ระวัง เรือ่ งการก่อใหเ้ กิดประกายไฟและการระเบดิ 2. หาก Confined space มขี นาดใหญ่ Blower ทน่ี ำ� มาใชก้ ต็ อ้ งพจิ ารณาประสทิ ธภิ าพทเี่ หมาะสม 3. พิจารณาท่ออากาศ ของ Blower ต้องมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่น้อยกว่า 8 นิ้ว และ ความยาวของท่อไม่เกิน 25 ฟุต หากจ�ำเป็นต้องใช้ความยาวของท่อมากกว่าน้ี ต้องพิจารณาก�ำลังแรง ของ Blower ที่สูงข้ึนและขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางท่ีใหญ่ขึ้น ทั้งนี้ต้องพิจารณาข้อต่อข้องอท่ีมีผลท�ำให้ อตั ราการไหลของอากาศลดลงดว้ ย 4. พิจารณาแหลง่ พลงั งานของ Blower ที่ใช้ ตอ้ งเหมาะสมกบั พื้นทก่ี ารท�ำงาน เชน่ ใชน้ ำ้� มัน ใช้ลม ใชไ้ ฟฟา้ กระแสตรง DC หรอื กระแสสลับ AC 5. ราคาและงบประมาณท่ีเหมาะสม โดยปกติ Blower ทีมีราคาสูงก็จะมีก�ำลังแรงมาก หากราคาถูกกจ็ ะไดก้ ำ� ลังแรงของ Blower ทีน่ อ้ ย นอกจากนี้ General Equipment Co., ยังได้อธิบาย CFM ของ Blower ไวอ้ ย่างนา่ สนใจ คอื CFM จะเป็นข้อมูลระบุประสิทธิภาพหรือความสามารถของ Blower ที่สามารถท�ำให้อากาศไหลเวียน ได้ ซึง่ สามารถดูเอกสารผลการทดสอบประสิทธิภาพของ Blower โดยขอไดจ้ ากผู้ขายหรอื ผูผ้ ลิต ดงั นน้ั การเลอื ก Blower เพ่อื ใช้ในการระบายอากาศใน Confined space ต้องพจิ ารณา CFM ของ Blower เปน็ หลกั เพราะจะเป็นตวั กำ� หนดปริมาณอากาศท่ไี หลเวียนใน Confined space ซง่ึ ใน OSHA 1910.146 ไมไ่ ดก้ ำ� หนดอตั ราไวอ้ ยา่ งชดั เจน แตใ่ นแตล่ ะรฐั จะมกี ารออกกฎหมาย กำ� หนดอตั ราการไหลเวยี นอากาศทแ่ี ตกตา่ งกนั เชน่ ในรฐั Minnesota กำ� หนดอตั ราการไหลเวยี นอากาศ ใน Confined space อยา่ งนอ้ ย 6 Air Changes per hour อธบิ ายไดว้ า่ หากลกู จา้ งทำ� งานใน Confined space ทม่ี ขี นาด 10,000 Cubic feet (ลกู บาศกฟ์ ตุ ) ความตอ้ งการไหลเวยี นอากาศอยา่ งนอ้ ยนอ้ ย 6 Air Changes per hour คอื 60,000 Cubic feet per hour (ลกู บาศกฟ์ ตุ ตอ่ ชัว่ โมง) เราตอ้ งเลอื ก Blower ทมี่ กี �ำลงั อย่างนอ้ ย 1,000 CFM (cubic feet per minutes) จะสามารถทำ� ใหเ้ กิดการไหลเวียนอากาศ ได้ 60,000 ลกู บาศก์ฟุตต่อชว่ั โมง แต่มีข้อแม้วา่ Blower ตวั นต้ี อ้ งท�ำงานไดเ้ ตม็ ประสทิ ธภิ าพ 100% สรปุ ไดว้ า่ การระบายอากาศใน Confined space จะเหมาะสมหรอื ไม่ ใหพ้ ิจารณาจากกำ� ลัง CFM ของ Blower เทียบกับขนาดของ Confined space ท่ีจะเข้าไป (โดยต้องแปลงหน่วยพัดลม และพื้นที่ Confined space ให้ตรงกันด้วย) โดยก�ำลังของ Blower ต้องมีความสามารถอย่างน้อย 6 Air Changes per hour นอกจากนแ้ี ลว้ ผเู้ ขยี นพบเอกสารของ NC State University/ Environmental Health & Safety Center หนา้ ที่ 5/01 Appendix D Confined space ventilation กำ� หนดไวว้ า่ อตั รา การระบายอากาศตอ้ งไมน่ อ้ ยกวา่ 10 air exchanges per hour จงึ อาจเปน็ แนวทางนำ� ไปใชก้ ำ� หนดเปน็ มาตรฐานเก่ยี วกับการระบายอากาศได้ ตามแนวทางท่ีกล่าวมาข้างต้นน้ัน ผู้เขียนจึงขอแนะน�ำว่า ผู้ท่ีท�ำหน้าท่ีระบายอากาศใน Confined space ควรต้องพิจารณากำ� ลงั ความสามารถของ Blower และขนาดของ Confined space ท่จี ะเข้าไปดว้ ย เพอ่ื ให้มกี ารระบายอากาศอย่างเหมาะสม อย่างไรก็ตามแมว้ ่าเราจดั ให้มีระบบระบายอากาศทด่ี แี ล้วก็ตาม การตรวจวดั สภาพอากาศ ใน Confined Space เปน็ ระยะๆ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ดว้ ยวธิ กี ารทถ่ี กู ตอ้ ง และใชเ้ ครอ่ื งมอื วดั ทไ่ี ดม้ าตรฐาน กต็ อ้ งดำ� เนนิ การควบคกู่ นั ไปเพอ่ื ใหม้ น่ั ใจวา่ ไมม่ บี รรยากาศอนั ตรายสะสมในระดบั ทเ่ี ปน็ อนั ตรายตอ่ ผปู้ ฏบิ ตั ิงาน 33
NN EO WR M A L FOR WORKPLACE ในสถานประกอบกิจการ วินยั ลฐั ิกาวบิ ูลย์ 34
นับต้ังแต่เกิดการระบาดของเช้ือไวรัสโคโรน่า 2019 1. ต้องจัดให้มีการบริหารจัดการและด�ำเนินการให้เป็นไป (COVID-19) เราเห็นการเปลี่ยนแปลงมากมายในสังคมท่ีเกิดข้ึน ตามที่กฎหมายก�ำหนด เห็นการปรับตัวในการใช้ชีวิตและการปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะอย่างย่ิงเม่ือความเปล่ียนแปลงนั้นเก่ียวกับสุขภาพอนามัย การบริหารจัดการที่ดี ผู้บริหารสูงสุดต้องมีภาวะผู้น�ำและ ในการท�ำงานและชีวิตวิถีใหม่ การท�ำงานของผู้ปฏิบัติโดยรวม ลงมอื ทำ� อยา่ งจรงิ จงั ตามบทบาทหนา้ ทร่ี บั ผดิ ชอบทก่ี ฏหมายกำ� หนดไว้ เราจึงจ�ำเป็นต้องเรียนรู้ท่ีจะปรับปรุงแบบการใช้ชีวิตและพฤติกรรม แ ล ะ ไ ด ้ รั บ ค ว า ม ร ่ ว ม มื อ จ า ก ทุ ก ฝ ่ า ย แ ล ะ ผู ้ ป ฏิ บั ติ ง า น ทุ ก ค น การทำ� งานใหส้ อดคลอ้ งกบั การเปลย่ี นแปลงตา่ งๆ ทเี่ กดิ ขนึ้ และนน่ั คอื ซ่งึ มกี ฎหมายได้ก�ำหนดไวช้ ัดเจน เช่น พระราชบัญญตั คิ วามปลอดภยั สงิ่ ทเ่ี ราเรียกวา่ “ชีวิตวถิ ีใหม่ในสถานทีท่ ำ� งาน” อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการท�ำงาน พ.ศ.2554 อนึ่ง ปัจจุบันมีหลักฐาน ข้อมูลด้านความรู้ ความเข้าใจและ มาตรา 6. ให้นายจ้างมีหน้าที่จัดและดูแลสถานประกอบ การพดู คยุ อยา่ งกวา้ งขวาง เกยี่ วกบั เชอ้ื ไวรสั โคโรนา่ 2019 (COVID-19) กิจการและลูกจ้างให้มีสภาพการท�ำงานและสภาพแวดล้อมในการ มากมายสว่ นหนงึ่ มเี อกสารสงิ่ พมิ พน์ ติ ยสาร ของ สสปท.