ชอื่ หนังสือ : ค่มู อื การปอ้ งกนั การตกจากท่ีสูง Manual of Active Fall Protection ชื่อผูแ้ ตง่ : คณะทางานการจดั ทาคู่มอื การปอ้ งกนั การตกจากทีส่ ูง จดั ทาโดย : สถาบันสง่ เสรมิ ความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน) ปีที่พมิ พ์ : พ.ศ. 2563 คร้งั ทีพ่ ิมพ์ : E-Book โรงพมิ พ์ : E-Book ISBN (:EE-b-Booookk) : 978-616-8026-17-5 สถาบนั สง่ เสริมความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)
ค่มู ือการป้องกันการตกจากที่สงู ก คณะอนกุ รรมการวิชาการ 1. นางสาวสุดธิดา กรงุ ไกรวงศ์ ประธานคณะอนกุ รรมการ 2. นายกฤษฎา ชัยกลุ อนกุ รรมการ 3. นายวเิ ลิศ เจตยิ านุวัตร อนุกรรมการ 4. นายเกียรตศิ กั ด์ิ บุญสนอง อนกุ รรมการ 5. นางลดั ดา ตัง้ จนิ ตนา อนุกรรมการ 6. นายสบื ศกั ดิ์ นนั ทวานิช อนุกรรมการ 7. นายประมขุ โอศิริ อนกุ รรมการ 8. นายธนูศลิ ป์ สลอี ่อน เลขานุการ สถาบันสง่ เสรมิ ความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)
ค่มู อื การปอ้ งกันการตกจากที่สูง ข คณะทางาน การจัดทาคมู่ ือการปอ้ งกนั การตกจากท่ีสูง 1. นายวิเลิศ เจตยิ านวุ ัตร ประธานคณะทางาน 2. นายเกยี รติศกั ด์ิ บุญสนอง คณะทางาน 3. นายธวัชชัย ชินวิเศษวงศ์ คณะทางาน บรษิ ัท 3เอม็ ประเทศไทย จากดั 4. นายฉานฉลาด บนุ นาค คณะทางาน บริษทั 3เอ็ม ประเทศไทย จากดั 5. นายอภชิ า ครธุ าโรจน์ คณะทางาน บริษทั เอน็ เอส บลสู โคป (ประเทศไทย) จากัด 6. นายสุรชัย สังขะพงศ์ คณะทางาน บรษิ ทั เอ็นพซี ี เซฟต้ี แอนด์ เอน็ ไวรอนเมนทอล เซอร์วสิ จากดั 7. นายอัครพงษ์ นวลออ่ น คณะทางาน กองความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคมุ้ ครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน 8. ดร.ธนศู ิลป์ สลีอ่อน คณะทางาน สถาบนั ส่งเสริมความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน) 9. นายพฤทธิพงศ์ สามสังข์ คณะทางานและเลขานกุ าร สถาบันส่งเสรมิ ความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน) 10. นางสาวสภุ ารัตน์ คะตา คณะทางานและผชู้ ่วยเลขานกุ าร สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องค์การมหาชน) 11. ดร.ธนวรรณ ฤทธชิ ยั คณะทางานและผชู้ ว่ ยเลขานุการ สถาบนั สง่ เสริมความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน) 12. นางสาวกฤตติกา เหลา่ วัฒนโรจน์ คณะทางานและผู้ช่วยเลขานุการ สถาบันส่งเสริมความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องค์การมหาชน) 13. นางสาวเปรมยุดา นวลศรี คณะทางานและผู้ชว่ ยเลขานุการ สถาบันสง่ เสรมิ ความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน) 13. นางสาวปัญชลิกา ชันขุนทด คณะทางานและผชู้ ่วยเลขานกุ าร สถาบนั ส่งเสรมิ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องค์การมหาชน) สถาบันสง่ เสรมิ ความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)
คู่มือการปอ้ งกันการตกจากที่สูง ค คานา สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน) เป็นหน่วยงานภายใต้การกากับดูแลของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน มีวัตถุประสงค์เพ่ือส่งเสริม ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน และมีอานาจหน้าท่ีหน่ึง คือ การพัฒนา และสนับสนุนการจัดทามาตรฐาน คู่มือ และแนวปฏิบัติ เพ่ือส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน การตกจากท่ีสูงเป็นหนึ่งในสาเหตุสาคัญของการเสียชีวิตหรือการบาดเจ็บท่ีเกิดจากการทางาน ท้ังใน ภาคอุตสาหกรรมการผลิต การก่อสร้าง และการบริการ สถาบันส่งเสริมความปลอดภัยฯ จึงได้จัดทาคู่มือ การป้องกันการตกจากท่ีสูงฉบับน้ีขึ้นโดยอธิบายมาตรการการจัดการความเสี่ยงในการทางานจากการตกจาก ท่ีสูง แนวทางการปฏิบัติ ข้อควรระวัง และข้อห้ามในการใช้งานอุปกรณ์ป้องกันการตกจากที่สูง รวมไปถึง วิธีการตรวจสอบและบารุงรักษา การเลือกใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมตามลักษณะงาน และแสดงกรณีศึกษาเพื่อ เป็นตัวอย่างในการจัดการด้านการป้องกันการตกจากท่ีสูง เพ่ือส่งเสริมให้ผู้ปฏิบัติงานสามารถทางานได้อย่าง ปลอดภยั จากอุบตั ิเหตุ การเจบ็ ป่วย และโรคจากการทางานบนท่ีสูงไดอ้ ยา่ งเป็นรูปธรรม การนาคู่มือการป้องกันการตกจากที่สูงฉบับน้ีไปประยุกต์ใช้จะเกิดความสมบูรณ์และเกิดประโยชน์ สูงสุดได้ หากผู้ใช้นามาตรฐานการจัดการความปลอดภัยในการทางานบนท่ีสูงตามที่อ้างอิงไว้ซึ่งสถาบัน ส่งเสริมความปลอดภัยฯ ได้กาหนดวิธีการและขั้นตอนการปฏิบัติให้เป็นรูปธรรมในแต่ละส่วนที่เก่ียวข้องไป ปฏิบัติควบค่ไู ปด้วย สถาบันส่งเสริมความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องค์การมหาชน)
คู่มอื การปอ้ งกันการตกจากท่ีสูง สารบญั คณะอนกุ รรมการวิชาการ หน้า คณะทางานการจัดทาคูม่ อื การป้องกนั การตกจากที่สงู คานา ก บทท่ี 1 บทนา ข ค 1.1 ลาดบั ของมาตรการในการควบคมุ ป้องกนั การตกจากท่ีสงู 1 1.2 การบรหิ ารจดั การในการป้องกนั การตกจากทีส่ งู 2 1.3 การจดั การความเสี่ยง 3 บทที่ 2 การปอ้ งกนั การตกจากท่สี ูง 5 2.1 แพลตฟอรม์ ช่วั คราว 6 2.2 นงั่ รา้ น 6 2.3 รถกระเช้า 7 2.4 ราวกนั ตก 11 2.5 ตาขา่ ยนริ ภัย 16 2.6 บันไดพาด 18 2.7 ฝาครอบ 21 2.8 สัญลักษณ์เตอื นอันตราย 25 บทที่ 3 การตรวจสอบและบารุงรักษาระบบปอ้ งกันการตกจากที่สูง 26 3.1 การตรวจสอบระบบปอ้ งกันการตกจากทสี่ ูง 28 3.2 การบารงุ รกั ษาระบบป้องกันการตกจากท่สี งู 28 บทท่ี 4 กรณศี ึกษา 28 4.1 วิเคราะห์สาเหตกุ ารเสยี ชวี ติ 29 4.2 แนวทางการดาเนินงาน 29 บรรณานกุ รม 30 ภาคผนวก 1 สถิตกิ ารประสบอนั ตรายทม่ี สี าเหตุจากการตกจากทสี่ ูง 31 ภาคผนวก 2 ตวั อยา่ ง แนวทางการพิจารณาเลอื กใช้อุปกรณ์ป้องกนั การตกจากที่สูง 32 34 สถาบนั ส่งเสริมความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)
คู่มือการป้องกันการตกจากที่สูง 1 บทท่ี 1 บทนา การทางานบนที่สูง หมายถึง การปฏิบัติงานใด ๆ ก็ตามในบริเวณท่ีมีความต่างระดับของพ้ืนท่ี ทางานท่ีมีความสูง และมีโอกาสตกจากทีส่ ูงของบุคคลหรือวัสดจุ ากระดับหนึ่งสู่ระดบั ท่ีต่ากว่า เช่น บริเวณท่ีมี ทางขนึ้ - ลงหรือบนั ได บริเวณลาดชนั ทีล่ ืน่ หรอื มพี ื้นผวิ ที่ไม่แขง็ แรงมน่ั คง เปน็ ต้น การตกจากที่สูง หมายถึง การตกของบุคคล หรือการตกของวัสดุจากระดับหนึ่งสู่ระดับที่ต่ากว่า ซ่ึงถือเป็นหนึ่งในสาเหตุการเสียชีวิตหรือการบาดเจ็บที่เกิดจากการทางานที่จาเป็นต้องมีการป้องกันการตก จากท่ีสูงเพื่อป้องกันและลดการเกิดอุบัติเหตทุ ี่จะเกิดกับผู้ปฏิบัติงานบนที่สูงนั้น ๆ การปอ้ งกันการตกจากท่ีสูง นั้นจาเป็นต้องมีการจัดการความเส่ียงในการทางานจากการตกจากที่สูง ซ่ึงประกอบด้วย การชี้บ่งอันตราย การประเมนิ ความเส่ียงดว้ ยวิธตี ่าง ๆ และการควบคุมความเสีย่ งในทส่ี ุด โดยใหเ้ ป็นไปตามมาตรฐานการจัดการ ความเสี่ยงด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (Occupational Safety and Health Risk Management System Standard) และคู่มือการจัดการความเส่ียงด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (Occupational Safety and Health Risk Management Manual) ท่ี สถาบนั สง่ เสริมความปลอดภัยฯ ไดจ้ ดั ทาขน้ึ สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน) ได้จัดทามาตรฐานการจัดการความปลอดภัยในการทางานบนที่สูง (Safety Management on Working at Height Standard) และคู่มือการดาเนินงานตามข้อกาหนดการจัดการความปลอดภัยในการทางานบนท่ีสูง (Safety Management Specification of Working at Height Manual) ขึ้นเพ่ือเป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน บนท่สี งู และกาหนดคานยิ ามของอุปกรณ์สาหรบั การปฏิบตั ิงานบนที่สงู ขึ้น คู่มือเล่มนี้มีสาระสาคัญที่กล่าวถึง ความหมายของการตกจากท่ีสูง อันตรายจากการตกจากท่ีสูง ข้อมูลสถิติการประสบอันตรายจากการตกจากท่ีสูงในประเทศไทย ลาดับของมาตรการควบคุมป้องกันการ ตกจากท่ีสูง การบริหารจัดการ และการจัดการความเสี่ยง การป้องกันการตกจากท่ีสูง ประกอบด้วย แพลตฟอร์มชว่ั คราว น่ังร้าน รถกระเช้า ราวกันตก ตาข่ายนริ ภัย บนั ไดพาด ฝาครอบ สัญลักษณ์เตอื นอันตราย รวมไปถึงการตรวจสอบและบารุงรักษาระบบป้องกันการตกจากท่ีสูงดังกล่าว การเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกัน การตกจากทส่ี งู ท่เี หมาะสม กรณศี ึกษาและแนวทางการแก้ไขทเ่ี ก่ียวข้องกบั การป้องกันการตกจากท่สี งู สถาบนั สง่ เสริมความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)
คู่มอื การปอ้ งกันการตกจากทีส่ งู 2 1.1 ลาดบั ของมาตรการควบคมุ ป้องกนั การตกจากทีส่ งู หลักการควบคุมความเสี่ยงจะนามาตรการควบคุมตามลาดับของมาตรการควบคุมป้องกันการ ตกจากที่สูง (Hierarchy of Control) ตามภาพที่ 1-3 มาใช้ปฏิบัติเพื่อควบคุมความเสี่ยงจากที่มปี ระสิทธภิ าพมาก ทส่ี ดุ ไปยงั นอ้ ยท่สี ดุ ไดแ้ ก่ ลาดับที่ 1 การขจดั อันตราย (Elimination) ลาดับที่ 2 การทดแทน (Substitution) ลาดับท่ี 3 การควบคุมทางวิศวกรรม (Engineering Controls) ลาดบั ท่ี 4 การควบคุมเชิงบรหิ ารจัดการ (Administrative Controls) ลาดับท่ี 5 การใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยจากการตกจากท่ีสูง (Fall Protection Equipment; FPE) FPE ภาพท่ี 1-1 ลาดับของมาตรการในการควบคุมปอ้ งกันการตกจากทีส่ งู การป้องกันการตกจากท่ีสูงเป็นการควบคุมความเส่ียงในลาดับท่ี 1 การขจัดอันตราย ลาดับท่ี 2 การทดแทน และลาดับท่ี 3 การควบคุมทางวิศวกรรม ซึ่งลาดับท่ี 1 เป็นการเลือกวิธีการหรือขั้นตอนการ ทางานเพ่ือลดและหลีกเล่ียงการทางานบนที่สูง เช่น การทางานบนพ้ืน การทางานบนโครงสรา้ งท่ีแข็งแรง เป็นต้น ลาดับท่ี 2 เป็นการลดความเส่ียงจากการตกจากท่ีสูง โดยมีมาตรการควบคุมความเสี่ยงร่วมกับการใช้อุปกรณ์ ป้องกันการตกจากท่ีสูง เช่น ราวกันตก ตาข่ายนิรภัย เป็นต้น หรือพื้นทางานท่ีม่ันคงและปลอดภัย เช่น แพลตฟอร์มยกระดับ รถกระเช้า นั่งร้าน เป็นต้น ส่วนลาดับท่ี 3 การควบคุมทางวิศวกรรม เป็นการป้องกัน การตกจากท่ีสูงเชิงวิศวกรรม โดยใช้ระบบกาหนดตาแหน่งการทางานบนที่สูง (Work Positioning System) สถาบนั ส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)
คู่มือการปอ้ งกันการตกจากท่สี ูง 3 ซ่ึงประกอบด้วย ระบบจากัดระยะเคล่ือนท่ี (Travel Restraint System) ระบบการทางานด้วยเชือก (Rope Access System) และระบบการลดความรนุ แรงจากการตกจากท่ีสูง เช่น ราวกันตก ท่ีขวางกั้นการเข้า - ออก ตาขา่ ยนริ ภัย และการป้องกันทข่ี อบและชอ่ งเปิด เปน็ ต้น 1.2 การบรหิ ารจดั การในการปอ้ งกันการตกจากทส่ี ูง การบริหารจัดการในการทางานบนที่สงู ใช้แนวทางในการปฏบิ ัติงานท่ีสอดคลอ้ งกับกฎกระทรวง กาหนดมาตรฐานในการบริหาร การจัดการ และดาเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานที่เก่ียวข้อง เพ่ือให้เกิดความปลอดภัยในการทางานแก่ผู้ปฏิบัติงานบนที่สูง โดยใช้แนวทางตามมาตรฐานสากลท่เี ป็นท่ียอมรับมาจัดทาเป็นแนวทางในการปฏิบตั ิงาน เพ่ือให้นายจ้าง และ ผู้ปฏิบัติงานทราบถึงอันตรายและปัจจัยท่ีก่อให้เกิดความเส่ียงในการทางานบนที่สูง การตรวจสุขภาพตาม ปัจจัยเสี่ยง และให้มีการกาหนดหน้าที่และความรับผิดชอบต่อการปฏิบัติงานบนที่สูง เช่น ผู้อนุญาต ผู้ควบคุมงาน ผู้ปฏิบัติงาน และผู้ช่วยเหลือ เป็นต้น พร้อมท้ังให้บุคลากรเหล่านี้ร่วมวางแผนและกาหนด มาตรการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานสาหรับการปฏิบัติงานบนที่สูง โดยใชแ้ นวคิดการป้องกันและยบั ย้งั การตกจากทสี่ ูงตามลาดับของมาตรการควบคุมป้องกันการตกจากทสี่ ูงตาม มาตรฐานการจัดการความปลอดภัยในการทางานบนที่สูงในการกาหนดระเบียบปฏิบัติงานเพื่อจัดการความเส่ียง และควบคมุ อันตรายตามมาตรฐานการจดั การความเสยี่ งด้านความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทางาน รวมไปถึงการพิจารณาเลือกใช้ระบบป้องกันการตกจากท่ีสูง การติดตั้งอุปกรณ์ป้องกัน การตรวจสอบ การบารุงรักษา และการช่วยเหลือในกรณฉี ุกเฉนิ อยา่ งเป็นระบบ การควบคุมเชิงบริหารจัดการเป็นการนาการบริหารจัดการมาใช้ในการควบคุมร่วมกับมาตรการ อ่ืน ๆ เช่น ระเบียบปฏิบัติด้านความปลอดภัย การฝึกอบรม การกาหนดพ้ืนที่ควบคุม ระบบการขออนุญาต ทางาน การจัดระบบและลาดับของงาน ข้ันตอนและวิธีปฏิบัติงานอย่างปลอดภัย การบันทึก และควบคุม เอกสาร เปน็ ตน้ 1. ระเบียบปฏิบัติด้านความปลอดภัย นายจ้าง ผู้ควบคุมงาน ผู้ปฏิบัติงาน ผู้อนุญาต ผู้ช่วยเหลือ และบุคคลท่ีเกี่ยวข้องในงานการทางานบนท่ีสูง ควรมีการปรึกษาหารือเพ่ือกาหนดระเบียบปฏิบัติงานในการ ทางานบนทส่ี งู ในประเดน็ ดังต่อไปน้ี กฎหมายที่เกีย่ วขอ้ งกับการทางานบนที่สูง การออกแบบ และวางแผนด้าน ความปลอดภัยสาหรับการทางานบนที่สูง การประเมินความเสีย่ ง และควบคมุ ความเส่ียงในการทางานบนที่สูง การกาหนดวิธีการทางานอย่างปลอดภัย และให้มีการปฏิบัติตามขั้นตอนในการทางานท่ีเหมาะสม มาตรการ ป้องกันการตกจากที่สูง เช่น การตรวจติดตามผลการดาเนินงานตามมาตรการป้องกันการตกจากที่สูง การ จดั เตรียมข้อมูล คาแนะนา และการฝึกอบรมเก่ียวกับความปลอดภัยในการทางานบนที่สูง มีแผนและข้ันตอน สถาบนั ส่งเสรมิ ความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องค์การมหาชน)
คู่มือการปอ้ งกันการตกจากทีส่ ูง 4 การปฏิบัติเพื่อตอบโต้เหตุฉุกเฉินของการทางานบนท่ีสูง นอกจากน้ีผู้ปฏิบัติงานบนท่ีสูงต้องมีสุขภาพสมบูรณ์ แข็งแรงเพราะหากมีปัญหาทางสุขภาพหรือโรคประจาตัวที่มีความเส่ียงต่อการปฏิบัติงานบนที่สูงอาจเป็น อนั ตรายได้ ดงั นนั้ จงึ ควรได้รบั การตรวจคดั กรองทางสขุ ภาพก่อนเริ่มปฏิบัตงิ าน 2. การฝึกอบรม ให้มีการฝึกอบรมสาหรับผู้ปฏิบัติงานทุกคนท่ีต้องปฏิบัติงานบนท่ีสูง เพื่อให้ ผปู้ ฏิบัติงานเกิดความตระหนักต่ออนั ตรายของการตกจากท่ีสูง มคี วามสามารถ และทกั ษะในการปฏิบัติงานใน ระบบต่าง ๆ และต้องฝึกอบรมขอ้ บังคบั และคมู่ อื วา่ ดว้ ยความปลอดภยั ในการทางาน 3. พื้นที่ควบคุม การปฏิบัติงานบนที่สูงควรกาหนดเป็นพ้ืนท่ีควบคุมซ่ึงเป็นมาตรการท่ีมี ประสิทธิภาพในการควบคุมไม่ให้ผู้ไม่เก่ียวข้องเข้าไปในพ้ืนที่ท่ีมีอันตรายจากการตกจากท่ีสูง ต้องมีป้ายอย่าง เพียงพอเพื่อเตือนกอ่ นเข้าในบริเวณท่ีมอี ันตรายจากการตกจากที่สูง ผู้ควบคุมงานต้องให้ข้อมูลและคาแนะนา แก่ผู้ปฏิบัติงานเกี่ยวกับเรื่องพ้ืนท่ีควบคุมและมีการดูแลอย่างเพียงพอ มิให้ผู้ท่ีไม่ได้รับอนุญาตเข้าในพ้ืนที่ ควบคมุ หา้ มเข้ากอ่ นไดร้ บั อนุญาต ระวังตกจากท่สี ูง ภาพที่ 1-2 ตวั อย่างป้ายสาหรบั พื้นทีค่ วบคุม 4. ระบบการขออนุญาตทางาน (The Permit to Work System) ระบบการขออนุญาตทางาน บนที่สูง (Work at Height Permit) เป็นมาตรการที่จาเป็นในพื้นท่ีที่มีอันตรายจากการตกจากท่ีสูง โดย อนุญาตให้เฉพาะผู้ที่ผา่ นการอบรมเขา้ ปฏบิ ัติงานเท่านน้ั 5. การจัดระบบและลาดับของงาน ต้องตรวจสอบให้มั่นใจว่า งานได้มีการจัดระบบเพื่อไม่ให้ ผู้ปฏิบตั งิ านมคี วามเส่ียงตอ่ การตกจากทีส่ งู สาหรบั ตวั เองหรือผู้อ่นื 6. ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติงานอยา่ งปลอดภัย การควบคุมเชิงบริหารจัดการ อาจทาได้งา่ ยโดยใช้ ข้ันตอนปฏบิ ตั งิ านทคี่ วามปลอดภัยท่ีอธบิ ายขั้นตอนต่าง ๆ ที่เกี่ยวขอ้ งกบั การทางานอย่างปลอดภัย สถาบนั ส่งเสริมความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องค์การมหาชน)