ฉบบั ที่ 13 กไ็ ด้ ท�ำงานที่ปลอดภัยและถูกสุขลักษณะรวมท้ังส่งเสริมสนับสนุนการ ใหค้ วามรเู้ กย่ี วกบั การแกไ้ ขปญั หา มาตรการปอ้ งกนั และวธิ กี ารปอ้ งกนั ปฏิบตั งิ านของลูกจ้างมใิ ห้ลกู จา้ งได้รบั อันตรายตอ่ ชวี ิต รา่ งกาย จิตใจ ไวเ้ ปน็ อยา่ งดี โดยจะใหค้ วามสำ� คัญและมงุ่ เน้นการปอ้ งกันตนเองและ และสุขภาพอนามยั คนรอบขา้ งให้หา่ งไกลจากเชือ้ ไวรัสโคโรนา่ 2019 ให้ลูกจ้างมีหน้าท่ีให้ความร่วมมือกับนายจ้างในการด�ำเนิน อย่างไรก็ตามการระบาดของโรคดังกล่าว ยังไม่มีทีท่าที่จะ การและสง่ เสรมิ ดา้ นความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ ม ส้ินสุดได้ภายในเร็ววัน ก่อให้เกิดผลกระทบและสร้างความกังวล ในการทำ� งาน เพื่อใหเ้ กิดความปลอดภยั แกล่ ูกจา้ งและสถานประกอบ และความเสียหายแก่สถานประกอบกิจการและชีวิตคนท�ำงาน กจิ การ จ�ำนวนมาก แต่ในภาวะการณ์ปัจจุบันก็หลีกเลี่ยงไม่ได้ที่ผู้ประกอบ ส่ิงที่สถานประกอบกิจการต้องปฏิบัติให้สอดคล้องตาม กิจการต้องด�ำเนินการต่อไปโดยเปล่ียนวิกฤตคร้ังนี้ให้เป็น “โอกาส” กฎหมาย เชน่ โดยผู้ประกอบกิจการและผู้ปฏิบัติงาน ต้องร่วมกันพัฒนาและ - กำ� หนดนโยบายความปลอดภยั ฯและตดิ ประกาศใหผ้ ปู้ ฏบิ ตั ทิ ราบ ขับเคลื่อนงานความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยในการท�ำงานอย่าง - ก�ำหนดแผนการด�ำเนินงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์ จริงจังให้สอดคล้องกับสถานการณ์ขณะนี้ เพราะยังมีจ�ำนวนผู้ปฏิบัติ COVID-19 งานและผู้ประกอบกิจการอีกจ�ำนวนมากต้องด�ำเนินธุรกิจ และมีการ - มบี คุ คลหรอื คณะบคุ คลทจ่ี ะขบั เคลอ่ื นและตดิ ตามประเมนิ ผล จา้ งทำ� งานในสถานทที่ ำ� งานเฉลยี่ นวนั ละ 8-9 ชวั่ โมงเพอื่ ความอยรู่ อด - มกี ารประเมนิ ความเสย่ี งสถานทท่ี ำ� งานทต่ี นรบั ผดิ ชอบรว่ ม ขององคก์ รและการดำ� รงชวี ิตของผปู้ ฏิบตั ิงาน กับ จป.ทุกระดบั ดงั นน้ั จากประสบการณท์ ำ� งานดา้ นแรงงานทผี่ า่ นมาของผเู้ ขยี น และความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสภาพการท�ำงานของผู้ปฏิบัติงาน ส่งิ ท่ีผ้นู �ำตอ้ งปฏบิ ัติ เชน่ มาโดยตลอด จึงตอ้ งนำ� เสนอแนวคิด New Nomal for Workplace - มีภาวะผู้น�ำในการบริหารจัดการเชิงป้องกัน เพ่ือไม่ให้เกิด ในสถานประกอบกจิ การทกุ ประเภท ไดเ้ ขา้ ใจและใหค้ วามสำ� คญั มงุ่ มนั่ ความเสย่ี ง และใหค้ วามสำ� คญั กบั การมสี ว่ นรว่ มของผปู้ ฏบิ ตั งิ านทกุ คน ขับเคลอื่ นการบรหิ ารจัดการแนวคดิ ดงั กล่าวใหเ้ กดิ เปน็ รูปธรรมต่อไป - สร้างความเข้าใจ ความรู้เร่ืองการดูแล สุขภาพอนามัย ในความเห็นของผู้เขียนต้องการให้สถานประกอบกิจการ ในการท�ำงานของตนเอง และเพือ่ นร่วมงานอยา่ งเปน็ รูปธรรม มกี ารพัฒนาแนวคดิ และร่วมกันพิจารณารปู แบบและวธิ ีการในองค์กร - มีระบบการสื่อสารและรายงานตามหลักเกณฑ์ที่ก�ำหนด โดยสร้างโอกาสให้คณุ ภาพชวี ติ ที่ดีแกผ่ ปู้ ฏบิ ัติงานอย่างชดั เจนมากขึ้น อย่างเคร่งครัด เพ่ือขยายผลการปรับปรุงแก้ไขให้เกิดความเหมาะสม เพอื่ เปน็ กำ� ลงั สำ� คญั ในการสรา้ งผลผลติ ไมว่ า่ จะเปน็ ชนิ้ งานหรอื บรกิ าร และประสทิ ธิภาพการท�ำงานตอ่ ไป ให้แก่องค์กรของตนเอง ท้ังนี้ผู้เขียนได้ศึกษาและวิเคราะห์ประเด็น ทส่ี ถานประกอบกจิ การสามารถขบั เคลอ่ื นและปฏบิ ตั ไิ ดจ้ รงิ และไมเ่ ปน็ ภาระค่าใช้จ่าย ซ่ึงประเด็นท่ีเห็นว่าส�ำคัญและมีความเหมาะสมกับ ทุกประเภทกิจการ รวมท้ังสอดคล้องกับสถานการณ์เชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ปัจจบุ นั ควรประกอบดว้ ย 4 ประเดน็ (4 ต.) ดงั นี้ 35
2. ต้องปฏิบตั ิตามขอ้ บงั คับว่าดว้ ยความปลอดภัยฯ มนษุ ยท์ กุ ๆ คน มโี อกาสทจี่ ะเผอเรอ เหมอ่ ลอย ซมุ่ ซา่ ม รวบรดั ลัดขั้นตอน เข้าใจผิด ตัดสินใจผิด ลักษณะการปฏิบัติงานของมนุษย์ ดังกล่าว จะท�ำให้เกิดการท�ำงานที่ผิดพลาดได้ ซ่ึงลักษณะน้ีเรียกว่า ความผดิ พลาดของมนษุ ย์ (Human Error) ความผดิ พลาดนเี้ อง หากไป ปรากฏในการท�ำงานในสถานประกอบกิจการเราเรียกว่า การกระท�ำ ที่ไม่ปลอดภัย (Unsafe Action) ซึ่งอาจจะเป็นสาเหตุของอุบัติเหตุ และโรคเนือ่ งจากการท�ำงานได้ หลักคิดดังกล่าวข้างต้น บทความน้ีจึงขอเสนอแนวทางหนึ่ง เพื่อป้องกันที่เกิดจากการกระท�ำไมป่ ลอดภัยของคนท�ำงาน จึงจ�ำเป็น ต้องก�ำหนดมาตรการป้องกัน และแก้ไขทุกด้านเกี่ยวกับสภาพการ ท�ำงาน โดยการสร้างจิตส�ำนึก หรืออบรมใหค้ วามรู้ ความเขา้ ใจแกผ่ ้ทู ี่ เกย่ี วขอ้ ง หรอื การกำ� หนดระเบยี บ ขอ้ บงั คบั ในการทำ� งานใหเ้ หมาะสม กับองคก์ ร โดยไมล่ ะเมดิ และขัดขอ้ กฎหมายท่เี กี่ยวข้อง ข้อบังคับ หมายถึง กฎซ่ึงก�ำหนดขึ้นไว้ส�ำหรับบังคับให้ พนักงานปฏิบัติตาม กฎ คือ ข้อบงั คับต่างๆท่บี รษิ ัทกำ� หนดข้นึ ประเภทข้อบงั คบั โดยทว่ั ไปมี 2 ประเภท คือ 1. ขอ้ บงั คบั เกย่ี วกบั การทำ� งาน ตามพระราชบญั ญตั คิ มุ้ ครอง แรงงาน พ.ศ.2541 คอื เอกสารทน่ี ายจา้ งแตล่ ะสถานประกอบกิจการ ตอ้ งจดั ใหม้ ขี นึ้ เพอื่ กำ� หนดนโยบาย สทิ ธิ หนา้ ที่ และแนวทางปฏบิ ตั ติ อ่ กนั ระหวา่ งนายจา้ งกบั ลกู จา้ ง ขอ้ บงั คบั เกย่ี วกบั การทำ� งาน จงึ เปรยี บ เสมอ “กฎหมายภายในองคก์ ร” ที่ใชบ้ ังคบั ระหว่างนายจ้างกบั ลูกจ้าง และต้องมีรายละเอียดเกย่ี วกบั รายการตามท่ีกำ� หนด 2. ขอ้ บงั คบั วา่ ดว้ ยความปลอดภยั ในการทำ� งาน ตามพระราช บญั ญตั คิ วามปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทำ� งาน พ.ศ.2554 คอื กฎหมายกำ� หนดไวว้ า่ จะตอ้ งกำ� หนดขน้ั ตอนและวธิ กี าร ปฏิบัติงานที่ปลอดภัย เพ่ือควบคุมมิให้มีการกระท�ำท่ีอาจก่อให้เกิด ความไม่ปลอดภยั ในการทำ� งาน ประกอบด้วย 1. ข้อบังคับ (กฎ) เกย่ี วกับความปลอดภัยทั่วไป เชน่ - ผปู้ ฏบิ ตั งิ านทกุ คนตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บ คำ� แนะนำ� ตา่ ง ๆ อยา่ งเครง่ ครัด - หา้ มหยอกลอ้ เล่นกันในขณะปฏิบัตงิ าน - ใหใ้ ช้ PPE และรกั ษาอปุ กรณใ์ หอ้ ยใู่ นสภาพทด่ี อี ยเู่ สมอ 2. ข้อบังคบั (กฎ) เกย่ี วกบั ความปลอดภัยเฉพาะงาน เชน่ - ความปลอดภัยในสำ� นกั งาน - ความปลอดภยั เก่ียวกับไฟฟา้ - ความปลอดภยั เก่ียวกับสารเคมี 36