คู่มอื การป้องกนั การตกจากที่สูง 5 7. การบันทึก และควบคุมเอกสาร ควรจัดทาบันทึกให้ชัดเจนว่างานใดที่ใช้การควบคุมในพ้ืนท่ีใด ขั้นตอนการปฏิบัติงาน และให้มีการทบทวนอย่างสม่าเสมอเพ่ือประเมินประสิทธิภาพของการปฏิบัติงาน ดังกลา่ ว 1.3 การจัดการความเส่ียง การประเมินความเสย่ี งจากการตกจากทีส่ งู ควรใชห้ ลักเกณฑก์ ารพิจารณาต่อไปน้ี ก) พิจารณาถงึ โอกาสของการเกิดอันตราย ข) พจิ ารณาถงึ ความรุนแรงของอนั ตราย เม่ือดาเนินการประเมินความเส่ียงและจัดระดับความเส่ียง ตามมาตรฐานการจัดการความเสี่ยง ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานของสถาบันส่งเสริมความปลอดภัยฯ แล้ว ต้องดาเนินการควบคุมความเส่ียงจากการตกจากท่ีสูงโดยใช้มาตรการควบคุมตามลาดับของมาตรการควบคุม ป้องกันการตกจากที่สูง (Hierarchy of Control) มาใช้ปฏิบัติเพื่อควบคุมความเสี่ยงจากท่ีมีประสิทธิภาพมาก ท่สี ุดไปยังนอ้ ยที่สุด การยับยั้งการตกจากท่ีสูงซ่ึงเป็นมาตรการลดความรุนแรงจากการตกจากที่สูง ด้วยมาตรการ ควบคุมความเสี่ยงในลาดบั ท่ี 5 โดยใชอ้ ุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยจากการตกจากที่สูง เพอ่ื ลดความรุนแรง ที่จะเกิดขึ้นกับผู้ปฏิบัติงานอันมีสาเหตุมาจากการปฏิบัติงานบนท่ีสูง ได้แก่ ระบบยับยั้งการตกส่วนบุคคล ประกอบด้วย จุดยึดเก่ียว (Anchorage Point) สายรัดนิรภัยชนิดเต็มตัว (Full Body Harness) อุปกรณ์ เชอื่ มต่อ (Connectors) เชน่ เชอื กนิรภัย (Lanyard) สายช่วยชวี ิต (Lifeline) เป็นตน้ สถาบันสง่ เสริมความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)
คู่มือการป้องกนั การตกจากท่ีสูง 6 บทท่ี 2 การปอ้ งกนั การตกจากทส่ี ูง มาตรการที่ใช้เพ่ือป้องกันไม่ให้ผู้ปฏิบัติงานมีโอกาสตกจากที่สูง (Active Fall Protection) สามารถดาเนินการโดยการจัดสภาพแวดล้อมในการทางานให้เกิดความปลอดภัย เช่น การจัดทาแพลตฟอร์ม ยกระดับ นั่งร้าน ราวกันตก รถกระเช้า ตาข่ายนิรภัย บันได และระบบจากัดระยะการเคล่ือนที่ เป็นต้น มาตรการดงั กล่าวน้ีเปน็ มาตรการซึง่ ดาเนนิ การในลาดับมาตรการควบคมุ ป้องกนั ท่ี 1-3 และตอ้ งใช้รว่ มกับการ ยับยั้งการตกจากที่สงู (Passive Fall Prevention) ซ่งึ เป็นมาตรการลดความรุนแรงจากการตกจากที่สงู เพ่ือให้ เกิดประสิทธิภาพและเกิดความปลอดภัยสูงสุด เช่น จุดยึดเก่ียว สายรัดนิรภัย สายช่วยชีวิต และอุปกรณ์ เช่ือมต่อ เป็นต้น ซึ่งจัดเป็นลาดับมาตรการควบคุมป้องกันการตกจากท่ีสูงลาดับท่ี 5 โดยการป้องกันการตก จากที่สงู ควรเลือกใช้อุปกรณ์ทีไ่ ด้รับการออกแบบมาเพ่ือให้ผู้ปฏบิ ัติงานทางานได้อย่างปลอดภยั ตามความเส่ียง หรือลักษณะงาน ดงั นี้ 2.1 แพลตฟอร์มช่วั คราว (Temporary Platform) แพลตฟอร์มชั่วคราวเป็นโครงสร้างที่ออกแบบมาเพื่อการทางานบนที่สูงเป็นการชั่วคราว เช่น น่ังร้าน แพลตฟอร์มยกระดับ ยกพ้ืน ทางเดินชั่วคราวยกระดับ เป็นต้น โดยการออกแบบต้องมีความมั่นคง แข็งแรง มรี าวกันตก มที างข้ึน - ลงทป่ี ลอดภัยและมีขอบกนั ของตก ภาพท่ี 2-1 แพลตฟอรม์ ช่ัวคราว สถาบันส่งเสรมิ ความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องค์การมหาชน)
คู่มือการป้องกนั การตกจากท่ีสูง 7 2.2 นง่ั ร้าน (Scaffolds) น่ังร้านเป็นพ้ืนท่ีปฏิบัติงานช่ัวคราวสาหรับการทางานบนท่ีสูง โดยในการทางานบนท่ีสูงตั้งแต่ 2 เมตรขึ้นไปนายจ้างต้องจัดให้มีน่ังร้านในการปฏิบัติงาน ตามกฏหมายความปลอดภัยฯ นั่งร้านสาหรับ การปฏิบัติงานบนท่ีสูงตั้งแต่ 4 เมตรขึ้นไป ต้องได้รับการออกแบบและรับรองโดยวิศวกร สาหรับการติดตั้ง ดดั แปลง และรอ้ื ถอนน่งั รา้ นท่ัวไปตอ้ งดาเนินการอย่ภู ายใตก้ ารควบคุมดแู ลของวศิ วกร น่ังร้านสาหรับรองรับผู้ปฏิบัติงานท่ีใช้กันโดยทั่วไป แบ่งออกเป็น 7 ประเภท ตามมาตรฐาน ทสี่ มาคมวิศวกรรมสถานแหง่ ประเทศไทยในพระบรมราชปู ถมั ภ์กาหนด ได้แก่ 1. นัง่ ร้านไมไ้ ผ่ ภาพที่ 2-2 นง่ั รา้ นไม้ไผ่ 2. นง่ั ร้านเสาเรียงเดย่ี ว ภาพที่ 2-3 นงั่ รา้ นเสาเรียงเด่ียว สถาบนั สง่ เสริมความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)
ค่มู ือการปอ้ งกันการตกจากที่สูง 8 3. นัง่ รา้ นเสาเรียงสอง ภาพที่ 2-4 น่ังร้านเสาเรียงสอง 4. นั่งรา้ นแขวน (เหล็ก ทอ่ เหล็ก ลวดสลงิ ) ภาพท่ี 2-5 นัง่ รา้ นแขวน 5. นั่งรา้ นคานย่นื ภาพที่ 2-6 นัง่ ร้านคานย่นื สถาบนั ส่งเสรมิ ความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องค์การมหาชน)
ค่มู ือการป้องกนั การตกจากที่สูง 9 6. นัง่ ร้านทอ่ เหล็ก ภาพท่ี 2-7 นั่งรา้ นท่อเหล็ก 7. น่ังรา้ นกระเชา้ ภาพที่ 2-8 นง่ั ร้านกระเช้า สถาบนั สง่ เสรมิ ความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)
ค่มู ือการป้องกันการตกจากท่ีสูง 10 วัสดุ การออกแบบ ติดตั้ง และรื้อถอน ให้เป็นไปตามมาตรฐานท่ีสมาคมวิศวกรรมสถานแห่ง ประเทศไทยในพระบรมราชปู ถมั ภ์กาหนด 2.2.1 อนั ตรายจากการใชน้ ่งั รา้ น 1) การตกจากน่ังร้าน สาเหตุจากพลัดตกระหว่างปฏิบัติงาน การเอื้อมหรือยืดตัวออกนอก ราวกนั ตก การสะดุด ลน่ื หกล้ม ขณะปฏิบัติงาน 2) นั่งร้านถล่ม สาเหตุจาก พ้ืนดินทรุด ตดิ ต้งั ไม่ได้มาตรฐาน บรรทกุ นา้ หนักเกนิ พิกัดท่ีกาหนดไว้ นั่งร้านไมไ่ ดม้ าตรฐาน ขาดการตรวจสอบและบารุงรักษา 3) วสั ดุ ส่งิ ของ ตกจากหรอื ตกใสน่ ั่งร้าน 4) ได้รับอันตรายจากไฟฟ้าสาเหตุจากการทางานใกลก้ ับไฟฟ้าแรงดันสูง 2.2.2 ข้อควรปฏิบตั ิและขอ้ ควรระวังในการใช้งานนั่งร้าน 1) นัง่ ร้านตอ้ งได้รับการโยงยดึ หรือค้ายันเสาน่งั รา้ นใหม้ คี วามมนั่ คงและแข็งแรง 2) น่ังร้านต้องติดต้ังขอบกนั ของตกสูงไมน่ ้อยกว่า 7 เซนติเมตร จากพ้ืนที่ปฏบิ ัตงิ านหรือตะแกรง ตลอดแนว เพอ่ื ปอ้ งกันวสั ดุตกหลน่ 3) นงั่ ร้านจะต้องไมม่ สี ่ิงของกดี ขวางทางเดนิ ทางขึน้ – ลง 4) กรณีน่ังร้านเกิดชารุด จะต้องรีบแจ้งผู้รับผิดชอบซ่อมและแก้ไขทันที และห้ามใช้น่ังร้านน้ัน จนกว่าจะซอ่ มแซมเสร็จเรียบรอ้ ย 5) ห้ามดัดแปลง หรือใช้อุปกรณ์อื่นที่นอกเหนือจากวิศวกรได้ออกแบบไว้ เว้นแต่ได้รับการ อนญุ าตจากวศิ วกร 6) ห้ามกองวัสดุหรือส่ิงของบนน่ังร้าน เว้นแต่เป็นท่ีวางพักชั่วคราวเพ่ือใช้ในการทางาน และน้าหนกั ตอ้ งไม่เกนิ ขดี จากดั ของการออกแบบทีก่ าหนดไว้ 7) หา้ มผ้ปู ฏบิ ตั ิงานทางานบนน่ังร้านขณะมีพายหุ รือลมแรง 8) ห้ามผ้ปู ฏบิ ตั งิ านทางานบนนงั่ ร้านทลี่ ่นื มีดนิ โคลนจับ จนกว่าจะทาความสะอาดเรยี บร้อยแล้ว 9) กรณตี ิดต้ังนั่งร้านใกล้สายไฟฟ้าแรงดนั สูง ตอ้ งมมี าตรการป้องกนั อนั ตรายจากไฟฟ้า 10) การติดต้ังน่ังร้านเคล่ือนท่ี ล้อทุกล้อต้องสามารถล็อคได้ขณะใช้งาน เพ่ือไม่ให้เกิด การเคล่ือนทีข่ ณะใชง้ าน 11) กรณีใช้นัง่ ร้านชนิดเคลื่อนที่ ห้ามผู้ปฏิบัติงานอย่บู นน่ังรา้ นขณะเคล่อื นยา้ ยน่งั ร้าน 12) การนาวสั ดุไปวางบนนั่งร้าน จะต้องไดร้ ับการควบคุมโดยวศิ วกร เพื่อเป็นการควบคุมนา้ หนัก 13) การตงั้ นั่งร้านบริเวณทางสัญจรของรถ ต้องจดั ใหม้ ีป้ายเตือนสาหรับผูป้ ฏิบัติงานเพ่ือป้องกัน การชน สถาบันส่งเสรมิ ความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)
ค่มู ือการปอ้ งกนั การตกจากทส่ี งู 11 2.2.3 การตรวจสอบและบารุงรกั ษานง่ั รา้ น นั่งร้านสาหรับการปฏิบัติงานต้องผ่านการตรวจสอบตามมาตรฐานก่อนการใช้งาน ระหว่าง การใช้งาน และหลังการใช้งาน รวมไปถึงมีการจัดเก็บบันทึกข้อมูลเก่ียวข้องกับการออกแบบ การแสดง รายการคานวณ มรี ายละเอียด ดงั น้ี 1) ตรวจสอบคุณภาพของน่ังร้าน ฐานรองรับ โดยตรวจสอบรายละเอียดแบบของน่ังร้าน วัสดุ อปุ กรณ์ ความหนา จดุ ยดึ จุดเช่ือม ชน้ิ ส่วน ขอ้ ตอ่ และอปุ กรณป์ ระกอบนั่งร้าน ใหม้ ีความมัน่ คงปลอดภัย และอยใู่ นสภาพพร้อมใช้งาน 2) ตรวจสอบความปลอดภยั ของทางเข้า - ออก ทางขึ้น - ลง ให้มคี วามปลอดภยั ไม่มีส่ิงกดี ขวาง 3) ตรวจสอบการตดิ ต้งั ราวกันตก ตาข่ายนิรภัย ขอบป้องกนั การตก และอุปกรณป์ ้องกนั อ่นื ๆ 4) ตรวจสอบน่ังร้าน บันไดขึ้น - ลง และอุปกรณ์ประกอบก่อนการใช้งานเป็นประจา โดยผู้ท่ี ได้รับมอบหมาย ในกรณีที่มีการใช้งานนั่งร้านอย่างต่อเน่ืองเป็นระยะเวลานาน ควรมีการตรวจสอบเป็น ประจาทุก ๆ 7 วนั 5) ตรวจสอบสภาพนั่งร้านให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานพร้อมติดป้ายอนุญาต กรณีพบว่านั่งร้าน ชารุดหรอื บกพรอ่ ง ห้ามใชง้ าน พร้อมตดิ ปา้ ย “ห้ามใช้งาน” 6) กรณีมีพายุ ลมแรง ฝนฟ้าคะนอง ที่อาจส่งผลกระทบต่อการปฏิบัติงานและความม่ันคงของ น่ังรา้ น จะต้องหยดุ การทางานบนน่ังร้านโดยทันที จนกว่าจะไดร้ บั การตรวจสอบความปลอดภัย 7) ต้องมกี ารบารงุ รักษาตามมาตรฐานของผผู้ ลติ หรอื วศิ วกรกาหนด 8) ตรวจสอบความพร้อมใช้งานของอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล ระบบป้องกัน และยับย้งั การตกจากทีส่ ูง 2.3 รถกระเชา้ (Mobile Elevated Work Platforms) รถกระเช้าเป็นเคร่ืองจักรเคล่ือนที่ได้ ประกอบด้วย แพลตฟอร์มยกระดับพร้อมราวหรือขอบสูง ป้องกันการตกของวัสดุและผู้ปฏิบัติงาน ซึ่งออกแบบให้ใช้งานบนที่สูง เนื่องจากมีความคล่องตัวในการยกและ เคล่ือนยา้ ยผ้ปู ฏบิ ัตงิ านขน้ึ ไปทางานบนท่สี งู ประกอบด้วย 5 ประเภท ไดแ้ ก่ สถาบันส่งเสริมความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)
ค่มู ือการป้องกนั การตกจากที่สูง 12 1. รถกระเชา้ แบบเสากระโดง (Personal Lift) ภาพท่ี 2-9 รถกระเช้าแบบเสากระโดง (Personal Lift) 2. รถกระเช้าแบบขากรรไกร (Scissor Lift) ภาพที่ 2-10 รถกระเชา้ แบบขากรรไกร (Scissor Lift) สถาบนั ส่งเสรมิ ความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)
ค่มู ือการปอ้ งกันการตกจากทสี่ ูง 13 3. รถกระเช้าแบบแขนตรง (Telescopic Lift) ภาพที่ 2-11 รถกระเช้าแบบแขนตรง (Telescopic Lift) 4. รถกระเช้าแบบแขนพับ (Articulated Lift) ภาพท่ี 2-12 รถกระเช้าแบบแขนพบั (Articulated Lift) สถาบันสง่ เสรมิ ความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)
ค่มู ือการปอ้ งกนั การตกจากท่สี งู 14 5. รถบรรทกุ ตดิ กระเชา้ (Bucket Truck) ภาพท่ี 2-13 รถบรรทุกติดกระเชา้ (Bucket Truck) 2.3.1 อันตรายจากการใช้รถกระเช้า 1) การติดค้างบนกระเช้า ผู้ปฏิบัติงานมีโอกาสติดค้างอยู่บนรถกระเช้า สาเหตุจากอุปกรณ์ และเครอื่ งจักรขดั ข้องหรอื ชารดุ การดัดแปลงอุปกรณ์ และขาดการตรวจสอบ บารุงรกั ษา 2) การตกจากกระเช้า สาเหตุจากการเอื้อมหรือย่ืนตัวออกนอกกระเช้ามากเกินไป รถกระเช้าตกหลมุ ขณะเคลอ่ื นท่ีทาใหผ้ ู้ปฏบิ ัติงานตกจากกระเชา้ 3) การโค่นล้มของรถกระเช้า สาเหตุจากพื้นรองรับไม่แข็งแรงหรือไม่ได้ระดับ การยกเกิน พิกัด การควบคุมความเร็วอุปกรณ์ สภาพภูมิอากาศผิดปกติ การติดต้ังขายัน (Outriggers) ไม่ได้ระยะ ทเี่ หมาะสม ระยะองศาของแขนไม่สัมพันธ์กบั น้าหนักทีย่ ก เป็นตน้ 4) การเฉี่ยวชน สาเหตุจากขาดผู้ให้สัญญาณระหว่างการใช้งาน ความผิดพลาดของ ผูค้ วบคุมรถกระเชา้ ไมก่ าหนดเขตพืน้ ทกี่ ารปฏิบตั ิงานของรถกระเชา้ 5) ไดร้ ับอันตรายจากไฟฟา้ สาเหตจุ ากการทางานใกลก้ บั ไฟฟา้ แรงดันสงู 2.3.2 ข้อควรปฏิบตั ิและขอ้ ควรระวงั ในการใช้งานรถกระเชา้ 1) ตรวจสอบพื้นที่ กาหนดบริเวณพ้ืนที่ปฏิบัติงาน และจัดทาเขตอันตรายพร้อมติดตั้ง ป้ายเตือน 2) พื้นที่และฐานรองรับรถกระเช้าต้องมีความมั่นคงและแข็งแรง โดยไม่มีน้าขังและ ส่ิงกีดขวางการทางาน สถาบันส่งเสรมิ ความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)
ค่มู อื การปอ้ งกันการตกจากทสี่ งู 15 3) ขณะใช้งานรถกระเช้าและเคลื่อนที่ต้องมีสัญญาณแสงหรือเสียงเตือน 4) ไม่ปฏิบัติงานใกล้กับไฟฟ้าแรงดันสูง ยกเว้นมีการป้องกันตามกฎหมายหรือ มาตรฐานท่ีกาหนด 5) ต้องปฏิบัติตามข้อแนะนาที่ระบุไว้ในคู่มือที่ผู้ผลิตกาหนด กรณีไม่มีคู่มือให้วิศวกร เป็นผู้กาหนด 6) ต้องมีการตรวจสอบรถกระเช้าให้อยู่ในสภาพท่ีปลอดภัย พร้อมใช้งาน ตามท่ีผู้ผลิต กาหนด 7) รถกระเช้าต้องมีอุปกรณ์ป้องกันการตกจากที่สูงให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล 8) ผู้ปฏิบัติงานบนรถกระเช้าต้องสวมใส่อุปกรณ์ยับยั้งการตกจากที่สูง อย่างน้อย ประกอบด้วยสายรัดนิรภัยชนิดเต็มตัวและสายช่วยชีวิตที่มีอุปกรณ์ดูดซับแรง ทั้งนี้ต้องคล้อง เกี่ยวกับจุดยึดตลอดเวลา 9) ผู้ปฏิบัติงานบนรถกระเช้าต้องผ่านการฝึกอบรมการปฏิบัติงานบนที่สูง 10) ผู้บังคับรถกระเช้าต้องผ่านการฝึกอบรมและรับรองโดยผู้มีความรู้ความสามารถ 11) ห้ามดัดแปลง ต่อเติม หรือกระทาการใด ๆ เพื่อเพิ่มความสูงของพื้นปฏิบัติงาน บนรถกระเช้า 12) ขณะรถกระเช้าเคล่ือนท่ีจากจุดหน่ึงไปอีกจุดหน่ึงต้องมีผู้เฝ้าระวังและให้สัญญาณ 13) ห้ามใช้รถกระเช้าผิดวัตถุประสงค์หรือเกินขีดจากัดที่ผู้ผลิตกาหนด เช่น ห้อยหรือ แขวนวัสดุ อุปกรณ์ เป็นต้น 14) ในกรณีที่สภาพแวดล้อมในการทางานเปลี่ยนแปลงไปและมีผลกระทบต่อความ ปลอดภัยในการทางาน เช่น พายุ ฝนตก ลมแรง เป็นต้น ต้องหยุดการใช้งานรถกระเช้า 2.3.3 การตรวจสอบและบารงุ รักษารถกระเช้า 1) ก่อนการใช้งานประจาวันต้องมีการตรวจระบบน้ามัน ระบบไฮดรอลิก ระบบไฟฟ้า และปุ่มควบคุมให้มีสภาพปลอดภัย พร้อมใช้งาน 2) มีการตรวจสอบตามคู่มือที่ผู้ผลิตกาหนด 3) จัดให้มีการบารุงรักษาตามคู่มือท่ีผู้ผลิตกาหนด สถาบนั สง่ เสรมิ ความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)
คู่มือการปอ้ งกันการตกจากทส่ี ูง 16 2.4 ราวกนั ตก (Guardrails) ราวกันตกเป็นอุปกรณ์ป้องกันการตกจากท่ีสูงหรือกาหนดขอบเขตการปฏิบัติงานของ ผู้ปฏิบัติงานหรืออุปกรณ์ในแนวด่ิง โดยจัดทาข้ึนให้เหมาะกับการใช้งานในสถานท่ีท่ีไม่ใช่สถานท่ีปฏิบัติงาน ถาวร เช่น การก่อสร้างกาแพง การปูพื้นกลางแจ้ง การปฏิบัติงานเปลี่ยนหลังคา เป็นต้น รวมถึงการทางาน บริเวณขอบอาคาร โครงหลังคา หลังคา ขอบหลังคา บนพื้นน่ังร้าน ทางสัญจรบนยกพ้ืนต่างระดับ บันได ทางลาด และชานพัก ช่องเปิดทั้งแนวต้ังและแนวนอน ช่องเปิดของท่อ หลุม และการขุดอื่น ๆ โดยราวกันตก จะติดตั้งเป็นการช่ัวคราว และยึดติดกับโครงสร้างที่มีความแข็งแรงตามมาตรฐาน ภายใต้การออกแบบ ติดตั้ง และควบคมุ ดแู ลโดยวศิ วกร พน้ื ที่ปฏิบัตงิ านต้องติดต้ังขอบกันของตกสงู ไม่น้อยกว่า 7 เซนติเมตรจากพื้นท่ปี ฏิบัติงาน ยกเว้น พ้นื ท่นี ้นั ไมส่ ามารถตดิ ตง้ั ขอบกนั ของตกได้ ใหพ้ จิ ารณามาตรการอืน่ เพือ่ ปอ้ งกนั วสั ดุตกหลน่ ราวกันตกต้องประกอบด้วย ราวบน (Top Rails) สูงจากพื้นผิวติดตั้ง 100 ± 10 เซนติเมตร ราวกลาง (Mid Rails) สงู ครงึ่ หนึ่งของความสงู จากพ้นื ถึงสว่ นบนสดุ ของราวบน1 ดังแสดงในภาพที่ 2-14 ราวบน (Top Rails) 100 ± 10 ราวกลาง (Mid Rails) เซนตเิ มตร ภาพท่ี 2-14 ส่วนประกอบของราวกันตก ขอบกนั ของตก ราวกนั ตกควรมลี กั ษณะ ดงั น้ี 1) ต้องมีลักษณะม่ันคงแข็งแรง โดยใช้ไม้ ท่อเหล็ก เหล็กฉาก หรือเหล็กรูปอ่ืน ๆ โดยสามารถรับ แรงกระทาในแนวราบได้ไม่น้อยกว่า 120 กิโลกรัม 2) จัดให้มขี อบกนั ของตกสูงไมน่ ้อยกว่า 7 เซนติเมตร จากพ้นื เพ่ือปอ้ งกนั กันวสั ดุตกหล่น 1 1910.29(b)(1), OSHA, Fall Protection Systems and Falling Object Protection-Criteria and Practices. สถาบันส่งเสรมิ ความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)
คู่มอื การป้องกันการตกจากท่สี งู 17 3) สามารถติดต้ังตะแกรงเหล็กแทนการติดตั้งราวกันตกได้ โดยตะแกรงเหล็กจะต้องถูกติดตั้งเพ่ือ ปิดช่องว่างท้ังหมดระหว่างราวบนกับพื้น ตลอดความยาวของราวกันตก เช่น การใช้ตะแกรงเบอร์ 16 (U.S Wire Gage) ขนาดช่องตะแกรง 38 มลิ ลเิ มตร เปน็ ต้น 4) สามารถติดตงั้ ลูกกรงแทนการติดต้ังราวกลางได้ มรี ะยะหา่ งระหว่างลกู กรงไม่เกิน 20 เซนติเมตร ดงั แสดงในภาพท่ี 2-15 ราวบน (Top Rails) 100 ± 10 เซนตเิ มตร ขอบกนั ของตก ≤ 20 เซนตเิ มตร ภาพท่ี 2-15 การติดต้งั ลกู กรงแทนการติดตงั้ ราวกลาง ราวกนั ตกสามารถแบ่งตามวัสดทุ ีใ่ ช้ได้ 3 ชนิด ได้แก่ 1. ราวกนั ตกท่ที าด้วยไม้ (Wood Guardrails) 2. ราวกันตกชนดิ ทอ่ (Pipe Guardrails) 3. ราวกนั ตกโครงสร้างทาดว้ ยเหลก็ (Structural Steel Guardrails) 2.4.1 อันตรายจากการใช้งานราวกันตก อันตรายจากการใช้งานราวกนั ตกมักจะมีสาเหตมุ าจาก 1) วสั ดุที่ใช้ไม่มคี วามแขง็ แรง ทนทาน 2) การตดิ ต้ังไม่ม่นั คง แข็งแรง 3) ขาดการตรวจสอบและบารงุ รักษา 2.4.2 ขอ้ ควรปฏิบตั ิและข้อควรระวงั ในการใชง้ านราวกันตก 1) ห้ามดัดแปลง ต่อเติม หรือกระทาการใด ๆ ที่มีผลกระทบต่อความปลอดภัย โดยไม่ได้รับ อนญุ าตจากวิศวกร สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)
คมู่ อื การป้องกนั การตกจากทีส่ ูง 18 2) ในกรณีท่ีมีการอนุญาตให้ถอดถอนราวกันตกออกเพ่ือการปฏิบัติงานเป็นการชั่วคราว หลังจากการปฏิบัติงานเสร็จในแต่ละวัน ให้ติดต้ังราวกันตกกลับคืน และตรวจสอบให้มีความมั่นคง แข็งแรง และปลอดภัย 3) ห้ามใช้ราวกันตกเป็นจุดยึดกับอุปกรณ์ยับยั้งการตกจากที่สูง ยกเว้นได้รับการออกแบบมา เปน็ การเฉพาะ 4) ในกรณีท่ีไม่สามารถติดตง้ั ราวกันตกกับโครงสร้างทีแ่ ข็งแรงได้ โดยเฉพาะบรเิ วณขอบช่องเปิด ต้องติดต้ังอุปกรณ์ป้องกันการตกจากท่ีสูงห่างจากขอบอย่างน้อย 180 เซนติเมตรตลอดแนวพร้อม สญั ลกั ษณเ์ ตอื น 5) จัดให้มีแสงสว่างท่ีเพียงพอ สัญญาณไฟ และป้ายเตือนสะท้อนแสงบริเวณราวกันตก เมื่อมี การปฏบิ ัติงานในเวลากลางคืนหรอื สภาพแสงน้อย 2.4.3 การตรวจสอบและบารุงรกั ษาราวกนั ตก 1) ผคู้ วบคุมงานต้องตรวจสอบสภาพราวกนั ตก ให้มคี วามมั่นคง แข็งแรง ปลอดภยั พร้อมใช้งาน โดยครอบคลุมพ้ืนที่ปฏิบตั งิ าน กอ่ นการปฏบิ ัติงานทุกวัน 2) ผูค้ วบคมุ งานต้องตรวจสอบสภาพราวกนั ตก ให้มีความม่ันคง แขง็ แรง ปลอดภัย พร้อมใชง้ าน โดยครอบคลมุ พืน้ ทป่ี ฏิบัติงานท้งั หมด และเป็นไปตามทอี่ อกแบบไวเ้ ป็นประจาทกุ สัปดาห์ 3) ต้องมีการตรวจสอบสภาพราวกันตก หลังจากเกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมในการ ทางานอันมีผลกระทบต่อความปลอดภัย เช่น พายุ ฝนตก ลมแรง เป็นต้น และให้ดาเนินการแก้ไข กอ่ นเรม่ิ ปฏบิ ัตงิ าน 4) ต้องมีการตรวจสอบสภาพราวกันตก หลังจากเกิดเหตุการณ์ซึ่งมีผลกระทบตอ่ ความปลอดภัย เชน่ ส่งิ ของตกกระแทก เฉี่ยวชน เปน็ ต้น และให้ดาเนนิ การแก้ไขกอ่ นเริม่ ปฏิบตั งิ าน 5) กรณีราวกันตกสาเร็จรปู ใหบ้ ารุงรกั ษาตามคมู่ ือท่ีผู้ผลติ กาหนดไว้ 2.5 ตาข่ายนริ ภยั (Safety Net) ตาข่ายนิรภัยเป็นอุปกรณ์ป้องกันการตกจากท่ีสูงของผู้ปฏิบัติงาน วัสดุ หรือกาหนดขอบเขตการ ปฏิบัติงานบนท่ีสูง โดยติดตั้งในแนวด่ิงทุก ๆ ด้านของโครงสร้างท่ีเป็นช่องเปิด โดยตาข่ายนิรภัยต้องติดต้ัง แนบชิดกับโครงสร้างหรือตัวอาคาร หรือห่างจากขอบอาคารเข้ามาด้านใน โดยความสูงของตาข่ายนิรภัยต้อง ไม่น้อยกว่าความสูงของราวกันตก ท้ังน้ีตาข่ายนิรภัยต้องมีความแข็งแรงตามมาตรฐาน ภายใต้การออกแบบ ติดตัง้ และควบคุมดูแลโดยวิศวกร สถาบันสง่ เสรมิ ความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)
ค่มู อื การปอ้ งกันการตกจากทีส่ ูง 19 ภาพท่ี 2-16 ตาข่ายนิรภยั 2.5.1 อันตรายจากใชง้ านตาข่ายนิรภยั อันตรายจากการใชง้ านตาขา่ ยนริ ภยั มักจะมสี าเหตุมาจาก 1) วัสดุทใ่ี ชไ้ ม่มคี วามแขง็ แรง ทนทาน 2) การเลอื กใชง้ านไม่เหมาะกบั ลกั ษณะงาน สถาบนั สง่ เสริมความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)
ค่มู ือการป้องกันการตกจากท่สี ูง 20 3) การติดตงั้ ไมม่ ่ันคง แข็งแรง 4) ขาดการตรวจสอบและบารงุ รักษา 2.5.2 ขอ้ ควรปฏบิ ัติและข้อควรระวังในการใชง้ านตาขา่ ยนริ ภัย 1) ห้ามดัดแปลง ต่อเติม หรือกระทาการใด ๆ ที่มีผลกระทบต่อความปลอดภัย โดยไม่ได้รับ อนญุ าตจากวิศวกร 2) ในกรณีที่มีการอนุญาตให้ถอดถอนตาข่ายนิรภัยออกเพื่อการปฏิบัติงานเป็นการช่ัวคราว หลังจากการปฏิบัตงิ านเสร็จในแต่ละวัน ให้ตดิ ต้งั ตาข่ายนิรภัยกลบั คืน และตรวจสอบให้มีความม่ันคง แข็งแรง และปลอดภัย 3) ตาข่ายนิรภัยทใ่ี ช้งานต้องมีหลักฐานแสดงข้อมูล ชื่อผ้ผู ลิต รหสั รุ่นของวัสดุ วันที่ผลติ วนั ที่ ทดสอบ หนว่ ยงานทท่ี าการทดสอบ และหมายเลขอนุกรมการผลิต (Serial Number) 2.5.3 การตรวจสอบและบารงุ รกั ษาตาขา่ ยนิรภยั 1) ผู้ควบคุมงานต้องตรวจสอบสภาพตาข่ายนิรภัยให้มีความม่ันคง แข็งแรง ปลอดภัย พร้อมใช้งาน โดยครอบคลมุ พ้ืนท่ปี ฏิบตั ิงาน ก่อนการปฏิบัตงิ านทกุ วนั 2) ผคู้ วบคุมงานต้องตรวจสอบสภาพตาข่ายนิรภัยใหม้ ีความมั่นคง แข็งแรง ปลอดภัย พร้อมใช้งาน โดยครอบคลุมพ้ืนทป่ี ฏิบตั งิ านทั้งหมด และเปน็ ไปตามท่ีออกแบบไว้เป็นประจา ทกุ สัปดาห์ 3) ต้องมีการตรวจสอบสภาพตาข่ายนิรภัย หลังจากเกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมใน การทางานอันมผี ลกระทบต่อความปลอดภัย เช่น พายุ ฝนตก ลมแรง เปน็ ตน้ และใหด้ าเนินการแก้ไข กอ่ นเร่ิมปฏิบตั งิ าน 4) ต้องมีการตรวจสอบสภาพตาข่ายนิรภัย หลังจากเกิดเหตุการณ์ซึ่งมีผลกระทบต่อ ความปลอดภัย เช่น สิ่งของตกกระแทก เฉ่ียวชน ของมีคมบาด เป็นต้น และให้ดาเนินการแก้ไขก่อน เรม่ิ ปฏบิ ัตงิ าน 5) ตาข่ายนิรภัยและอปุ กรณป์ ระกอบ จะต้องถูกตรวจสอบอย่างน้อยปีละ 1 คร้ัง โดยผ้มู ีความรู้ ความสามารถ ตามคู่มือท่ีผู้ผลิตกาหนดไว้ และทาการจดบันทึกรายงานการตรวจสอบสภาพตาข่ายนิรภัย และอปุ กรณ์ประกอบ และเก็บรกั ษาไวใ้ นหน่วยงาน โดยมรี ายละเอยี ดอย่างน้อย ดงั นี้ ก. หมายเลขอนกุ รมการผลติ ของตาข่าย ข. วนั ที่ตดิ ตงั้ ค. วันทีท่ าการตรวจสอบ และวนั ทีท่ าการเปลีย่ นหรอื ซอ่ มแซม ง. ผู้รับผดิ ชอบในการดแู ล 6) ตาขา่ ยนิรภยั ตอ้ งบารุงรกั ษาตามคู่มอื ทีผ่ ู้ผลิตกาหนดไว้ สถาบนั สง่ เสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)