3. วิธกี ารปฏิบัตงิ านเพือ่ ความปลอดภยั ดังนั้นการท่ีสถานประกอบกิจการได้ก�ำหนดระเบียบ ข้อบังคับในการท�ำงาน เจตนารมณ์ต้องการให้ผู้ปฏิบัติงานได้ปฏิบัติ ตามข้อบังคับดังกล่าวอย่างชัดเจน ซ่ึงในองค์กรคนที่จะปลอดภัยก็คือ ตัวท่านที่เป็นผู้ปฏิบัติงาน เพื่อก่อให้เกิดความปลอดภัยฯ และเป็น หน้าที่ของทุกคน รวมท้ังเป็นหน้าท่ีความรับผิดชอบร่วมกันท้ังฝ่าย สถานประกอบกจิ การและผ้ปู ฏบิ ัตงิ านเพ่ือก่อให้เกดิ ความปลอดภัย 3. ตอ้ งจดั และดูแลใหส้ วมใส่ PPE อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล (Personal Protective Equipment) หรอื ที่เรียกท่ัวไปว่า PPE เป็นอปุ กรณท์ ่ีใช้ สวมใสร่ า่ งกาย เพอ่ื คมุ้ ครองรา่ งกายจากอนั ตรายในรปู แบบตา่ ง ๆ เชน่ เช้อื ที่ก่อโรค สารเคมี สง่ิ ของตกหลน่ จากที่สูง เปน็ ต้น ซ่งึ เกิดจากการ ท�ำงาน หรือสภาพแวดล้อมในการทำ� งานทีไ่ มป่ ลอดภัย และทำ� ใหเ้ กดิ ผลกระทบต่อสุขภาพของผู้ปฏิบัติงาน รวมท้ังขาดการบริหารจัดการ ไม่เพียงพอเก่ียวกับการก�ำหนดมาตรการควบคุมอันตราย ท้ังน้ีการใช้ PPE เป็นการป้องกัน ควบคุมอันตรายที่มีประสิทธิภาพได้ระดับหน่ึง เมอื่ เทยี บกบั การป้องกันควบคุมอันตรายในรปู แบบอ่นื ๆ อย่างไรก็ตาม การพิจารณาเลอื กซ้อื PPE ตอ้ งคำ� นงึ ถึงชนดิ ท่สี ามารถป้องกันอันตรายจากการทำ� งานเฉพาะลักษณะการท�ำงานท่ี สมั ผสั การสวมใสต่ อ้ งสะดวกสบาย ใชง้ า่ ย นำ้� หนกั เบา ปอ้ งกนั ไดอ้ ยา่ ง มีประสิทธิภาพสงู เกบ็ และบ�ำรงุ รักษางา่ ย ทนทาน และหาซอ้ื อะไหล่ ได้ง่ายเม่อื ชำ� รุด การสรา้ งแรงจงู ใจให้ผูป้ ฏิบัติงานใช้ PPE พอสงั เขปดังนี้ 1. ต้องฝึกอบรม ขี้แจง แนะน�ำให้ผู้ปฏิบัติงานทราบถึง อันตราย หรืออุบัติเหตุ และโรคที่เกิดข้ึนจากการท�ำงานอย่างชัดเจน และชใ้ี หเ้ หน็ ประโยชนข์ องการใช้ PPE ในการทำ� งานวา่ สามารถปอ้ งกนั อนั ตรายใหก้ บั ผูใ้ ช้ PPE ไดอ้ ย่างไร 2. แนะนำ� การดแู ลรกั ษาความสะอาด PPE ใหม้ คี วามสะอาด และพร้อมใช้งานได้ตลอดเวลา และควรแจก PPE ให้ไว้ใช้ประจ�ำตัว ผปู้ ฏบิ ตั ิงานท่จี ำ� เป็นต้องใชใ้ นการท�ำงาน 3. จัดให้มีสัญลักษณ์เตือนอันตราย หรือแผ่นป้ายเตือนการ ใช้ PPE รวมทง้ั ขอ้ ความแสดงสทิ ธิ และหนา้ ทข่ี องนายจา้ ง และลกู จา้ ง ตามที่กฎหมายกำ� หนด 4. ผบู้ งั คบั บญั ชาทกุ ระดบั จะตอ้ งเปน็ ตวั อยา่ ง เปน็ แบบอยา่ ง ทีด่ ี โดยปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ และข้อบังคับทกุ ประการอย่างเครง่ ครัด 37
4. ต้องจดั สถานท่ีทำ� งานให้เปน็ ระเบยี บ และสะอาด การดูแลสถานประกอบกิจการให้น่าอยู่ สะอาด จัดเก็บให้ เรียบร้อยเป็นส่วนท่ีส�ำคัญให้ผู้ปฏิบัติงานในสถานประกอบกิจการ มีความปลอดภัย และสุขภาพอนามยั ที่ดี ลดความเสย่ี งของการสมั ผสั สภาพงานทเ่ี ส่ยี งอนั ตราย น่นั คือหลกั สำ� คัญสำ� หรบั การเตรยี มสถานที่ ท�ำงาน และการปฏบิ ตั งิ านทปี่ ลอดภยั ถกู สุขลักษณะท�ำใหม้ คี วามสขุ สขุ ภาพกาย และจิตใจสมบูรณ์ ซ่ึงหลกั การดังกล่าวผ้เู ขยี นกำ� ลงั เสนอ แนวคิดให้สถานประกอบกิจการให้ความสนใจ และมุ่งเน้นในการ ด�ำเนินกิจกรรม 5ส ในสถานท่ีท�ำงานของตนเอง เพ่ือปรับปรุงสภาพ การท�ำงานท่ีไม่ดี ไม่เหมาะสมให้เป็นสถานท่ีท�ำงานท่ีดี คือมีสภาพ แวดล้อมในทีท่ �ำงานดขี นึ้ ซึ่งเปน็ กิจกรรมท่ีลงทนุ น้อยที่สดุ เหมาะกบั สถานการณป์ จั จบุ นั แตต่ อ้ งอาศยั ความรว่ มมอื รว่ มใจของผปู้ ฏบิ ตั งิ าน ในสถานประกอบกิจการเป็นหลัก โดยเฉพาะแนวคิดของบทความ ฉบบั นต้ี อ้ งการใหค้ วามสำ� คญั กบั “คน” เปน็ องคป์ ระกอบหลกั เพราะ... ไมป่ทลำ� งอาดนภัย ปทล�ำองดาภนยั คน อนสาขุ มภัยาไพมด่ ี ใช้ 5ส อสนขุ าภมาัยพดี กเบารอื่ ทหำ�นง่าายน สทมนำ� ีคุกงวากานับมกแสลาขุ ะร 38
ความหมาย 5ส โดยสังเขป คอื สะสาง คอื การแยกใหช้ ดั ระหวา่ งของทจ่ี ำ� เปน็ ตอ้ งใชก้ บั ของทไ่ี มจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งใช้ ของทไี่ มจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งใช้ให้ขจัดทิ้งไป กล่าวกันวา่ การเพมิ่ ประสิทธิภาพนั้น ตอ้ งเริม่ จาก “สะสาง” สะดวก คือการจัดวางของที่จ�ำเป็นต้องใช้ให้เป็นระเบียบ สามารถหยิบฉวยใช้งานได้ทันที กล่าวกนั วา่ ใหใ้ ช้หลกั “สะดวก” นี้ เพ่ือก�ำจัดความสญู เปลา่ ของเวลาในการ “ค้นหา” สิ่งของ สะอาด คอื การปดั กวาดเชด็ ถสู ถานท่ี สง่ิ ของ อปุ กรณ์ เครอ่ื งมอื เครอ่ื งจกั รใหส้ ะอาดอยเู่ สมอ ไมม่ เี ศษขยะ ไมใ่ หส้ กปรกเลอะเทอะ กลา่ วกนั วา่ “สะอาด” คอื พน้ื ฐานของการยกระดบั คณุ ภาพ สุขลักษณะ คือการรักษา และปฏิบัติ 3ส ให้ดี และรักษาให้ดีตลอดไป กล่าวกันว่าก้าว แรกของความปลอดภัย เรม่ิ จากการรกั ษาความสะอาด หรอื “สขุ ลกั ษณะ” นเ้ี อง สรา้ งนสิ ัย คือการรักษา และปฏิบตั ิ 4ส หรอื สิ่งทกี่ ำ� หนดไว้แล้วอยา่ งถกู ต้อง จนติดเป็น นิสัย จากแนวคิด New Normal for Workplace ในสถานประกอบกจิ การทุกประเภท ท่จี �ำเปน็ ต้องมีการบรหิ ารจดั การ ขับเคลือ่ น 4ต. ดงั กลา่ วข้างตน้ โดยผ้เู ขียนพยายามน�ำเสนอ แนวปฏิบัติในส่ิงท่ีสถานประกอบกิจการสามารถปฏิบัติได้จริง เข้าใจง่าย และสอดคล้องกับ สถานการณ์เชื้อไวรัสโควิด-19 ปัจจุบัน ทั้งนี้เพ่ือสร้างเสริมความปลอดภัย สุขภาพอนามัยที่ดี แกผ่ ปู้ ฏบิ ตั งิ าน รวมทงั้ การบรหิ ารจดั การสถานทท่ี ำ� งานใหม้ คี วามปลอดภยั และสขุ ภาพอนามยั ทดี่ เี ปน็ รปู ธรรม และยง่ั ยนื ซง่ึ จะกอ่ ใหเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สดุ กบั องคก์ ร เชน่ ผลผลติ เพม่ิ ขนึ้ ตน้ ทนุ การผลติ ลดลง กำ� ไรมากขน้ึ สงวนทรพั ยากรมนษุ ย์ และการสรา้ งแรงจงู ใจใหผ้ ปู้ ฏบิ ตั งิ านมคี วามสขุ กบั การท�ำงานมากขึน้ 39