คูม่ ือการปอ้ งกนั การตกจากท่ีสูง 21 2.6 บันไดพาด (Ladders) การใช้บันไดพาดเป็นมาตรการหน่ึงของการปฏิบัติงานบนที่สูง ซึ่งบันไดพาดถือเป็นอุปกรณ์ อานวยความสะดวกสาหรับการปฏิบัติงานเพื่อสนับสนุนผู้ปฏิบัติงานให้สามารถขึ้น - ลงในพ้ืนท่ีต่างระดับ ซงึ่ ถกู จัดว่าเป็นมาตรการการป้องกนั การตกจากทีส่ ูงรูปแบบหน่ึง โดยบันไดพาดเป็นอุปกรณ์สาหรับใช้ขึ้น - ลง หรือใช้เพือ่ ปฏิบตั งิ านบนที่สงู บันไดพาดจะใชส้ าหรับการปฏิบัติงานบนทีส่ งู ไม่เกิน 4 เมตร ข้ันบันไดควรทาจากวัสดุท่ีมีความแข็งแรง แต่ละข้ันมีระยะห่างไม่เกิน 30 เซนติเมตร มีความ กว้างประมาณ 40 – 45 เซนติเมตร รับน้าหนักได้ไม่นอ้ ยกว่า 110 กิโลกรัม โดยแบง่ ออกเปน็ 4 ประเภท ตาม ลักษณะการใช้งาน ได้แก่ 1) บันไดไตเ่ ด่ียวยกยา้ ยได้ (Single Portable Ladder) ภาพที่ 2-17 บนั ไดไตเ่ ดีย่ วยกยา้ ยได้ (Single Portable Ladder) 2) บันไดไต่ยืดได้ (Extension Ladder) ภาพที่ 2-18 บนั ไดไต่ยดื ได้ (Extension Ladder) สถาบันส่งเสรมิ ความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องค์การมหาชน)
ค่มู อื การปอ้ งกันการตกจากทีส่ ูง 22 3) บันไดทรงเอ (A-Frame Ladder) ภาพที่ 2-19 บนั ไดทรงเอ (A-Frame Ladder) 4) บันไดประเภทอน่ื ๆ 2.6.1 อันตรายจากการใช้งานบนั ไดพาด 1) ความสงู ของบันไดไมเ่ หมาะสมกับการปฏบิ ัติงาน ทาให้ตอ้ งเอือ้ มหรือก้มขณะปฏิบัตงิ าน 2) ตาแหนง่ ของบันไดไมเ่ หมาะสมกับการปฏบิ ตั ิงาน ทาให้ตอ้ งเอยี้ วขณะปฏบิ ตั ิงาน 3) ไมป่ ฏบิ ตั ติ ามหลักการสัมผสั บันได 3 จดุ (3 Point Contact) 4) ผู้ปฏิบัตงิ านสวมรองเท้าไมเ่ หมาะสม 5) ข้นั บันไดสกปรก เปียก ลนื่ หรือชารดุ 6) บรเิ วณทต่ี ิดต้งั บนั ได มีแสงสวา่ งไม่เพยี งพอ กดี ขวางทางสัญจร ทางเขา้ - ออก 7) พืน้ ท่ีติดตง้ั บันไดหรือฐานรองรับบนั ไดไมเ่ หมาะสม ไม่มนั่ คงแข็งแรง 8) การใช้งานบนั ไดพาดบรเิ วณพนื้ ทลี่ าดชนั และไม่มีมาตรการปอ้ งกันการลื่นไถลของบันได 9) ใช้บันไดทเี่ ปน็ สอ่ื นาไฟฟา้ กับการปฏบิ ตั งิ านท่ีเก่ียวกับไฟฟ้า 2.6.2 ขอ้ ควรปฏบิ ัตใิ นการใช้งานบนั ไดแตล่ ะประเภท 1) บนั ไดไต่ยกย้ายได้ (Single Portable Ladder) ก. ห้ามใชบ้ ันไดไตย่ กยา้ ยได้ท่มี คี วามยาวเกนิ กว่า 6 เมตร ข. ข้ันบันไดมีระยะห่างไม่เกิน 30 เซนติเมตร มีความกว้างประมาณ 40 – 45 เซนตเิ มตร และรบั นา้ หนกั ได้ไมน่ อ้ ยกวา่ 110 กโิ ลกรมั สถาบนั ส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)
ค่มู อื การปอ้ งกันการตกจากที่สงู 23 ค. กรณีใชง้ านบันไดเกิน 4 ขน้ั ควรมคี นช่วยจบั เพอื่ กนั บันไดลื่นไถล ง. หา้ มใช้บนั ไดท่ีเปน็ สอ่ื นาไฟฟา้ ในการทางานเก่ยี วกับไฟฟา้ จ. ห้ามใช้บันไดในบริเวณที่เป็นทางผ่าน หรือประตูทางเข้า - ออก หรือทางสัญจร หากจาเป็น ใหต้ ั้งที่ขวางกั้นหรือปดิ ลอ็ คประตูพร้อมตดิ ต้ังปา้ ยเตือน ฉ. ห้ามเอ้ียวหรือเอียงลาตัวออกนอกบันได (หัวเข็มขัดของผู้ปฏิบัติงานควรอยู่ภายใน บันไดตลอดเวลาทป่ี ฏบิ ัติงาน) ช. ห้ามใช้บันไดใกล้ขอบพื้นท่ีท่ีไม่มีการป้องกัน ใกล้ช่องเปิด หรือต้ังบันไดบนน่ังร้าน หรอื รถกระเชา้ เพ่อื เพ่มิ ความสูง 2) บันไดไตย่ ดื ได้ (Extension Ladder) ก. บนั ไดไตย่ ืดไดต้ ้องมีช่วงที่เล่อื นได้ไม่เกิน 2 ชว่ ง ข. ในการยืดบันไดควรยืดออกในรางบังคับ เมื่อยืดออกแล้วต้องมีการยึดร้ังและล็อคให้ เรียบรอ้ ย เพอื่ ให้มคี วามมัน่ คงแข็งแรง ปลอดภยั พรอ้ มใชง้ าน ค. ห้ามใช้บันไดในบริเวณท่ีเป็นทางผ่าน หรือประตูทางเข้า - ออก หรือทางสัญจร หากจาเป็น ให้ต้ังที่ขวางกัน้ หรือปิดลอ็ คประตูพร้อมติดต้งั ปา้ ยเตือน ง. ห้ามเอ้ียวหรือเอียงลาตัวออกนอกบันได (หัวเข็มขัดของผู้ปฏิบัติงานควรอยู่ภายใน บนั ไดตลอดเวลาท่ีปฏิบัตงิ าน) จ. ตรวจสอบอุปกรณ์ประกอบของบันได ให้อยู่ในสภาพสมบูรณ์และใช้งานได้ตาม วัตถปุ ระสงค์ 3) บนั ไดทรงเอ (A-Frame Ladder) ก. บันไดทรงเอต้องมคี ณุ สมบัติเปน็ ไปตามมาตรฐานทีย่ อมรับ และตรวจสอบก่อนการใชง้ าน ข. ตอ้ งกางขาบนั ไดทรงเอให้สุดและอยู่ในตาแหน่งล็อค ค. หา้ มใช้บนั ไดทีเ่ ป็นส่ือนาไฟฟ้าในการทางานเก่ยี วกบั ไฟฟ้า ง. ห้ามใช้งานบนั ไดบริเวณพื้นท่ีลาดชัน จ. ต้องมีมาตรการปอ้ งกนั การลน่ื ไถลของบันได ฉ. ห้ามใช้บันไดในบริเวณที่เป็นทางผ่าน หรือประตูทางเข้า - ออก หรือทางสัญจร หากจาเปน็ ให้ต้ังท่ีขวางกนั้ หรอื ปดิ ล็อคประตพู ร้อมตดิ ตง้ั ปา้ ยเตือน ช. ห้ามใช้บันไดใกล้ขอบพื้นท่ีท่ีไม่มีการป้องกัน ใกล้ช่องเปิด หรือต้ังบันไดบนน่ังร้าน หรอื รถกระเชา้ เพ่อื เพม่ิ ความสงู ซ. ห้ามเอ้ียวหรือเอียงลาตัวออกนอกบันได (หัวเข็มขัดของผู้ปฏิบัติงานควรอยู่ภายใน บันไดตลอดเวลาที่ปฏิบตั งิ าน) สถาบันส่งเสรมิ ความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องค์การมหาชน)
ค่มู อื การปอ้ งกนั การตกจากทสี่ งู 24 ฌ. ห้ามผู้ปฏิบัติงานยืนบน 3 ขั้นสุดท้ายของบันไดทรงเอ ยกเว้นบันไดที่มีพ้ืนยืนพร้อม ราวจบั (Step Platform Ladder) ญ. ห้ามใช้เคร่ืองมือที่ต้องใช้แรงในการงัดขณะปฏิบัติงานบนบันไดทรงเอ เช่น ชะแลง เป็นตน้ ซ่งึ อาจทาใหผ้ ปู้ ฏิบัติงานเสียการทรงตวั ตกจากบันไดได้ ฎ. การทางานบนบนั ไดให้ทางานได้ครัง้ ละ 1 คน ฏ. ต้องจัดให้มคี นชว่ ยจบั บนั ไดขณะปฏบิ ตั ิการ ฐ. การทางานบนบนั ไดทรงเอไม่ควรเกิน 15 นาทีตอ่ ครง้ั 4) บนั ไดประเภทอ่นื ๆ ก. การใช้งานให้ปฏิบัติตามข้อกาหนดหรอื ค่มู อื ของบริษัทผู้ผลติ ข. ตรวจสอบฐาน จุดยึด ตัวล็อค และอุปกรณ์ประกอบก่อนการใช้งานให้อยู่ในสภาพ สมบูรณ์ 2.6.3 ขอ้ ควรปฏบิ ตั ิและข้อควรระวงั ในการใช้งานบันไดพาด 1) พาดบันไดให้เอียงในอัตราส่วน 1 : 4 โดยวัดความสูงจากพ้ืนถึงจุดพาดบันได 4 ส่วนต่อ ระยะห่างของตนี บันไดจากกาแพง 1 สว่ น หรือประมาณ 75 องศา ตรึงฐานบันไดให้แน่น ภาพที่ 2-20 อัตราส่วนการพาดบนั ไดท่ีเหมาะสมคือ 1 : 4 2) ในกรณที ี่จาเป็นต้องพาดบันไดเกินกว่า 75 องศา จะต้องผูกยึดบันไดเพือ่ ป้องกันผู้ปฏิบัติงาน ตกจากบันไดพาด 3) ในกรณีที่จาเป็นต้องพาดบันไดน้อยกว่า 75 องศา จะต้องมีมาตรการป้องกันการล่ืนไถลของ ฐานบันได เพอื่ ป้องกนั ผูป้ ฏิบตั งิ านตกจากบนั ไดพาด 4) ฐานรองรบั บนั ไดตอ้ งมคี วามมนั่ คงแขง็ แรงเพียงพอท่ีจะรับนา้ หนักบนั ไดและผู้ปฏิบัติงานได้ 5) ต้องจดั ให้มคี นชว่ ยจบั บนั ไดขณะปฏิบตั ิงาน สถาบนั ส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องค์การมหาชน)
คู่มอื การป้องกนั การตกจากทสี่ งู 25 6) หา้ มนาบันไดพาดทีช่ ารุดมาใชง้ าน 7) หากตรวจสอบพบว่าบันไดพาดชารดุ ต้องแขวนป้าย “ห้ามใชง้ าน” พร้อมส่งซอ่ มหรอื ทาลาย 8) หา้ มดัดแปลง ตอ่ เตมิ เพ่ือเพ่มิ ความยาวของบนั ได หรือนามาประกอบเป็นพ้นื เพือ่ ปฏบิ ัตงิ าน 2.7 ฝาครอบ (Hole Cover) พ้ืนที่ปฏิบัติงานท่ีมีช่องว่าง ช่องระหว่างพื้นท่ีปฏิบัติงาน หรือช่องเปิดไม่ว่าจะเป็นบนหลังคา ชั้นของอาคาร ทางเดิน ท่ีมีความเส่ียงจากการตกของวัสดุ สิ่งของ หรือผู้ปฏิบัติงาน ต้องจัดให้มีมาตรการ ป้องกนั การตกจากที่สูงหรือวสั ดรุ ่วงหล่น โดยใช้ฝาครอบ ราวกันตกหรอื ตาข่ายพรอ้ มขอบกันของตก และมกี าร ติดต้งั ป้ายเตอื น ฝาครอบควรมีขนาดเพียงพอท่ีครอบคลุมช่องว่าง ช่องท่ีมีระยะห่างระหว่างพ้ืนท่ีปฏิบัติงาน หรอื ช่องเปดิ และมีความแข็งแรงเพียงพอ โดยมีการยึดตรึงให้ม่นั คง ในกรณีใช้ราวกันตกหรือตาข่ายนริ ภยั ตอ้ ง ติดตั้งขอบกันของตกเสมอ ขนาดของช่องตาข่ายนิรภัยต้องมีขนาดที่เหมาะสมกับลักษณะงาน รวมท้ังมีการ ตรวจสอบฝาครอบอย่างเป็นประจาก่อนการปฏิบัตงิ าน ควรหลีกเล่ียงการปฏิบตั ิงานใกลช้ ่องเปิดดังกลา่ ว ภาพที่ 2-21 ตัวอยา่ งฝาครอบ 2.7.1 อันตรายจากการใชง้ านฝาครอบ อันตรายจากการใชง้ านฝาครอบมักจะมสี าเหตมุ าจาก 1) วสั ดุทใ่ี ชไ้ ม่มคี วามแขง็ แรง ทนทาน 2) การตดิ ตง้ั ไมม่ น่ั คง แข็งแรง 3) ขาดการตรวจสอบและบารุงรักษา สถาบนั ส่งเสริมความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)
คู่มือการป้องกันการตกจากทส่ี ูง 26 2.7.2 ขอ้ ควรปฏิบัติและข้อควรระวังในการใช้งานฝาครอบ 1) ต้องจัดให้มีมาตรการป้องกันการตกจากที่สูงหรือวัสดุร่วงหล่น โดยใช้ฝาครอบท่ีมั่นคง แขง็ แรงและสามารถปิดช่องเปดิ ไดอ้ ย่างสมบูรณ์ 2) ติดต้ังปา้ ยเตอื นอนั ตราย 3) ฝาครอบควรมีขนาดเพียงพอที่ครอบคลุมช่องว่าง ช่องที่มีระยะห่างระหว่างพื้นท่ี ปฏิบัติงาน หรือช่องเปดิ 4) ฝาครอบต้องมีความแข็งแรงเพียงพอ มีการยึดตรึงให้มั่นคง ในกรณีใช้ราวกันตกหรือ ตาข่ายนิรภยั ต้องตดิ ตงั้ ขอบกนั ของตกดว้ ย 5) ขนาดของฝาครอบหรอื ตาข่ายนริ ภัยแนวราบตอ้ งมีขนาดท่เี หมาะสมกับลักษณะงาน 6) ในกรณีที่การถอดฝาครอบออกเพื่อการปฏิบัติงาน ให้จัดทาราวกันตกที่ม่ันคง แข็งแรง เพ่อื ปอ้ งกันอันตรายจากการตกจากทีส่ ูง พรอ้ มติดตั้งป้ายเตอื นอันตราย 7) ในกรณีท่ีมีการถอดฝาครอบหรือตาข่ายนิรภัยออกเพ่ือการปฏิบัติงาน ให้ปิดฝาครอบ หรอื ตาขา่ ยนิรภยั กลับคืนเมือ่ ไม่มีการปฏบิ ัตงิ านหรือหยดุ พกั 2.7.3 การตรวจสอบและบารงุ รกั ษาฝาครอบ 1) ตรวจสอบฝาครอบอยา่ งเปน็ ประจาก่อนการปฏบิ ัตงิ าน 2) ตรวจสอบการปิดฝาครอบหรอื ตาขา่ ยนิรภยั กลบั คนื เมื่อไมม่ กี ารปฏิบตั ิงานหรือหยุดพัก 3) ตรวจสอบป้ายเตือนอนั ตรายต่าง ๆ ใหอ้ ยู่ในสภาพพรอ้ มใช้งาน 2.8 สญั ลกั ษณ์เตอื นอันตราย (Warning Sign and Marking Sign) 2.8.1 ธงและเสน้ เชอื กเตือนอนั ตราย ธงและเส้นเชือกเตือนอันตรายเป็นสัญลักษณ์เตือนผู้ปฏิบัติงานไม่ให้เข้าใกล้บริเวณพื้นที่ อันตราย ขอบอาคาร หลังคา หรือช่องเปิด โดยธงและเส้นเชือกนี้เป็นมาตรการเสริมในการป้องกันอันตราย จากการตกจากท่ีสงู ดังนั้นธงและเส้นเชือกจะใช้ได้กบั บางสถานการณเ์ ท่านนั้ ภาพที่ 2-22 การติดตัง้ ธงและเสน้ เชอื ก สถาบนั สง่ เสรมิ ความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)
คมู่ อื การปอ้ งกันการตกจากทส่ี งู 27 การติดตั้งธงและเส้นเชือกควรติดตั้งห่างจากขอบของบริเวณพื้นท่ีอันตราย ขอบอาคาร หลังคา หรือช่องเปิด ไม่น้อยกว่า 1.80 เมตร และมีความสูงระหว่าง 90 – 110 เซนติเมตร และสามารถมองเห็นได้ ชัดเจนตลอดเวลาปฏบิ ตั งิ าน มีการตรวจสอบและบารงุ รักษาใหม้ สี ภาพพร้อมใชง้ าน 2.8.2 ปา้ ยและสญั ลักษณเ์ ตือนอนั ตราย ปา้ ยและสญั ลักษณ์เตอื นอนั ตรายเป็นมาตรการเสรมิ ในการป้องกันอันตรายจากการตกจากทสี่ ูง ให้เป็นไปตามมาตรฐานของสานกั งานมาตรฐานผลติ ภัณฑ์อตุ สาหกรรม หา้ มเขา้ กอ่ นไดร้ บั อนุญาต สวมเขม็ ขัดนริ ภยั ป้องกนั การตกจากท่ีสงู ระวงั ตก ปลอดภยั ไว้ก่อน ภาพท่ี 2-23 ตัวอย่างป้ายสาหรบั พ้ืนท่ีควบคุม สถาบนั ส่งเสริมความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)
คมู่ อื การป้องกนั การตกจากทสี่ งู 28 บทที่ 3 การตรวจสอบและบารงุ รักษาระบบป้องกันการตกจากท่ีสงู 3.1 การตรวจสอบระบบป้องกันการตกจากที่สงู การตรวจสอบและบารุงรักษาต้องทาตามคาแนะนา ข้อกาหนดของผู้ผลิต หรือมาตรฐานสากลที่ เป็นท่ียอมรับโดยมหี ลักเกณฑ์ในการตรวจสอบระบบป้องกันการตกจากทส่ี ูง ประกอบด้วย 2 ระดบั ดงั นี้ 1. ระดับของผปู้ ฏบิ ัติงาน ผ้ปู ฏบิ ตั ิงานตอ้ งตรวจสอบอุปกรณ์ที่ใช้ในการปอ้ งกันการตกจากท่สี ูงก่อนและหลงั การใช้งาน ทุกคร้ัง โดยตรวจสอบการชารุด การเปล่ียนแปลงสภาพ หรือส่ิงผิดปกติอ่ืน ๆ ที่จะส่งผลให้เกิดอันตรายต่อ ผู้ปฏิบัติงาน หากพบส่ิงผิดปกติหรือสภาพเปลี่ยนแปลงไป ซ่ึงอาจทาให้เกิดอันตราย ให้แจ้งหัวหน้างานทราบ โดยทนั ที 2. ระดับของผู้มีความร้คู วามสามารถ ผู้มคี วามรู้ความสามารถต้องตรวจสอบระบบป้องกันการตกจากทสี่ ูง มีรายละเอียด ดังนี้ 2.1 ตรวจสอบกอ่ นการปฏิบัติงาน 2.2 ตรวจสอบอย่างเป็นประจาตามขอ้ กาหนด คู่มอื ทีผ่ ูผ้ ลิตกาหนด หรือการ ออกแบบโดยวิศวกร กรณีตรวจสอบโดยผู้ปฏิบัติงานหรือผู้มีความรู้ความสามารถ ซึ่งบุคคลต่าง ๆ เหล่าน้ีตอ้ งผ่าน การฝึกอบรมให้มีความรู้ ความเข้าใจในกระบวนการของระบบป้องกันการตกจากที่สูง และรายละเอียดของ การตรวจสอบอุปกรณ์ 3.2 การบารุงรักษาระบบปอ้ งกันการตกจากท่สี งู การบารุงรักษา การทาความสะอาด และการเก็บรักษาอปุ กรณ์ป้องกันการตกจากที่สูงให้เป็นไป ตามข้อกาหนด คู่มือของผู้ผลิต และมาตรฐานสากลท่ีเป็นที่ยอมรับ เช่น การเก็บรักษาระบบและอุปกรณ์ ป้องกันการตกจากท่ีสูงต้องเก็บรักษาให้อยู่ในสภาพดี พร้อมใช้งาน หลีกเล่ียงแสงแดดจ้า รังสีอัลตร้าไวโอเลต สถานท่ีท่ีมีอุณหภูมิสูง แก๊ส น้ามัน หรือสารเคมี ที่มีผลต่อประสิทธิภาพของระบบป้องกันการตกจากที่สูง พร้อมบนั ทึกประวตั ิการบารงุ รกั ษาและปิดป้ายกากับทุกครง้ั สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องค์การมหาชน)
คูม่ ือการปอ้ งกันการตกจากที่สูง 29 บทที่ 4 กรณีศึกษา กรณีศกึ ษาตกจากดาดฟ้าอาคารเสยี ชีวิต เหตุการณ์ การปฏิบัติงานติดตั้งเครื่องปรับอากาศบริเวณดาดฟ้าอาคารสูง 3 ชั้น ท่ีมีระดับความสูงประมาณ 12 เมตร มผี ูป้ ฏิบัตงิ านติดต้ังเครอ่ื งปรบั อากาศจานวน 3 คน ขณะปฏบิ ัตงิ านมีผปู้ ฏบิ ตั ิงานคนหน่งึ พลดั ตกจาก ดาดฟา้ อาคารลงสพู่ ้ืนเสยี ชีวติ ขอ้ มลู ประกอบ ประเภทกจิ การ – รบั เหมาติดต้งั เครือ่ งปรบั อากาศ ชนดิ ของงาน – ติดตั้งและบารงุ รกั ษาระบบปรับอากาศ สถานทเี่ กิดเหตุ – อาคารโรงงาน ขอ้ มูลผเู้ สยี ชีวิต – ผ้ชู ่วยช่าง ภารกิจของผู้เสียชีวิต : ติดต้ังเครื่องปรับอากาศบนดาดฟ้าอาคาร โดยการปฏิบัติงานครั้งน้ี เป็นครั้งท่ี 3 บรเิ วณรอบตวั ผูเ้ สยี ชีวติ : พบสวา่ นอยู่ข้างตวั ผูเ้ สียชีวิต ระบบการจัดการ - ไม่มีระบบการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมใน การทางาน และไม่มีผู้ดูแลจัดการด้านความปลอดภัยในการทางานบนที่สูง การประเมินความเสี่ยง – ไม่มีการประเมินความเสี่ยงสาหรับงานติดตั้งเคร่ืองปรับอากาศบนดาดฟ้า อาคาร 4.1 วเิ คราะหส์ าเหตกุ ารเสียชีวติ ความสญู เสยี : ผู้เสยี ชวี ติ 1 ราย สาเหตุ : พลัดตกจากดาดฟ้าอาคารขณะตดิ ต้งั เครอื่ งปรบั อาคารรมิ ขอบดาดฟ้าอาคารสงู วเิ คราะหส์ าเหตุ : 1) ไม่มรี ะเบยี บปฏบิ ัตแิ ละขอ้ บังคบั สาหรบั การปฏิบตั ิงานบนที่สงู 2) ขาดการฝกึ อบรมผปู้ ฏบิ ัติงานกอ่ นการปฏิบัตงิ านบนทีส่ ูง 3) ไม่มรี าวกนั ตก 4) ไม่ได้จดั ทาป้ายและสญั ลกั ษณเ์ ตือนอันตรายบรเิ วณขอบอาคาร สถาบันส่งเสรมิ ความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)