จป.มือโปร คณุ อนุสรณ์ พินธุ (นูน) 1. ประวัติ การศึกษา : ป.ตรี อาชีวอนามัยและความปลอดภยั ม.วลัยลกั ษณ์ ป.โท วศิ วกรรมความปลอดภยั ม.เกษตรศาสตร์ (บางเขน) ประวัติการทำ� งาน : ปี 2548-ปจั จุบัน บริษทั ข้าว ซี.พี.จำ� กดั อายงุ าน 15 ปี ต�ำแหน่งปจั จุบัน ผ้จู ดั การฝ่ายความปลอดภัย รบั ผดิ ชอบงานด้านความปลอดภัย และการบริหารความเส่ยี งสายธรุ กจิ ขา้ ว กลุ่มธรุ กจิ การค้าระหว่างประเทศ เครอื เจริญโภคภณั ฑ์ ประวตั ิการอบรม : - เทคนคิ การพัฒนาระบบบรหิ ารจัดการ ความปลอดภัยฯใหไ้ ด้มาตรฐานสากล และอบุ ัตเิ หตุใหเ้ ปน็ ศูนย์ - การกำ� จัดพฤติกรรมเสี่ยง - การประเมินความเสยี่ งทางดา้ นการยศาสตร์ - ระบบการจัดการ 5ส (Thailand 5S award) - วิศวกรรมป้องกนั อัคคีภัย - โปรแกรมการพัฒนาระบบบรหิ ารจัดการเพอื่ ความย่งั ยนื - ระบบการบริหารความต่อเนอื่ งทางธุรกจิ (ISO 22301) - ผูจ้ ัดการสง่ิ แวดล้อม - การบรหิ ารความเส่ยี งองคก์ ร 40
2. เหตใุ ดถึงได้เลือกเรยี นในหลกั สูตรอาชวี อนามัยและความปลอดภัย ตอนใกลจ้ ะจบ ม.6 ผมอยากเขา้ เรยี นทางดา้ นสาธารณสขุ อยสู่ ถานอี นามยั ใหก้ ารชว่ ยเหลอื ดแู ลคน แตด่ ว้ ยผเู้ ขา้ แขง่ ขนั เพอ่ื รบั โควตา้ ของจงั หวดั ตอนนนั้ คอ่ นขา้ งเยอะ มแี ตค่ นเกง่ ๆ เลยพลาดโอกาสนน้ั เมอ่ื ถงึ ชว่ งสมคั ร Entrance เขา้ มหาวทิ ยาลยั เหน็ วา่ คะแนนของเราสามารถ สมคั รเรยี นสาขาอาชวี อนามยั และความปลอดภยั ของสำ� นกั วชิ าสาธารณสขุ ศาสตร์ ม.วลยั ลกั ษณไ์ ด้ จงึ ยนื่ สมคั รและไดเ้ ขา้ เรยี นตามทตี่ ง้ั ใจเลอื กไว้ สาขาอาชวี อนามยั และความปลอดภยั เขา้ เรยี นปแี รกผมยงั ไมท่ ราบครบั วา่ เรยี นจบแลว้ ตอ้ งไปทำ� งานอะไร แตก่ อ็ นุ่ ใจแลว้ วา่ ตอ้ งเกยี่ วขอ้ ง กบั สาธารณสขุ แนๆ่ จนเร่มิ เข้าสปู่ ี 2-4 ไดเ้ รียนวิชาเฉพาะ ท�ำใหร้ วู้ า่ สาขานีจ้ บไปท�ำงานอะไรไดบ้ า้ ง เป็น จป.วิชาชพี เปน็ นักวชิ าการ ทำ� งานได้ หลากหลาย ถึงแมจ้ ะไมไ่ ด้เป็นเจา้ หน้าที่สาธารณสุขประจ�ำอย่สู ถานอี นามัย แต่สาขานีเ้ รยี นแล้วไดช้ ่วยเหลือ ดแู ล ให้คนในโรงงาน ท�ำงานอย่าง ปลอดภัย มีสุขภาพอนามัยทดี่ ี มีคณุ ภาพชีวติ ภายใตส้ ภาพแวดลอ้ มในการท�ำงานท่ีนา่ อยู่ น่าทำ� งาน 3. อะไรคือความภูมิใจมากทีส่ ดุ ในการประกอบอาชพี ดา้ นความปลอดภัย ด้วยความเป็น จป.วิชาชีพ บทบาทของเราสามารถประสานงานและส่ือสารได้ทุกคนทุกระดับในองค์กรตั้งแต่ผู้บริหารระดับสูงจนถึง ระดับปฏิบัติการที่อยู่ท�ำงานอยู่หน้างาน ท�ำงานช่วงปีแรกๆจะเน้นลงหน้างาน พบปะพูดคุยรับทราบปัญหา ตรวจสอบพ้ืนท่ีการท�ำงานและน�ำ ปญั หาตา่ งๆเสนอฝา่ ยบรหิ ารดว้ ยตวั เองหรอื ผา่ นคณะกรรมการความปลอดภยั ฯ เพอ่ื ความทา้ ทายของตวั เองและทมี งาน จงึ เสนอผจู้ ดั การโรงงาน ใหเ้ ขา้ รว่ มประกวดสถานประกอบการดเี ดน่ ดา้ นความปลอดภยั ฯ ไดร้ บั รางวลั ในระดบั ประเทศครง้ั แรกตอนปี 2549 และสง่ ประกวดเพอื่ ยกระดบั มาตรฐานความปลอดภยั ของโรงงานเรอื่ ยมาจนถงึ ปจั จบุ นั โดยในปี 2551 ไดร้ บั รางวลั เจา้ หนา้ ทค่ี วามปลอดภยั ในการทำ� งานดเี ดน่ ระดบั ประเทศ ซ่งึ ถอื เป็นอีกความภาคภูมิใจในการเลอื กเดินมาทางสายวิชาชีพน้ี อกี ทงั้ เป็นพ่เี ล้ยี ง สนับสนนุ ให้นอ้ งๆ จป.วชิ าชีพ ท่ปี ระจำ� อยู่แตล่ ะโรงงาน สง่ ผลงานตัวเองรว่ มประกวด จป.ดีเด่น และได้รบั รางวัลจ�ำนวน 2 คน 4. ท่านมีแนวทางในการบรหิ ารจดั การองคก์ รด้านความปลอดภยั อย่างไร ใหม้ ีระบบ ที่ยง่ั ยนื เพือ่ ทกุ คนจะได้กลบั บา้ นอยา่ งปลอดภยั ในทุกๆ วัน ใช้การบริหารและการจัดการให้สอดคล้องกับกฎหมายด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย น�ำเอาเกณฑ์การประกวดสถานประกอบ กิจการต้นแบบด้านความปลอดภัยฯ ของกระทรวงแรงงาน ซ่ึงมีการปรับปรุงเกณฑ์อย่างต่อเนื่องให้สอดคล้องกับระบบความปลอดภัยในระดับ สากลมาแล้วนัน้ มาใช้กับทกุ โรงงานในสายธุรกิจ เพ่อื ใหม้ แี นวทางปฏบิ ตั ิ มีทศิ ทางเดียวกัน โดยกลุ่มโรงงานสายธุรกิจข้าว มีการผลิตเพ่ือส่งออกสินค้าไปยังต่างประเทศท่ัวโลก นอกจากกฎหมายในประเทศท่ีต้องปฏิบัติให้สอดคล้องแล้ว ขอ้ กำ� หนดของลกู คา้ ทอ่ี า้ งองิ ตามเกณฑใ์ นระดบั สากลถกู นำ� มาตรวจประเมนิ ในรปู แบบ Social Audit ซง่ึ จะครอบคลมุ ทง้ั ดา้ นการจดั การแรงงาน สวสั ดกิ าร และความปลอดภัยในการทำ� งาน ถือเป็นการยกระดบั การบริหารและการจดั การของโรงงาน สง่ ผลดดี ้านการคา้ และผลดีกับพนกั งาน การกระตนุ้ สง่ เสรมิ ใหพ้ นกั งานทกุ ระดบั มคี วามตระหนกั ในการทำ� งานอยา่ งปลอดภยั ในทกุ ๆวนั เปน็ สงิ่ ทส่ี ำ� คญั ปจั จบุ นั มกี ารจดั ทำ� โครงการเสรมิ สรา้ งวฒั นธรรมความปลอดภยั 10 เรอื่ ง เพอ่ื ใหท้ กุ คนไดย้ ดึ ปฏบิ ตั ิ โดยถอื เปน็ หนา้ ทต่ี อ้ งรบั ผดิ ชอบรว่ มกนั ตง้ั แตร่ ะดบั บรหิ ารจนถงึ ระดบั ปฏบิ ตั กิ าร 41
5. ท่านมีแนวทางอยา่ งไรในการลดอุบตั ิเหตุจากการท�ำงานให้ไดผ้ ล ตอ้ งสรา้ งความเขา้ ใจกบั ทกุ คนวา่ อบุ ตั เิ หตปุ อ้ งกนั ได้ อบุ ตั เิ หตทุ เี่ กดิ ขนึ้ ไมใ่ ชเ่ ปน็ ความผดิ ของใคร เพยี งแต่ จป.วชิ าชพี หวั หนา้ งาน และ คณะกรรมการสอบสวนอุบตั ิเหตุ ตอ้ งมารว่ มกันหาสาเหตุทแ่ี ทจ้ รงิ วา่ มันเกดิ ขึ้นไดอ้ ยา่ งไร มปี จั จยั อะไรท่ีเกยี่ วข้องทำ� ให้เกิดอุบัติเหตุ อบุ ัติการณ์ น้ันได้บ้าง เม่ือรู้สาเหตุแล้วจะเข้าสู่กระบวนการปรับปรุงแก้ไขไม่ให้มันเกิดข้ึนซ้�ำหรือเกิดข้ึนกับหน่วยงานอื่นได้อีก โดยจะเป็นหนึ่งในวาระการ ประชมุ ของ คปอ. ให้ผบู้ รหิ ารหนว่ ยงานที่เกดิ อุบตั เิ หตุรายงานลำ� ดบั การเกดิ เหตุ ผลการสอบสวน รวมไปถึงแนวทางปรบั ปรุงแกไ้ ขในท่ีประชมุ เม่อื สรปุ มาตรการในทีป่ ระชมุ แลว้ นอ้ งๆจป.จะกระจายข้อมลู ระหว่างโรงงานเพือ่ แลกเปลีย่ นเรียนรูซ้ ึ่งกนั และกนั ฝ่ายความปลอดภัยจะสนับสนุนให้ทุกคนทุกฝ่ายร่วมมือกันป้องกันและลดอุบัติเหตุ ซ่ึงนอกเหนือจากโรงงานจะมีระบบการตรวจสอบ ความปลอดภัยในแต่ละระดับแล้ว ในระดับกลุ่มธุรกิจจะก�ำหนดให้ผู้บริหารระดับสูงที่ดูแลบริหารทุกโรงงานเป็นผู้น�ำ น�ำทีมหัวหน้างานเดิน สำ� รวจตรวจสอบความปลอดภยั อยา่ งน้อย 2 เดือนครงั้ สลบั หมนุ เวยี นโรงงานกนั ตรวจตามรอบ และจัดให้มกี จิ กรรมประกวดผลการดำ� เนินงาน ดา้ นความปลอดภัยฯ ในระดับกลุม่ ธุรกิจทุกๆ 2 ปี โดยจะคดั เลอื กโรงงานทีด่ ีท่สี ุดเพียงหนึ่งเดียวเทา่ น้ัน รับรางวลั CEO Award ซ่งึ เปน็ รางวัล ดา้ นความยั่งยนื องคก์ ร 6. ทา่ นเหน็ ว่าวธิ กี ารหรอื แนวทางไหนทีน่ า่ จะจัดการกับพฤติกรรม เพือ่ ใหห้ ยุดอบุ ัติเหตจุ ากการทำ� งานได้อยา่ งเหมาะสม ซงึ่ รวมถึงมผี ลลพั ธท์ ี่นา่ จะออกมาดที ่ีสุด นอกจากจะจดั การกบั เครอ่ื งจกั รในกระบวนการผลติ ทม่ี จี ดุ เสยี่ งอนั ตรายแลว้ กฎระเบยี บ ขอ้ บงั คบั ในการทำ� งานทถี่ กู กำ� หนดขน้ึ ยงั เปน็ สง่ิ จ�ำเปน็ ต้องสอื่ สาร อบรมให้พนกั งานไดร้ บั รู้ เข้าใจ นำ� ไปปฏิบตั อิ ย่างถกู ต้อง ปจั จุบนั แต่ละโรงงานไดเ้ นน้ โครงการเสรมิ สรา้ งวัฒนธรรมความ ปลอดภยั ดว้ ยการกำ� หนด 10 พฤติกรรมที่ถูกต้องและไมถ่ ูกต้อง เพอื่ ใหพ้ นักงานได้ยดึ ปฏบิ ัติจนเป็นนสิ ยั 7. ความรบั ผดิ ชอบต่อสงิ่ แวดล้อมและสงั คม มีสว่ นส�ำคัญในการบริหารจดั การด้านความปลอดภยั อย่างไรบา้ ง มมุ มองของผมเหน็ วา่ การทำ� ใหพ้ นกั งานของเรามคี วามปลอดภยั และมสี ขุ ภาพอนามยั ทดี่ นี นั้ ถอื เปน็ การทำ� CSR ภายในองคก์ ร เพอ่ื ให้ คนของเราอยดู่ ีมสี ุข มีคุณภาพชวี ิตการทำ� งานทีด่ ี เมอื่ เราท�ำ CSR ภายในโรงงานได้ดใี นระดับหน่งึ แล้ว การต่อยอดออกสู่ชมุ ชนรายรอบโรงงาน โดยน�ำเอาพ้นื ฐานความร้หู รือความถนดั ทีพ่ นกั งานมที ั้งในด้านความปลอดภยั สง่ิ แวดล้อม 5ส มาบูรณาการณเ์ พ่ือจดั กจิ กรรมร่วมกับหนว่ ยงาน 42
ทร่ี บั ผิดชอบทางด้านนี้โดยตรง เช่น การดบั เพลงิ ข้ันตน้ 5ส.ส่วู ดั การจดั การขยะ การปลูกตน้ ไม้ การดแู ลสุขภาพผู้สงู อายุ การสอนเด็กให้ล้างมือ อยา่ งถกู วธิ ี ส่ิงเหล่าน้ีเป็นส่วนหนงึ่ ทจ่ี ะสง่ เสริมใหช้ มุ ชน (บ้าน วัด โรงเรียน) ท่ีอยู่รอบโรงงาน มีความปลอดภัย สขุ ภาพอนามยั สิ่งแวดลอ้ มทด่ี ี ได้ สว่ นเพอื่ นพนักงานทร่ี ว่ มท�ำ CSR กจ็ ะรสู้ กึ ภมู ใิ จ เสริมสร้างกำ� ลังใจในการทำ� งาน ทง้ั นก้ี ารทำ� CSR สามารถท�ำไปพร้อมๆกนั ไดท้ ง้ั ภายในและ ภายนอกองคก์ ร 8. นอ้ งๆ จป.รุ่นใหม่ ถ้าอยากเปน็ จป.มอื โปร หรอื ประสบความสำ� เร็จในวิชาชพี น้ี ควรจะมแี นวทางอย่างไรบา้ ง เพอื่ เปน็ แนวทางใหก้ บั นอ้ งๆจป.รนุ่ ใหม่ การทำ� งานในวชิ าชพี นเี้ ราตอ้ งเกย่ี วขอ้ งกบั คนทกุ ระดบั ในองคก์ ร การมมี นษุ สมั พนั ธท์ ดี่ จี ะมคี น รักคนเมตตา สง่ เสรมิ ใหง้ านของเราสำ� เรจ็ ได้ การจะใหผ้ ้รู ่วมงานมนั่ ใจ เชอ่ื ม่ันในตวั เรา เราต้องมน่ั ใจในตัวเอง หมน่ั เรียนรู้และพัฒนาตนเอง เติม เตม็ จดุ อ่อนของเราเพอ่ื ใหเ้ กง่ ทั้งงาน เก่งทงั้ คน และเปน็ แบบอยา่ งที่ดใี นด้านความปลอดภัย เมอื่ ได้รับมอบหมายงานอื่นๆจากหวั หน้างานหรือผู้ บริหาร ให้มองวา่ เขามนั่ ใจในตวั เรา ใหโ้ อกาสเราได้ทำ� ไดฝ้ ึกคดิ นอกกรอบ ซึ่งงานเหลา่ นัน้ อาจจะส่งเสริมเราไดเ้ ตบิ โตก้าวหนา้ ในสายอาชีพนี้ ทกุ คนจะมคี วามเกง่ ในแบบฉบบั ของตนเอง ขอใหต้ ง้ั ใจทำ� งานทเ่ี รารกั ใหม้ คี วามสขุ เราไมไ่ ดท้ ำ� งานคนเดยี ว ตดิ ปญั หา คดิ งานไมอ่ อก ยงั มที มี งาน มเี พอ่ื นพน่ี อ้ งรว่ มวชิ าชพี เครอื ขา่ ยความปลอดภยั ชมรม จป. รวมถงึ สอ่ื สงั คมออนไลน์ ตา่ งๆทไี่ ดต้ ง้ั กลมุ่ กนั ขนึ้ มา จะเหน็ วา่ ถงึ แมจ้ ะเจอวกิ ฤตโค วดิ -19 เรายงั ไดเ้ รยี นรู้ ไดพ้ ฒั นา ไดแ้ ชรป์ ระสบการณก์ นั ผา่ นทางเทคโนโลยที ที่ นั สมยั ไมต่ อ้ งเดนิ ทางไปอบรม สมั มนา ใหเ้ สยี่ งตอ่ การสมั ผสั เชอื้ โรค 43
จป.วยั ทีน คณุ หทัยรตั น์ ศรจี ันทึก (อาเฟิร์น) ช่ือ-สกุล : นางสาว หทัยรตั น์ ศรีจนั ทึก ช่อื เล่น : อาเฟริ น์ อายุ : 25 ปี สถาบนั การศกึ ษา/คณะ/ชัน้ ปี : บัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสขุ ศาสตร์ หลกั สตู รอาชีวอนามยั และความปลอดภัย มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีสุรนารี ประสบการณ์ทำ� งาน/ฝึกงาน จป. วชิ าชพี : - ปี 2563 : เจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยในการท�ำงาน (ระดับ วชิ าชพี ) บรษิ ัท พีอีเอ็นเอ็น โฮลด้ิง จำ� กัด โครงการโรงไฟฟา้ ล�ำตะคองชลภาวฒั นา เครอ่ื งที่ 3-4 - ปี 2561 : เจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยในการท�ำงาน (ระดับ วิชาชพี ) บรษิ ทั ซพี ีเอฟ ประเทศไทย จ�ำกัด มหาชน โรงงาน ผลิตอาหารสตั วศ์ รีราชา - ปี 2560 : สหกจิ ศกึ ษา ณ บรษิ ทั ไทย-สวดี สี แอสเซมบลี่ จำ� กดั ( Volvo group trucks Asia & JVs ) จังหวัดสมุทรปราการ 44
แนะนำ� ไลฟ์สไตล์ตนเองคร่าวๆ อปุ นิสยั สว่ นตัว ที่บง่ บอกความเป็นตวั เอง : สว่ นตวั แลว้ หนเู ปน็ คนใชช้ วี ติ สบายๆ งา่ ยๆ กนิ งา่ ย อยงู่ า่ ยคะ่ ยมิ้ แยม้ แจม่ ใส อารมณด์ ี และเขา้ กบั คนอนื่ ไดง้ า่ ย จะเปน็ คนทช่ี อบวางแผน ใหก้ บั ชีวิตประจำ� วันของตวั เองอยูเ่ สมอๆ จนบางทีกเ็ ครียด 555 เป็นคนมีน้�ำใจ ชอบชว่ ยเหลอื และมักจะเหน็ อกเหน็ ใจผู้อื่น เน่อื งจากหนไู มไ่ ด้ เปน็ คนที่ฉลาด แตเ่ ป็นคนทชี่ อบเรยี นรู้และอยากที่จะเก่งขนึ้ จึงต้องพยายามพฒั นาตวั เองอยูเ่ สมอ (เรียกได้ว่าเป็นคนเดนิ ชา้ แต่ไม่เคยหยดุ เดนิ นะคะ) งานอดิเรกคือ การอ่านหนังสือ ซ่ึงแนวหนังสือท่ีชอบก็จะเป็นพวก หนังสือจิตวิทยา หรือหนังสือแนวให้ก�ำลังใจและพัฒนาตนเอง และ ที่ส�ำคัญเลยคือหนูเป็นคนชอบพูด ชอบสอนผู้อ่ืนค่ะ การท่ีเราได้ให้ความรู้ในส่ิงที่ตัวเองมีอยู่ หรือได้พูดเป็นแรงบันดาลใจให้ใครได้ฟัง และผู้อื่น สามารถไดร้ ับประโยชนจ์ ากการให้ของเรา ไดเ้ ห็นรอยยม้ิ ของผอู้ ื่น นน่ั แหละคะ่ ความสขุ ของหนู เหตุใดถงึ เลือกเรยี นอาชวี อนามัยและความปลอดภยั ฯ : เร่ืองน้ีตอ้ งขอย้อนกลับไปในชว่ งมธั ยมปลายสกั นดิ นึงค่ะ เนือ่ งจากหนูได้ผ่านเข้ารอบชนะเลศิ ระดบั ประเทศ จากการประกวด Young Scientist competition ของกระทรวงวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย จึงได้รับทุนผู้มีความสามารถพิเศษทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ของมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยสี รุ นารี และผลงานของหนกู เ็ ขา้ ขา่ ยและตรงสายในการเรยี นสาขาวชิ าสาธารณสขุ ศาสตรค์ ะ่ ตอนแรกไมท่ ราบเลยวา่ สาขาวชิ าอาชวี อนามยั และความปลอดภัย จบไปแลว้ จะท�ำงานอยา่ งไร ที่ไหน จนเรียนมาไดเ้ กอื บ 3 ปกี ย็ ังไมม่ คี วามชืน่ ชอบ และไมม่ ีเปา้ หมาย ในอาชพี นเี้ ลย แตม่ เี หตกุ ารณห์ นงึ่ ทที่ ำ� ใหค้ วามคดิ ของหนเู ปลย่ี นไป และมคี วามสขุ ในการเรยี นมากยงิ่ ขนึ้ คอื ในขณะนง่ั เรยี นอยนู่ นั้ อาจารยท์ า่ น หนงึ่ ในสำ� นักวิชาอาชวี อนามัยและความปลอดภยั ถามหนวู า่ “ ในหนงึ่ วนั หมอชว่ ยคนไขไ้ ดก้ ค่ี น?” เราตอบ “ กน็ ่าจะประมาณ 20-30 คนคะ่ ” อาจารยฟ์ งั และอธบิ ายตอ่ วา่ “แตอ่ าชพี ของเรา วนั หนงึ่ เราสามารถชว่ ยคนไดเ้ ปน็ รอ้ ย เปน็ พนั คน กอ่ นทเี่ ขาจะตอ้ งไปหาหมอดว้ ยซำ�้ เพราะฉะนน้ั จงภาคภมู ใิ จ และรกั ษาไวใ้ นจรรยาบรรณวชิ าชพี ของเรา “ วนั นนั้ ถอื วา่ เปน็ จดุ เปลยี่ นเลยคะ่ ทท่ี ำ� ใหห้ นเู รยี นอยา่ งมคี วามสขุ มากขนึ้ มเี ปา้ หมาย วา่ จะท�ำอะไรในสายงานของตวั เองมากข้ึน ทส่ี �ำคญั รู้สึกภาคภมู ใิ จทุกครัง้ ทีไ่ ด้บอกใครว่า เราจบสาขาอาชวี อนามัยและความปลอดภัย ตอนทเ่ี รยี น ยากไหม (ตอ้ งมกี ารทบทวนเนอื้ หาทีเ่ รยี นไหม หรอื เลา่ ถึงวา่ ตอนเรยี นได้ไปฝกึ งาน ไดศ้ ึกษาอะไรเป็นพเิ ศษบา้ งไหม) : ตอนเรยี นยากไหม? สำ� หรบั การเรยี นทมี่ หาวทิ ยาลยั เทคโนโลยสี รุ นารี ทม่ี กี ารเรยี นแบบไตรภาค คอื 3 เทอมตอ่ ปี และหลกั สตู รแนน่ มาก ก็ถอื วา่ ยากและโหดมากคะ่ 555 และกิจกรรมท่ีนี่ก็ถือวา่ แน่นไมแ่ พ้กับการเรียนเลย เร่อื งการแบ่งเวลาจงึ เป็นสง่ิ ส�ำคัญอย่างมากในชวี ติ นกั ศึกษา เพราะการเรยี นอยา่ งเดยี วมนั ไมพ่ อสำ� หรบั การออกไปทำ� งานจรงิ คะ่ แตก่ จิ กรรมนแ่ี หละทจ่ี ะทำ� ใหเ้ ราทำ� งานเปน็ เรยี นรกู้ ารแกไ้ ขปญั หาจรงิ เรยี น รู้การท�ำงานร่วมกับผู้อื่น และการเรียนท่ีน่ีเป็นการเรียนแล้วสอบ แบบไม่ทันได้หายใจกันเลยทีเดียวค่ะ ท�ำให้ต้องมีการทบทวนบทเรียนอยู่เป็น ประจำ� เขา้ ตวิ ของทมี่ หาวทิ ยาลยั จดั ขน้ึ และจากนนั้ กอ็ อกไปลองสหกจิ ศกึ ษา เสมอื นวา่ เราเปน็ พนกั งานจรงิ ของบรษิ ทั ตอนนนั้ ยอมรบั เลยคะ่ วา่ กดดันมาก หนูไดเ้ ข้าไปสหกจิ ศกึ ษากบั บรษิ ทั ไทย-สวดี ีส แอสเซมบล่ี จ�ำกดั ( Volvo group trucks Asia & JVs ) ที่จงั หวัดสมุทรปราการ ซ่งึ เปน็ บรษิ ทั ตา่ งชาติ เรอ่ื งภาษาองั กฤษถอื เปน็ สง่ิ สำ� คญั มาก ตอนนน้ั ระดบั ความรทู้ างภาษาองั กฤษของหนถู อื วา่ แยม่ าก แตก่ ค็ อ่ ยๆเรยี นรู้ พฒั นาตนเอง ปรบั ตัวเข้ากบั องค์กร พ่ีๆท่ีน่นั กใ็ ห้ความรู้อย่างเต็มท่ี เปดิ โอกาสใหเ้ ราได้แสดงความสามารถของเราไดอ้ ยา่ งเต็มท่เี ชน่ กนั การสหกจิ ศึกษาในคร้งั นน้ั จงึ ทำ� ใหท้ ราบวา่ สงิ่ ทส่ี ำ� คญั มากกวา่ การจำ� ความรทู้ เ่ี รยี นมาใหไ้ ดท้ ง้ั หมด คอื การเรยี นรทู้ จ่ี ะเอาความรนู้ นั้ มาประยกุ ตใ์ ชใ้ หเ้ ขา้ กบั องคก์ รนนั้ ๆ ต่างหาก เรียนรู้การท�ำงานร่วมกับผู้อ่ืน ความรับผิดชอบในหน้าท่ีของตนเอง อดทนต่อแรงกดดันต่าง ๆ การฝึกฝน พัฒนาตนเองอยู่ตลอดเวลา 45
การเก็บเก่ยี วความรู้ จากผเู้ ชย่ี วชาญ หรือผู้ทมี่ ปี ระสบการณ์ เพราะเรือ่ งบางอย่างเราไมจ่ �ำเปน็ ต้องมีประสบการณเ์ องกไ็ ด้ แตเ่ ราสามารถเรียนรู้ ไดจ้ ากผอู้ นื่ ที่เขาเคยมปี ระสบการณ์มาแลว้ ทส่ี ำ� คัญเลยก็คือ ได้เรยี นรู้วา่ โลกของการทำ� งานจริง ๆ มนั ชา่ งแตกต่างจากสง่ิ ทเ่ี ราเคยจินตนาการไว้ เตรยี มตัวอยา่ งไรบ้าง ในบทบาทของ จป.วยั ทนี : การเตรยี มตวั ในบทบาทของ จป.วยั ทนี ของหนนู นั้ คอื การทบทวนบทบาทหนา้ ทข่ี องตนเองตามกฎหมายกอ่ นอนั ดบั แรก พยายามเรยี ง ล�ำดับในสิ่งที่ต้องท�ำให้ครบตามกฎหมายด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ให้ได้ครบถ้วนก่อน จากนั้นก็ค่อยคิดกิจกรรมเสริม ท่ีจะมาช่วย พฒั นาองคก์ รใหม้ คี วามมนั่ คงในดา้ นความปลอดภยั มากยงิ่ ขนึ้ คดิ กจิ กรรมทจ่ี ะเสรมิ สรา้ งความรู้ การตระหนกั รู้ การปลกู จติ สำ� นกึ ดา้ นวฒั นธรรม ความปลอดภยั ใหก้ บั พนกั งาน เพราะหนคู ดิ วา่ ตอ่ ใหเ้ รามมี าตรการหรอื เทคโนโลยที ดี่ ี ทป่ี ลอดภยั มากขนาดไหนกต็ ามนน้ั แตม่ นั กไ็ มม่ น่ั คงเทา่ กบั การปลูกจิตส�ำนึก ให้พนักงานมีความคิด ตระหนักรู้ได้ในเร่ืองความปลอดภัยด้วยตัวของเขาเอง พยายามท่ีจะน�ำความรู้ที่เรียนมาประยุกต์ใช้ให้ เกิดประโยชน์มากทีส่ ดุ ติดตามขา่ วสารหรอื เทคโนโลยตี า่ ง ๆ ทีจ่ ะมาช่วยเราในงานดา้ นความปลอดภัย พฒั นาตนเองโดยการหาความรู้ใหม่ๆอยู่ เสมอ เพ่ือท่ีจะได้มาอบรม ให้ความรู้แก่องค์กรได้ และอย่างท่ีทุกคนทราบกันดีว่า งานด้านความปลอดภัยไม่สามารถส�ำเร็จได้ด้วยคนเพียงคน เดียว หรือกลมุ่ เดยี ว แตค่ วามปลอดภยั เปน็ เรื่องของทกุ คนทตี่ อ้ งใสใ่ จ ดงั นน้ั การคดิ วธิ กี าร แนวทาง ทจ่ี ะใหท้ กุ คนมสี ว่ นร่วม และรสู้ กึ มสี ว่ นร่วม ในดา้ นความปลอดภยั เปน็ สงิ่ ทสี่ ำ� คญั ทสี่ ดุ สง่ิ เดยี วทหี่ นคู ดิ และยงั มน่ั คงในความคดิ นคี้ อื หนทู ำ� อาชพี นเี้ พอื่ ใหท้ กุ คนทำ� งานไดอ้ ยา่ งปลอดภยั ถงึ ตอ่ ใหไ้ มม่ เี ราอยตู่ รงนนั้ สงิ่ ทเ่ี ราทำ� ไวก้ จ็ ะยงั ทำ� ใหเ้ ขาทำ� งานไดอ้ ยา่ งปลอดภยั และมคี วามสขุ เพราะความปลอดภยั ของพวกเขา เปน็ ความสำ� เรจ็ ในการท�ำงานของหนูค่ะ เม่ือทำ� งานในฐานะ จป. วิชาชพี มกี ารบริหารจดั การองค์กรอยา่ งไรบ้างเพื่อให้เกดิ ความปลอดภยั : งานทดี่ เี กดิ จากการบรหิ ารจดั การทดี่ คี ะ่ อยา่ งทก่ี ลา่ วไปขา้ งตน้ วา่ งานดา้ นความปลอดภยั ไมส่ ามารถสำ� เรจ็ ไดด้ ว้ ยคนเพยี งคนเดยี ว หรอื กลมุ่ เดยี ว แตค่ วามปลอดภยั เปน็ เรอ่ื งของทกุ คนทตี่ อ้ งใสใ่ จ เราจงึ จำ� เปน็ ทจี่ ะตอ้ งใหท้ กุ คนมสี ว่ นรว่ มในการเสนอแนะ พฒั นา แกไ้ ข ในดา้ นความ ปลอดภยั ให้ดขี ้ึน อย่างหนเู ป็นคนที่ถนดั ในเรือ่ งของกจิ กรรม หนจู ึงมีวธิ กี ารสร้างกจิ กรรมทจี่ ะท�ำใหท้ กุ คนมสี ว่ นรว่ ม และให้เขาไดค้ ดิ เรอ่ื งความ ปลอดภัยด้วยตัวของเขาเอง พอเขาได้เกิดกระบวนการคิดมันก็จะเข้าสู่กระบวนการที่เราจะสร้างจิตส�ำนึกด้านความปลอดภัย จากนั้นงานด้าน ความปลอดภัยของเราก็จะง่ายข้ึน เพราะทุกคนให้ความร่วมมือ ได้มีการบริหารด้านบทบาทหน้าที่ให้กับทุกคน เพื่อให้เขารู้ว่าเขาเป็นคนส�ำคัญ ในด้านความปลอดภัย พอเขาได้มบี ทบาทหนา้ ที่ เขาก็จะไม่ละเลยในเรื่องนัน้ ๆ กจิ กรรมหรอื มาตรการท่ีมีอย่จู �ำเปน็ ทีจ่ ะต้องน�ำมาทบทวนและ พูดคุยกัน เพ่ือพัฒนาให้มันดีมากย่ิงขึ้นค่ะ ให้ได้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทั้งผู้ท่ีมีความรู้ และผู้ท่ีมีประสบการณ์ เป้าหมายของงานด้านความ ปลอดภัยของหนูคือต้องท�ำให้เกิดความยั่งยืน ไม่ใช่แค่เป็นการแก้ปัญหาเป็นเร่ืองๆไป และก็ไม่ลืมท่ีจะสร้างความสุขให้กับพนักงาน เพื่อให้เขา อยกู่ บั เราอยา่ งมคี วามสขุ ดว้ ยคะ่ ผลงานดีเด่น /เกียรติประวัติ /รางวลั ท่ีเคยได้รบั ในการทำ� งาน : - รองชนะเลิศอนั ดับ 2 “ Safety Youth Brand Ambassador 2017 “ ของสถาบันสง่ เสริมความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพ แวดลอ้ มในการทำ� งาน (องค์การมหาชน) - ผู้นำ� เชียรส์ าขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีสรุ นารี ปี 2014 และ 2016 ในงานกฑี าสัมพนั ธ์ สมาคมนสิ ติ นักศึกษา 46
สาธารณสุขศาสตร์และวิทยาศาสตร์สุขภาพแห่งประเทศไทย - รองชนะเลศิ อันดับ 2 “ Safety Talent “ งานสัปดาหค์ วามปลอดภัยอาชีวอนามยั ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยกรมสวสั ดิการและ คุ้มครองแรงงาน - รางวัลชนะเลิศระดับประเทศ การอภิปรายหัวข้อ “ ขยับความคิด พิชิตปัญหาพลังงานไฟฟ้าไทย “ โดยการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่ง ประเทศไทย - เข้ารอบชิงชนะเลศิ ระดับประเทศ การแขง่ ขัน “ Young scientist competition “ โดยกระทรวงวทิ ยาศาสตรแ์ หง่ ประเทศไทย ประวตั กิ ารเข้าร่วมโครงการ อบรม/สมั นาตา่ ง ๆ ท่ผี า่ นมา : - ส�ำเร็จหลกั สตู ร Confined Space Technique - สำ� เรจ็ หลกั สตู ร เทคนคิ การประเมนิ ความเสย่ี ง เพอ่ื เตรยี มเขา้ ปฏบิ ตั งิ าน ในทอี่ บั อากาศ และการปฏบิ ตั งิ านในทอ่ี บั อากาศอยา่ งปลอดภยั - สำ� เร็จหลกั สูตร ระบบการบริหารจดั การด้านความปลอดภัยอาชวี อนามยั และความปลอดภัย ISO45001 - ส�ำเรจ็ หลกั สตู ร Process Safety Management : PSM - สำ� เรจ็ หลกั สูตร Fire Fighting Training - ผูจ้ ัดกิจกรรมโครงการ CPF ZOO RUN for CHARITY 2019 สวนสัตว์เปดิ เขาเขียว จงั หวัดชลบุรี ความภาคภูมิใจสูงในการทำ� งาน หรอื ความภูมิใจในบทบาท จป วิชาชีพ : หนูมีความภาคภูมิใจในอาชีพ เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการท�ำงาน ได้ปฏิบัติหน้าท่ีของตนเองอย่างเต็มท่ีด้วยจรรยาบรรณวิชาชีพ ได้มีส่วนในการช่วยเหลือผู้อ่ืนให้ท�ำงานได้อย่างปลอดภัย และรู้สึกยินดีและเป็นเกียรติอย่างมากท่ีได้เป็นส่วนหนึ่งของ Safety Youth Brand Ambassador ของสถาบนั สง่ เสริมความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดลอ้ มในการทำ� งาน (องคก์ ารมหาชน) : สสปท ท�ำใหไ้ ด้มโี อกาสเผย แพรค่ วามรู้ กจิ กรรมตา่ ง ๆ ในดา้ นความปลอดภยั ใหแ้ กอ่ งคก์ รอนื่ สถาบนั อนื่ ๆ เพอื่ เปน็ เครอื ขา่ ยเสรมิ สรา้ งวฒั นธรรมความปลอดภยั ในประเทศ ของเราใหม้ ัน่ คง ยั่งยนื ตอ่ ไปค่ะ สุดทา้ ยอยากให้ฝากถงึ นอ้ ง ๆ นิสติ นกั ศึกษาทก่ี ำ� ลังศกึ ษาในสาขาวิชาท่ีเกี่ยวขอ้ ง กอ่ นจะเปน็ (ว่าที่) จป. ในอนาคต : ฝากถงึ น้อง ๆ นสิ ติ นักศกึ ษาทีก่ �ำลังศึกษาในสาขาวชิ าท่ีเกย่ี วข้องทกุ คนนะคะ พี่เปน็ คนหนึ่งที่เคยยืนอยูใ่ นจุดท่นี อ้ ง ๆ ยนื อยใู่ นตอน นี้ พี่เชือ่ วา่ ตอนน้นี ้อง ๆ อาจจะมีคำ� ถามเกิดข้ึนกบั ตัวเองมากมาย จะเรยี นจบไหม จบแล้วจะทำ� งานท่ีไหน จะสมั ภาษณ์ยงั ไง จะทำ� งานให้เขาได้ ไหม ได้เงนิ เดือนเทา่ ไหร่ หรอื อีกมากมาย ถามวา่ การตงั้ คำ� ถามแบบน้ดี ีกับตวั เองไหม พ่วี า่ ดนี ะคะ มันท�ำใหเ้ ราวางแผนหรอื ตั้งเป้าหมาย หรอื หา คำ� ตอบใหก้ บั ชวี ติ ได้ แตอ่ ยา่ ตง้ั คำ� ถามจนเครยี ดและกลวั ในสง่ิ ทยี่ งั ไมเ่ กดิ ขนึ้ อยา่ มวั แตต่ งั้ คำ� ถามจนไมล่ งมอื ทำ� อะไร ใหท้ ำ� หนา้ ทข่ี องตวั เองตอน นี้ให้เต็มท่ี และดที ีส่ ดุ ผลจากการกระทำ� ตอนนแ้ี หละค่ะท่จี ะส่งผลใหค้ ำ� ถามที่นอ้ งมมี นั หายไป สายงานดา้ นความปลอดภยั ของเรา อนั ทจ่ี รงิ กไ็ ม่ ไดย้ ากอยา่ งทค่ี ดิ เพราะเราไมไ่ ดท้ ำ� อาชพี นค้ี นเดยี ว เรายงั มเี พอื่ น พี่ นอ้ ง หรอื เครอื ขา่ ยองคก์ รดา้ นความปลอดภยั ตา่ ง ๆ ทค่ี อยใหค้ ำ� ปรกึ ษาและ ชว่ ยเหลือเราไดเ้ สมอ อย่าลืมเตรียมตวั เองให้พร้อมส�ำหรับตำ� แหนง่ จป.วชิ าชีพ ในอนาคต แตต่ อนนเ้ี กบ็ เกยี่ วความรใู้ หไ้ ดเ้ ยอะๆ เก็บเก่ียวความ สุขในรว้ั มหาวทิ ยาลัย และมีความสุขในการใช้ชีวิตในทกุ ๆ วนั เป็นกำ� ลงั ใจใหท้ กุ คนนะคะ 47
เกบ็ รักษา สารเคมอี นั ตรายอยา่ งไร ใน Warehouse ใหป้ ลอดภัย ในปัจจุบันสถานประกอบกิจการจ�ำเป็นต้องมีการ จัดเก็บสารเคมีอันตรายไว้ภายในโรงงานเพ่ือด�ำเนินการผลิต ต่างๆ หรือส่งต่อให้สถานประกอบกิจการอื่น โดยจะเห็น ได้ว่ามีข่าวเก่ียวกับอันตรายท่ีเกิดจากการเก็บรักษาสารเคมี อนั ตรายภายในสถานประกอบกจิ การเกดิ ขน้ึ มาก เชน่ การรวั่ ไหล ในสถานประกอบกิจการ หรือหกรั่วไกลระหว่างการขนส่ง เป็นต้น ซ่ึงอันตรายที่เกิดจากการเก็บรักษาสารเคมีอันตราย อย่างไม่ปลอดภัยน้ีไม่เพียงแต่ก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้ปฏิบัติ งานภายในสถานประกอบกิจการนั้น แต่ยังก่อให้เกิดอันตราย ต่อสิ่งแวดล้อมภายนอก หรือชุมชนการอยู่อาศัยใกล้เคียง ดังเหน็ ในภาพข่าวทวั่ ไป 49
จากสถิติการประสบอันตรายจากส�ำนักงานกองทุนเงิน ทดแทน สำ� นักงานประกันสังคม พบว่าการประสบอนั ตรายจากสาร เคมีก่อให้เกิดความรุนแรงได้ตั้งแต่หยุดงานไปจนถึงการเสียชีวิต จะ เห็นได้ว่าอตั ราการประสบอันตรายนนั้ มีไมม่ ากไม่น้อยเท่ากบั สาเหตุ อ่ืนๆ แต่สร้างระดับความรุนแรงได้มาก โดยสาเหตุอาจมาจากการ ขาดความรู้ ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน การประมาทเลินเล่อ หรือ การตระหนักรู้ถึงอันตรายของสารเคมีอันตรายที่ถูกเก็บรักษาเอา ไว้ นอกจากนี้อาจเกิดจากสถานที่ท่ีใช้ส�ำหรับการเก็บรักษาสารเคมี อนั ตรายไม่เหมาะสม สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพ แวดล้อมในการท�ำงาน (องค์การมหาชน) เล็งเห็นถึงความสำ� คญั ของ อนั ตรายทเ่ี กดิ ขน้ึ ในวงกวา้ งทเี่ กดิ จากการเกบ็ รกั ษาสารเคมอี นั ตราย อยา่ งไมถ่ กู ตอ้ ง เหมาะสม จงึ ไดจ้ ดั ทำ� มาตรฐานการเกบ็ รกั ษาสารเคมี อันตราย เฉพาะการเก็บรักษาใน Warehouse ขึ้น ซ่ึงประกอบไป ด้วย ข้อก�ำหนดของสถานท่เี ก็บรกั ษาสารเคมอี นั ตราย ครุภณั ฑท์ ีใ่ ช้ ในการเกบ็ รกั ษา ระบบปอ้ งกนั อันตรายในการเก็บรักษา การดำ� เนนิ การในการเกบ็ รักษา มาตรการปอ้ งกนั อนั ตราย และการตอบโตเ้ หตุ ฉกุ เฉนิ กรณหี กรวั่ ไหลและไฟไหม้ โดยมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื เปน็ แนวทาง ใหส้ ถานประกอบกจิ การดำ� เนนิ การเกบ็ รกั ษาสารเคมอี นั ตรายทอ่ี ยใู่ น ครอบครองไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งเหมาะสมตามกฎหมายดา้ นความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน และกฎหมายหรือ มาตรฐานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยมีมาตรการท่ีสถานประกอบกิจการ ต้องด�ำเนินการควบคุมในการเก็บรักษาสารเคมีอันตรายเป็นอย่าง นอ้ ย ดงั นี้ 1. สถานท่ีเก็บรักษาสารเคมีอันตราย ประกอบด้วย ผนัง อาคาร กำ� แพงกนั ไฟ พ้นื ประตูและทางออกฉกุ เฉนิ และหลังคา 2. ครุภัณฑ์ทีใ่ ช้ในการเก็บรกั ษาสารเคมอี นั ตราย ประกอบ ด้วย ตู้เก็บรักษาสารเคมอี นั ตราย (Chemical Safety Cabinet) 3. ระบบปอ้ งกนั อนั ตรายในการเกบ็ รกั ษาสารเคมอี นั ตราย ประกอบด้วย ระบบระบายอากาศ ระบบไฟฟ้า อุปกรณ์ไฟฟา้ และ ระบบแสงสว่างฉุกเฉิน ระบบป้องกันฟ้าผ่า ระบบการเตือนภัยและ การตดิ ตอ่ ส่อื สาร อปุ กรณด์ บั เพลิง ระบบทอ่ น้�ำดบั เพลิง ระบบการ ระงับเหตุ ระบบสุขาภิบาลและสิ่งแวดล้อม และระบบการก�ำจัด ของเสีย 50
Search