คมู่ อื การป้องกันการตกจากทสี่ ูง 30 5) ไม่มีผคู้ วบคุมงานท่ีมคี วามรคู้ วามสามารถ 6) ไม่มีระบบการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ ทางาน 7) ไม่มอี ุปกรณค์ มุ้ ครองความปลอดภัยในการทางานบนทส่ี ูง 4.2 แนวทางการดาเนินงาน 4.2.1 ผู้วา่ จา้ ง 1) ผู้ว่าจ้างต้องกาหนดมาตรการความปลอดภัยในการปฏิบัติงานบนที่สูงสาหรับ ผรู้ ับเหมา 2) ผู้ว่าจ้างต้องกาหนดให้ผู้รับเหมาต้องดาเนินการฝึกอบรมผู้ปฏิบัติงานก่อนการ ปฏบิ ัตงิ านบนที่สงู 4.2.2 ผรู้ ับเหมา 1) การประเมินความเส่ียง ต้องจัดให้มีการประเมินความเสี่ยงก่อนการปฏิบัติงานในทุก ๆ กระบวนการทางาน 2) การวางแผนงานด้านความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน ก. จัดทาแผนการปอ้ งกันและยับยั้งการตกจากทีส่ งู ข. ขออนุญาตทางานสาหรับการทางานบนท่ีสูง ค. กาหนดมาตรการปอ้ งกันการตกจากทส่ี ูง เช่น ราวกันตก เปน็ ตน้ ง. จดั ใหม้ ผี ู้ควบคุมงานทม่ี ีความรู้ความสามารถ จ. จดั ให้มอี ุปกรณค์ ุม้ ครองความปลอดภยั ในการทางานบนท่สี งู ท่เี หมาะสม ฉ. จดั ใหม้ ีการฝึกอบรมการปฏิบตั งิ านบนทส่ี ูงแก่ผ้ปู ฏบิ ัติงาน 3) ข้ันตอนการปฏิบตั ิงาน ก. จัดทาข้ันตอนการปฏิบัติงานสาหรับการปฏิบัติงานติดตั้งเคร่ืองปรับอากาศบน ดาดฟา้ อาคารอย่างปลอดภัย ข. ตดิ ต้ังอุปกรณ์ปอ้ งกันการตกจากท่ีสงู ค. ผคู้ วบคุมงานตรวจสอบ ควบคุม กากับ ดูแลให้ผู้ปฏิบัติงานปฏิบัติตามระเบียบ และขอ้ บังคบั สถาบันส่งเสรมิ ความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)
คมู่ ือการป้องกันการตกจากท่สี ูง 31 บรรณานกุ รม มาตรฐานการจัดการความปลอดภัยในการทางานบนท่ีสูง. สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน), 2561. มาตรฐานระบบการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน. สถาบัน ส่งเสริมความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน), 2562. คู่มือการดาเนินงานตามข้อกาหนดการจัดการความปลอดภัยในการทางานบนที่สูง สถาบันส่งเสริม ความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน), 2562. ข้อมลู สถติ กิ องทนุ เงินทดแทน สานักงานประกันสงั คม กระทรวงแรงงาน สืบคน้ เม่ือ 22 มถิ นุ ายน 2563 จากเวบ็ ไซต์ https://www.sso.go.th/wpr/assets/upload/files_storage/sso_th/fe4bf98524ca20d67 68e7ded43dabb4d.pdf. 1910. 29( b) ( 1) , Fall Protection Systems and Falling Object Protection- Criteria and Practices. Occupational Safety and Health Administration (OSHA). Fall Protection in Construction ( OSHA 3146) . Occupational Safety and Health Administration. US Department of Labor, 1998. Introduction to Fall Protection 3rd Edition. Ellis, J. Nigel. Amer Society of Safety Engineers, 1993. Case studies of Accidents involving Work at Height. The Workplace Safety and Health (WSH) Council. Ministry of Manpower Services. Singapore, 2017. Fall Hazard Recognition, Prevention & Control – Students’ Manual. A Program of The Health & Safety Department. International Union, UAW Solidarity House, 2011. สถาบนั ส่งเสริมความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)
คมู่ ือการป้องกันการตกจากทีส่ งู 32 ภาคผนวก 1 สถติ ิการประสบอนั ตรายจากการทางานบนทีส่ ูง จากรายงานสถิติการเกิดอุบัติเหตุจากการทางานของสานักงานกองทุนเงินทดแทน พบว่า อัตรา การประสบอันตรายท่ีมีสาเหตุจากการตกจากท่ีสูงตั้งแต่ปี พ.ศ. 2555 ถึงปี พ.ศ. 2560 มีอัตราการประสบ อนั ตรายลดลง คือ 90.30 71.47 67.54 71.93 63.85 และ 61.86 รายต่อลูกจ้าง 1 แสนคน ตามลาดับ ดังแสดง ในภาพท่ี ผ1-1 อตั ราการประสบอันตรายจากการตกจากทีส่ ูงต่อลูกจา้ ง 1 แสนคน ต้งั แตป่ ี พ.ศ. 2555 - 2560 100.00 90.30 80.00 71.47 67.54 71.93 63.85 60.00 61.86 40.00 20.00 0.00 พ.ศ.2555 พ.ศ.2556 พ.ศ.2557 พ.ศ.2558 พ.ศ.2559 พ.ศ.2560 ภาพท่ี ผ1-1 อตั ราการประสบอนั ตรายจากการตกจากที่สูงต่อลกู จ้างหน่ึงแสนคน ตั้งแต่ปี พ.ศ.2555 – 2560 อัตราการประสบอันตรายที่มีสาเหตุจากการตกจากท่ีสูง จาแนกตามความรุนแรง ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2555 ถึงปี พ.ศ. 2560 ต่อลูกจ้าง 1 แสนคน คือ หยดุ งานไม่เกิน 3 วัน หยดุ งานเกิน 3 วัน สญู เสียอวยั วะบางส่วน ทุพพลภาพ และตาย หากพิจารณาโดยภาพรวมแล้ว พบว่า มีอัตราการประสบอันตรายลดลงในทุกระดับ ความรุนแรง ดงั แสดงในภาพท่ี ผ1-2 สถาบันส่งเสรมิ ความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)
ค่มู ือการป้องกนั การตกจากท่ีสงู 33 อตั ราการประสบอนั ตรายจากการตกจากทส่ี งู จาแนกตามความรนุ แรง ปี พ.ศ.2555 - 2560 (ต่อลกู จา้ ง 100,000 คน) หยุดงานไม่เกนิ 3 วัน 31.9343.5365.27 383.98.338 50.4 28.42303.19.453 34.56 38.3 หยุดงานเกนิ 3 วัน 50 สูญเสยี อวยั วะบางส่วน 00000.....2223358814 พ.ศ.2560 ทุพพลภาพ 00000....00002257 ตาย 111111......01112253779 0 10 20 30 40 60 พ.ศ.2555 พ.ศ.2556 พ.ศ.2557 พ.ศ.2558 พ.ศ.2559 ภาพที่ ผ1-2 อัตราการประสบอนั ตรายท่ีมสี าเหตจุ ากการตกจากทีส่ ูง จาแนกตามความรุนแรง ต้ังแตป่ ี พ.ศ.2555 - 2560 สถาบันสง่ เสรมิ ความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)
คมู่ ือการป้องกนั การตกจากทส่ี ูง ภาคผน ตัวอย่าง แนวทางการพจิ ารณาเลอื ก การพิจารณาเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันการตกจากท่ีสูง ควรเลือกใช้ให้เหม ชนิดประกอบกนั เพ่อื ให้ครอบคลุมความเสย่ี งตามลักษณะงาน ซง่ึ แนวทางในการเลือก ตวั อย่าง ลกั ษณะงาน สญั ลักษณ์ บนั ไดพาด แพล เตอื น ยก การปฏิบตั ิงานบนทสี่ งู นอ้ ยกว่า 2 เมตร อันตราย ✔ การปฏิบัติงานบนท่ีสูงต้ังแต่ 2 เมตรข้ึนไป ✔ ✔ แตไ่ ม่เกิน 4 เมตร การปฏิบตั ิงานบนท่สี ูงต้งั แต่ 4 เมตรขึ้นไป ✔ การปฏิบัตงิ านบริเวณขอบอาคาร การปฏบิ ตั ิงานใกล้ช่องเปดิ ✔ ✔ ✔ สถาบนั สง่ เสรมิ ความปลอดภยั อาชีวอนามยั และ
34 นวก 2 กใชอ้ ปุ กรณป์ ้องกันการตกจากท่สี งู มาะสมตามลักษณะของงาน ซ่ึงสามารถพิจารณาเลือกใช้อุปกรณ์ชนิดเดียวหรือหลาย กใช้อปุ กรณ์อาจพิจารณาได้จากตารางต่อไปนี้ อปุ กรณป์ ้องกนั การตกจากท่ีสงู ลตฟอรม์ นง่ั รา้ น รถกระเชา้ ราวกันตก ตาขา่ ย ฝาครอบ กระดบั นริ ภยั ✔✔✔✔✔ ✔✔✔✔✔ ✔✔ ✔✔✔ ะสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)
ค่มู ือการปอ้ งกันการตกจากที่สูง สถาบันสง่ เสรมิ ความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)
Search
Read the Text Version
- 1 - 42
Pages: