หนา้ 43 (3) หัวหน้าทมี ผจญเพลิง 1) เม่ือไดร้ บั แจ้งเหตุ ให้แจง้ ทีมผจญเพลิงเพ่ือไปแตง่ กาย และรวมตัวกันทส่ี ถานีดบั เพลงิ 2) ไปรายงานตวั กับผูส้ ง่ั การเพอื่ ทาหน้าทห่ี วั หนา้ ทีมผจญเพลิง 3) ปฏิบัติงานร่วมกับผู้สั่งการเพ่ือกาหนดกลยุทธ์ในการช่วยชีวิต ควบคุมเพลิง หรือหยุดยั้ง การรว่ั ไหลของสารเคมี 4) นาทมี ผจญเพลิงเขา้ ระงบั เหตุ 5) ประสานงานกบั ทีมดับเพลงิ ทม่ี าจากภายนอก 6) ปฏิบัตงิ านร่วมกบั ผู้ส่งั การในการประเมินสถานการณ์ก่อนยกเลกิ ภาวะฉุกเฉิน (4) หวั หน้าทีมปฐมพยาบาล 1) เมอื่ ไดร้ ับแจง้ เหตุ ใหร้ ับการรายงานตัวของทีมปฐมพยาบาล 2) ไปรายงานตัวกับผสู้ ั่งการ 3) ควบคุมการคัดแยกผู้ที่ได้รับบาดเจบ็ ทาการปฐมพยาบาลผู้ได้รบั บาดเจ็บ 4) ประสานงานกับแพทย์ พยาบาล ท่เี ข้ามาปฏิบตั ิหน้าที่ในสถานประกอบกิจการ (5) หวั หน้าทีมควบคมุ การจราจร 1) เมื่อได้รับแจ้งเหตุ สั่งการให้ทีมควบคุมจราจรปิดประตูสถานประกอบกิจการ และอานวย ความสะดวกเส้นทาง ไมใ่ หม้ รี ถจอดขวางเสน้ ทางของรถดับเพลงิ และรถพยาบาล 2) กาหนดจดุ จอดรถดบั เพลิง รถพยาบาล รถของเจา้ หนา้ ทีต่ า่ ง ๆ ทเ่ี ขา้ มาในสถานประกอบกิจการ โดยไม่ใหก้ ีดขวางการจราจร 3) ไปรายงานตวั กับผสู้ ั่งการ เพอ่ื ทาหนา้ ทห่ี ัวหนา้ ทมี ควบคมุ การจราจร 4) อานวยการจราจร (6) หัวหน้าทีมสอ่ื สาร 1) เม่อื ได้รบั แจ้งเหตุ สง่ั การให้ตัง้ ระบบสื่อสาร 2) ไปรายงานตัวกบั ผู้สัง่ การ 3) สอ่ื สารกบั หน่วยงานตา่ ง ๆ ที่เกยี่ วขอ้ ง 4) ช่วยเหลือหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ในทมี ตอบโตภ้ าวะฉุกเฉินในการสื่อสาร/สง่ั การ รวมทงั้ ถ่ายทอด คาสัง่ ผอู้ านวยการควบคมุ ภาวะฉุกเฉนิ (7) หวั หน้าทีมประชาสมั พันธ์ 1) เมอ่ื ได้รบั แจ้งเหตุใหไ้ ปรายงานตวั กับผสู้ งั่ การ 2) วเิ คราะห์เหตกุ ารณ์ ช่วยเหลอื ผ้อู านวยการควบคมุ ภาวะฉกุ เฉินในการเตรียมแถลงขา่ ว 3) ดูแลนักขา่ วท่เี ข้ามาในสถานประกอบกิจการ กาหนดพน้ื ที่ของนักข่าวในจุดที่ปลอดภยั และ แจง้ ข่าวให้กับนกั ขา่ วเปน็ ระยะ 4) จัดทารายงาน สรุปเหตุการณ์ใหก้ ับผ้สู อ่ื ขา่ ว 5) จดั แถลงข่าวเมื่อเหตกุ ารณเ์ ข้าสภู่ าวะปกติ โดยสถาบนั สง่ เสรมิ ความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)
หนา้ 44 (8) หวั หนา้ ทมี บรกิ าร 1) เม่อื ไดร้ บั แจ้งเหตุ ใหไ้ ปรายงานตัวกบั ผสู้ ่ังการ 2) ส่งั การใหท้ ีมบรกิ ารตรวจสอบจานวนลกู จ้างท้ังหมดที่จุดรวมพล 3) เข้าดาเนนิ การสนบั สนุนทีมควบคุมภาวะฉุกเฉินต่าง ๆ เม่ือได้รบั การรอ้ งขอ 4) ดาเนนิ การอพยพลกู จ้างท่ไี ม่เก่ยี วข้องไปยังจดุ ทป่ี ลอดภยั เมือ่ ได้รบั การสั่งการจากผ้สู ัง่ การ 5) จัดหาน้าด่ืม อาหาร ให้กับทีมควบคุมภาวะฉุกเฉิน และหน่วยงานภายนอกท่ีเข้ามา ช่วยเหลือ โดยสถาบนั ส่งเสรมิ ความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)
หน้า 45 บทท่ี 5 การประเมนิ ผลและทบทวน การจดั การด้านความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน 5.1 การประเมินผล 5.1.1 ข้อกาหนด ทงั้ นใ้ี ห้ดาเนินการตามมาตรฐานระบบการจดั การความปลอดภยั ฯ (สสปท. 1-4-01-00-2562) ขอ้ 4.5.1 4.5.1 การประเมินผล นายจ้างต้องจัดทาระเบียบปฏิบัติในการประเมินผลการปฏิบัติงาน และมีการประเมินผล การปฏบิ ตั งิ านอยา่ งสมา่ เสมอ โดยใหค้ รอบคลมุ ถงึ 1) เกณฑช์ ี้วดั ผลการปฏบิ ตั งิ านตามแผนงานท้งั เชงิ ปริมาณและคณุ ภาพ 2) การปฏิบัติตามกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ ทางาน 3) ผลการปฏบิ ตั ิตามข้อกาหนดของระบบการจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทางาน 4) สถติ ิการเกิดความสูญเสีย นายจา้ งต้องจดั ทาและเกบ็ บันทึกทเี่ ก่ียวข้อง โดยสถาบันส่งเสริมความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)
หน้า 46 5.1.2 แนวทางการปฏบิ ตั ิ เรมิ่ /จบกระบวนการ กิจกรรม เงือ่ นไข / การตดั สินใจ ความสมั พันธ์และทิศทางของกระบวนการ ลาดับ การปฏบิ ัติ ผรู้ ับผิดชอบ เอกสารที่เกี่ยวข้อง 1 จดั ทาระเบียบปฏบิ ัตกิ ารประเมินผลการปฏบิ ตั ิงาน ผ้แู ทนฝ่ายบริหาร 2 - ผจู้ ัดการฝา่ ย ดาเนินการวัดผลและประเมนิ ผลตามหัวข้อที่ระบุไว้ในแผน - หัวหนา้ งาน 3 - คปอ. - ผู้แทนฝา่ ยบรหิ าร สรปุ การประเมนิ ผลเพอื่ ดาเนินการแก้ไขตอ่ ไป (กรณไี มม่ ี คปอ.) โดยสถาบนั สง่ เสริมความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)
หน้า 47 5.2 การสอบสวนอุบัติเหตุและเหตุการณเ์ กือบเปน็ อบุ ัติเหตุ 5.2.1 ขอ้ กาหนด ทัง้ นี้ใหด้ าเนินการตามมาตรฐานระบบการจัดการความปลอดภยั ฯ (สสปท. 1-4-01-00-2562) ข้อ 4.5.2 4.5.2 การสอบสวนอบุ ัติเหตแุ ละเหตุการณ์เกือบเปน็ อุบตั ิเหตุ นายจ้างต้องจัดทาระเบียบปฏิบัติสาหรับการสอบสวนและวิเคราะห์อุบัติเหตุและเหตุการณ์ เกือบเป็นอบุ ัติเหตุ โดย 1) การสอบสวนดังกล่าว จะต้องดาเนินการโดยผู้ที่เกี่ยวข้องกับอุบัติเหตุท่ีเกิดขึ้น และ ต้องสอบสวนโดยเร็ว 2) มีการนามาตรการปฏิบัติการแก้ไขท่ีได้จากการสอบสวนไปดาเนินการ เพ่ือขจัด สาเหตไุ มใ่ ห้เกิดซา้ 3) ผลของการสอบสวนจะตอ้ งมีการสือ่ สารใหล้ ูกจา้ งในสถานประกอบกิจการทราบ นายจา้ งตอ้ งจดั ทาและเกบ็ บันทกึ ท่เี กยี่ วข้อง โดย สถาบนั ส่งเสรมิ ความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน(องคก์ ารมหาชน)
หน้า 48 5.2.2 แนวทางการปฏิบัติ เรม่ิ /จบกระบวนการ กจิ กรรม เงื่อนไข / การตดั สนิ ใจ ความสัมพนั ธ์และทิศทางของกระบวนการ ลาดบั การปฏบิ ัติ ผู้รบั ผดิ ชอบ เอกสารทเ่ี ก่ียวข้อง 1 ผู้ประสบเหตหุ รอื ผเู้ ห็นเหตุการณแ์ จ้งหวั หน้างาน - ผู้ประสบเหตุ - ผู้เหน็ เหตกุ ารณ์ 2 - หัวหน้างาน แบบรายงานสอบสวนและ - จป.หลัก วิเคราะหฯ์ หวั หนา้ งาน/จป.หลกั เข้าดาเนินการรวบรวมหลักฐาน - หัวหน้างาน แบบรายงานสอบสวนและ 3 - จป.หลัก วิเคราะหฯ์ - ผเู้ ชย่ี วชาญเฉพาะ ดาเนนิ การสอบสวนและวเิ คราะห์ (ถา้ จาเปน็ ) - หัวหนา้ งาน 4 รายงานผลการสอบสวนและวิเคราะห์ตามสายงาน - จป.หลัก บังคับบัญชาและนาเขา้ ทีป่ ระชมุ คปอ. (ถา้ มี) - คปอ. - ผแู้ ทนฝา่ ยบรหิ าร 5 (กรณีไมม่ ี คปอ.) - ผู้ที่ได้รบั มอบหมาย กาหนดผรู้ ับผดิ ชอบในการแก้ไข - จป.หลกั 6 - ผแู้ ทนฝา่ ยบรหิ าร (กรณีไมม่ ี คปอ.) ดาเนินการแกไ้ ข - จป.หลัก 7 - ฝ่ายบคุ คล (กรณีไมม่ ี จป.หลัก) ตรวจสอบการปฏบิ ตั ิ ตามมาตรการแกไ้ ข ไม่ใช่ ใช่ 8 ดาเนินการสอื่ สารผลการแกไ้ ขไปยังผู้ท่ีเกยี่ วข้อง โดย สถาบนั ส่งเสริมความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน(องคก์ ารมหาชน)
หน้า 49 5.2.3 ตวั อยา่ งแบบรายงานการสอบสวนและวิเคราะห์อุบตั ิเหตุ วนั ที่............เดือน....................................พ.ศ................ 1. ผูส้ อบสวนและวิเคราะห์ 1)………………………………………………………3)……………………………………………………. 2)………………………………………………………4)……………………………………………………. 2. รายละเอียดของผ้ปู ระสบอบุ ตั เิ หตุ ชื่อ-สกุล.......................................เลขประจาตัว..................แผนก..........................ตาแหน่ง................ ..... อาย.ุ ............เพศ............อายงุ าน.....................ระดบั การศกึ ษา............................ วันท่เี กดิ เหตุ.............................บริเวณทเี่ กิดเหต.ุ ..........................................เวลาท่ีเกดิ เหตุ....... ............... ประเภทอุบตั ิเหตุ................................งาน/กจิ กรรมทท่ี าขณะเกิดเหต.ุ ................................................. .... ลักษณะการบาดเจ็บ..........................................สว่ นของร่างกายทไี่ ดร้ ับบาดเจ็บ.................................... .. ความรนุ แรง...................................................ค่าใชจ้ า่ ยในการรักษาพยาบาล...................................... ....... ทรัพยส์ ินเสยี หาย........................................................................................................ .............................. 3. รายละเอียดการเกิดอบุ ัตเิ หตุ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 4. ภาพประกอบ โดย สถาบันสง่ เสรมิ ความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน(องค์การมหาชน)
หนา้ 50 5. การวเิ คราะหส์ าเหตกุ ารเกิดอบุ ตั เิ หตุ 5.1 สาเหตใุ นขณะนน้ั 1)………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 2)…………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3)…………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5.2 สาเหตุโดยตรง สภาพท่ีไม่ปลอดภยั 1)………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 2)………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 3)………………………………………………………………………………………………………………………………………….. การกระทาท่ีไม่ปลอดภยั 1)………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 2)………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 3)………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 5.3 สาเหตุพืน้ ฐาน ปจั จัยจากบุคคล 1)………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 2)………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 3)………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 4)………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 5)………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ปจั จัยจากงาน 1)………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 2)………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 3)………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 4)………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 5)………………………………………………………………………………………………………………………………………….. โดย สถาบนั สง่ เสริมความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน(องค์การมหาชน)
หนา้ 51 5.4 สาเหตจุ ากความบกพร่องของการบริหารจดั การ 1)……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2)……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3)……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4)……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 6. มาตรการป้องกันแกไ้ ข ข้อเสนอแนะ ผู้รบั ผดิ ชอบ กาหนดแล้วเสร็จ ผู้ตดิ ตามงาน 7. ความเห็นและข้อเสนอแนะ 7.1 ความเหน็ ของคณะกรรมการความปลอดภัยฯ ............................................................................................................................................................................. . ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ................................................................. วันท.ี่ ............/................/.................... 7.2 ความเห็นของผู้บริหาร ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................................................................................................ .............. ..................................................................................................................... ......................................................... ลงชอ่ื ................................................................. วนั ที่............./................/.................... โดย สถาบนั สง่ เสรมิ ความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน(องคก์ ารมหาชน)
หน้า 52 5.3 การตรวจประเมนิ (Audit) 5.3.1 ข้อกาหนด ทง้ั น้ีให้ดาเนินการตามมาตรฐานระบบการจัดการความปลอดภยั ฯ (สสปท. 1-4-01-00-2562) ข้อ 4.5.3 4.5.3 การตรวจประเมนิ 1) นายจ้างต้องมีการตรวจประเมินระบบการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทางาน เพื่อ - ตรวจสอบว่ามีระบบและองค์ประกอบของระบบการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน มีความเพียงพอ มีการนาไปปฏิบัติอย่างเหมาะสม และสามารถรักษาระบบไว้ได้ - พิจารณาวา่ ระบบการจัดการด้านความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการ ทางาน มีประสทิ ธิผลเปน็ ไปตามนโยบายและวตั ถปุ ระสงค์ของสถานประกอบกิจการ 2) นายจ้างต้องจัดทาระเบียบปฏิบัติในการตรวจประเมิน เพื่อกาหนดความสามารถ ของผตู้ รวจประเมิน ขอบเขต ความถี่ วธิ กี าร และการรายงานผลการตรวจประเมิน 3) ผ้ตู รวจประเมินจะต้องมีความเปน็ กลาง โดยเปน็ อสิ ระจากกิจกรรมทตี่ รวจประเมนิ นายจา้ งตอ้ งจดั ทาและเก็บบนั ทกึ ทเ่ี ก่ียวข้อง โดย สถาบนั ส่งเสรมิ ความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน(องคก์ ารมหาชน)
หน้า 53 5.3.2 แนวทางการปฏิบัติ เร่ิม/จบกระบวนการ กจิ กรรม เงือ่ นไข / การตดั สนิ ใจ ความสัมพันธ์และทศิ ทางของกระบวนการ ลาดับ การปฏิบัติ ผรู้ ับผดิ ชอบ เอกสารท่ีเกยี่ วข้อง - จป.หลกั 1 จดั ทาแผนตรวจประเมนิ ระบบ แผนการตรวจประเมินระบบ - ผู้แทนฝา่ ยบรหิ าร 2 ไม่ใช่ - หวั หน้างาน - จป.หลัก พิจารณา อนุมตั ิ ใช่ 3 - ผูแ้ ทนฝา่ ยบริหาร กาหนดคณะผู้ตรวจประเมินระบบที่ผ่านการอบรม และกาหนดขอบข่ายการตรวจประเมินระบบให้ ครอบคลมุ ทกุ กิจกรรม 4 แต่งต้ังคณะผ้ตู รวจประเมินระบบ - ผบู้ ริหารสูงสุด 5 ดาเนินการตรวจประเมนิ ตามแผนท่ีกาหนดไว้ - ผูต้ รวจประเมนิ ระบบ รายการตรวจประเมิน ระบบ 6 จัดทารายงานผลตรวจประเมนิ ใหก้ ับผ้แู ทนฝ่าย - ผตู้ รวจประเมนิ ระบบ รายงานผลการตรวจ - หัวหน้าผตู้ รวจประเมิน ประเมนิ ระบบ บรหิ าร ระบบ โดย สถาบันสง่ เสริมความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน(องค์การมหาชน)
หน้า 54 การจัดทาแผนตรวจประเมินระบบ การจัดทาแผนตรวจประเมินระบบจะตอ้ งพิจารณาถึงสง่ิ ต่าง ๆ ดังน้ี (1) ต้องมีการตรวจประเมินระบบให้ครบทุกกิจกรรมท่ีอยู่ในขอบข่ายของระบบการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน (2) ความถ่ใี นการตรวจประเมนิ ระบบ ให้พจิ ารณาตามความเหมาะสมสาหรับสถานประกอบกจิ การแต่ละ แห่ง โดยในช่วงแรกจะมีการตรวจประเมินระบบบ่อยคร้ัง แต่เมื่อระบบมีประสิทธิผลแล้วก็สามารถที่ จะลดความถ่ีในการตรวจประเมินระบบลง แต่ทั้งน้ี ไม่ควรจะน้อยกว่าปีละ 2 ครั้ง เพราะถือว่าเป็น ระยะเวลาทห่ี ่างเกินไป นอกจากนจี้ ะต้องพจิ ารณาถึง - กิจกรรมที่มคี วามเสีย่ งสงู จะตอ้ งไดร้ บั การตรวจประเมินระบบมากกว่ากจิ กรรมอืน่ ๆ - ผลการตรวจประเมินระบบในคร้ังท่ีผ่านมา หากพบว่ามีข้อบกพร่องจากการตรวจประเมินระบบมาก กจ็ าเปน็ ทจ่ี ะต้องเพิม่ ความถใ่ี นการตรวจประเมินระบบ (3) รายละเอียดในแผนการตรวจประเมนิ ระบบ ควรจะมรี ายละเอยี ดดงั ตอ่ ไปนี้ - หน่วยงานทีถ่ กู ตรวจ และผู้รบั ผดิ ชอบ - วัน เวลา สถานท่ี และระยะเวลาท่จี ะไปทาการตรวจประเมนิ ระบบในแตล่ ะหน่วยงาน - ข้อกาหนดต่าง ๆ ของระบบการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทางาน ทจี่ ะทาการตรวจประเมินระบบ - รายช่อื คณะผตู้ รวจประเมนิ ระบบ การคดั เลอื กผตู้ รวจประเมินระบบ ผู้ตรวจประเมินระบบ ควรมีคณุ สมบัตทิ ส่ี าคัญดงั น้ี (1) มคี วามรู้และความสามารถในการตรวจประเมินระบบ และผา่ นการฝึกอบรมการตรวจประเมนิ ระบบ (2) มคี วามเป็นอิสระไมข่ ้นึ กบั พน้ื ท่ีทไี่ ดร้ บั มอบหมายในการตรวจ โดยไมต่ รวจในพืน้ ท่ที างานของตนเอง (3) มีความซ่ือตรง ซ่ือสัตย์ กลา้ ระบุสิง่ ทไ่ี มถ่ กู ตอ้ ง หรอื กลา้ เสนอแนะการปฏิบตั ทิ ่ดี ยี ่งิ ข้นึ (4) มคี วามเปน็ ผ้นู า (5) มคี วามสามารถในการสอื่ สาร การตัง้ คาถามท่ีตรงประเดน็ และนาไปสู่ขอ้ มูลสาคัญ (6) เมื่อทาการคัดเลือกผตู้ รวจประเมินระบบแล้ว ให้แตง่ ต้งั หวั หนา้ ผ้ตู รวจประเมินระบบ หนา้ ทข่ี องผ้ตู รวจประเมนิ (1) หนา้ ท่ีของผ้หู วั หน้าผู้ตรวจประเมิน (Lead Auditor) - วางแผนการตรวจประเมนิ ระบบ - เป็นผู้นาในการตรวจประเมินระบบ โดย สถาบนั สง่ เสริมความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน(องคก์ ารมหาชน)
หน้า 55 - รวบรวมข้อมลู เบื้องตน้ ทจี่ าเป็น - ตรวจสอบความสอดคล้องของข้อกาหนดตามระบบ - ตรวจประเมนิ ระบบและรายงานผล - รวบรวมเอกสารทเ่ี กยี่ วขอ้ ง (2) หน้าท่ขี องผตู้ รวจประเมนิ - รวบรวมหลักฐาน เอกสาร และวิเคราะห์ผลการตรวจประเมินระบบ - สรุปรายงานผลการตรวจประเมนิ ระบบ การฝกึ อบรมผู้ตรวจประเมนิ ระบบ สถานประกอบกิจการจะต้องมีการจัดฝึกอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับข้อกาหนดของระบบการจัดการ ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน และหลักการในการตรวจประเมินระบบ ใหก้ บั ผตู้ รวจประเมนิ ระบบ และจะตอ้ งมกี ารประเมินความรู้ ความเข้าใจของผู้เขา้ รบั การฝึกอบรมดว้ ย การตรวจประเมินระบบ (1) จัดให้มีการตรวจประเมินระบบตามแผนท่ีกาหนดไว้ โดยในการตรวจประเมินระบบจะต้องจัดทา กาหนดการตรวจประเมินระบบใหค้ รอบคลุมหวั ขอ้ ต่อไปนี้ - การเปดิ ประชมุ - กาหนดพืน้ ท่ีในการตรวจ คณะผตู้ รวจประเมนิ ระบบแต่ละพนื้ ท่ี และเวลาท่แี น่นอน - การยืนยนั ความถูกตอ้ งของผลการตรวจ - สรุปผลการตรวจประเมนิ - การปิดประชมุ (2) เม่ือคณะผู้ตรวจประเมินระบบได้ทาการตรวจประเมินระบบตามแผนท่ีกาหนดไว้แล้ว จะต้องมีการ จัดทารายงานผลการตรวจประเมนิ ระบบโดยหวั หน้าผูต้ รวจประเมนิ ระบบ ซงึ่ ควรมขี อ้ มลู ดงั นี้ - หนว่ ยงานที่ถกู ตรวจ/ผู้รบั ผิดชอบ - วันที่ทาการตรวจประเมินระบบ - รายช่ือผ้ตู รวจประเมินระบบ - สรปุ ความไมส่ อดคลอ้ งท่พี บ - สรปุ ความเห็นของคณะผูต้ รวจประเมินระบบทเ่ี กี่ยวกับประสิทธิผลของการดาเนนิ งาน และจดั สง่ รายงานผลการตรวจประเมินระบบให้กับหน่วยงานที่ถูกตรวจและผู้แทนฝ่ายบริหารด้าน ความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน โดย สถาบันส่งเสรมิ ความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน(องค์การมหาชน)
หน้า 56 5.3.3 ตวั อยา่ ง 5.3.3.1 ตวั อยา่ งแผนการตรวจประเมินรบั รอง มาตรฐานการตรวจประเมิน: บริษัท อาหารเกษตร จากดั ระบบการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ วันที่ เวลา 11 ธนั วาคม 2561 08.30-08.45 น. ทางาน 08.45-12.00 น. ขอบเขต: โรงงาน 1 13.00-16.00 น. คณะที่ 1 คณะท่ี 2 คณะที่ 3 16.00-16.30 น. เปดิ ประชมุ 16.30-16.45 น. - นโยบายความปลอดภยั ฯ - การควบคมุ การปฏิบตั ิงาน - การปฏิบัตกิ ารแกไ้ ขและ - ความสามารถและการ - การเตรียมความพร้อม การปฏิบตั ิการปอ้ งกัน ฝึกอบรม และการตอบโตภ้ าวะ - การตรวจประเมนิ ระบบ - การชีบ้ ่งอันตรายและ ฉุกเฉนิ ประเมินความเสยี่ ง - วัตถปุ ระสงคแ์ ละแผนงาน - การตรวจติดตามและ - การทบทวนการจดั การ - การส่อื สาร วัดผลการปฏิบตั งิ าน - การดาเนินการ - การจัดทาเอกสาร - การสอบสวนอุบัติการณ์ ปรบั ปรุงอยา่ งตอ่ เนื่อง รวบรวมขอ้ มูลและสรุปผล (โดยคณะผตู้ รวจระบบ) ปิดประชมุ โดย สถาบนั สง่ เสริมความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน(องคก์ ารมหาชน)
5.3.3.2 ตวั อยา่ งแบบรายงานการตรวจประเมนิ ระบบ ขนั้ ตอน/วิธกี ารปฏบิ ตั งิ าน: รายการการตรวจประเมิน (Checkl รหสั เอกสาร: หน่วยงานทร่ี ับการตร รายการทต่ี รวจประเมนิ ระบบ ชอื่ ตวั แทนหนว่ ยงาน: หลักฐานทีใ่ ช้อ้างอิง หมายเหตุ: C = CONFORMANCE (สอดคลอ้ ง ) PAR = PREVENTIVE ACTION REQUEST (ขอใหม้ ีการปฏบิ ตั กิ ารป้องกัน) โดยสถาบันส่งเสรมิ ความปลอดภยั อาชวี อนามยั
หน้า 57 list) หนา้ /. รวจประเมนิ ระบบ: วัน/เดอื น/ปี ท่ีตรวจประเมินระบบ: : ผตู้ รวจประเมิน: รายละเอียดการตรวจประเมินระบบทพ่ี บ/หลักฐาน C NC PAR OBS NC = NON-CONFORMANCE (ไมส่ อดคลอ้ ง) OBS = OBSERVATION (ขอ้ สงั เกต) ย และสภาพแวดล้อมในการทางาน(องค์การมหาชน)
หนา้ 58 5.3.3.3 ตวั อยา่ งแบบรายงานผลการตรวจประเมนิ ระบบ รายงานการตรวจประเมนิ ระบบ หมายเลข ……….. เรียน ………………………………………………………………… ส่วนที่ 1 ข้อมูลทว่ั ไปสาหรบั การตรวจประเมินระบบ (1) การดาเนนิ การตรวจประเมนิ ระบบครั้งน้ี เปน็ การตรวจประเมนิ ระบบครัง้ ที่ ….....ตามแผน เปน็ การตรวจประเมินระบบพิเศษครงั้ ท่ี ………. (2) วัตถปุ ระสงค์การตรวจประเมนิ ระบบ.......................................................................................................... (3) ขอบเขตการตรวจประเมินระบบ ................................................................................................................. (4) หัวขอ้ การตรวจประเมินระบบ ..................................................................................................................... (5) ข้นั ตอน/วิธกี ารปฏิบัติงานหรือเอกสารอ่ืนๆที่ใช้ในการตรวประเมนิ ระบบ................................................... (6) หน่วยงานที่รบั การตรวจประเมินระบบ ....................................................................................................... (7) ชือ่ ผู้แทนของหน่วยงานทีร่ บั การตรวจประเมนิ ระบบ .................................... ตาแหน่ง .............................. (8) วันท่ีทาการตรวจประเมินระบบ .................................... ชว่ งเวลาที่ตรวจประเมินระบบ ............................. (9) ชื่อหัวหนา้ ผู้ตรวจประเมินระบบ ...................................................................... ตาแหน่ง ............................. (10) ช่อื ผู้รว่ มตรวจประเมินระบบประกอบด้วย .................................................................................................. ส่วนที่ 2 สรปุ ผลการตรวจประเมินระบบ (1) ผลการตรวจประเมนิ ระบบครง้ั นี้ พบว่า ไม่พบการไมเ่ ป็นไปตามข้อกาหนด พบการไมเ่ ปน็ ไปตามขอ้ กาหนด จานวน ..... รายการ (ตามใบคาขอให้ปฏบิ ตั กิ ารปอ้ งกัน/แก้ไขทแ่ี นบมา) พบแนวโน้มการไม่เปน็ ไปตามขอ้ กาหนด จานวน ..... รายการ (ตามใบคาขอใหป้ ฏิบัตกิ ารปอ้ งกัน/แกไ้ ขทีแ่ นบมา) พบข้อสงั เกต (Observation) จานวนรายการ (รายละเอยี ดตามใบคาขอใหป้ ฏบิ ตั กิ ารปอ้ งกนั /แกไ้ ขที่แนบมา) (2) เอกสารประกอบการรายงานผลการตรวจประเมนิ ระบบ แบบรายการการตรวจประเมนิ ท่ีใช้ (Checklist) จานวน ....... แผ่น ใบคาขอให้ปฏบิ ัติการป้องกัน/แก้ไขทพ่ี บจากขอ้ 1 จานวน ....... รายงาน เอกสารอนื่ ๆ (ถา้ ม)ี ....................................................................................................................... หัวหนา้ ผู้ตรวจประเมินระบบ () วันท่ี / / โดยสถาบนั สง่ เสริมความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน(องคก์ ารมหาชน)
หนา้ 59 5.4 การทบทวนการจดั การ (Management Review) 5.4.1 ขอ้ กาหนด ทง้ั น้ใี ห้ดาเนินการตามมาตรฐานระบบการจัดการความปลอดภัย ฯ (สสปท. 1-4-01-00-2562) ข้อ 4.5 4.5.4 การทบทวนการจัดการ นายจ้างต้องทบทวนระบบการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทางานตามชว่ งเวลาทกี่ าหนดไว้ ข้อมูลสาหรับการทบทวนการจัดการตอ้ งรวมถงึ 1) นโยบายด้านความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน 2) การบรรลวุ ตั ถปุ ระสงคด์ ้านความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน 3) ข้อเสนอแนะ ขอ้ รอ้ งเรยี นด้านความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน 4) การดาเนินการแก้ไขและการดาเนนิ การป้องกันเป็นไปตามผลการสอบสวนอุบัติเหตุและ เหตกุ ารณ์เกอื บเป็นอบุ ตั เิ หตุ 5) ผลการตรวจประเมิน 6) การปฏิบตั ติ ามกฎหมายและผลการปฏบิ ตั ิ 7) การตดิ ตามผลการประชุมครั้งทผี่ ่านมา 8) การเปล่ียนแปลงทั้งภายในและภายนอกทีม่ ผี ลกระทบต่อการจัดทาระบบ นายจ้างตอ้ งจัดทาและเก็บบนั ทึกที่เกี่ยวข้อง โดยสถาบนั ส่งเสริมความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน(องค์การมหาชน)
หนา้ 60 5.4.2 แนวทางการปฏบิ ัติ เรม่ิ /จบกระบวนการ กจิ กรรม เง่ือนไข / การตดั สินใจ ความสมั พันธแ์ ละทิศทางของกระบวนการ ลาดบั การปฏิบัติ ผู้รบั ผดิ ชอบ เอกสารทเ่ี กย่ี วขอ้ ง 1 จดั ทาแผนในการทบทวนการจัดการ - คณะทางานจัดทาระบบฯ 2 ไม่ใช่ - ผู้บรหิ ารสงู สดุ พิจารณา อนมุ ัติ ใช่ 3 - จป. หลกั - ผู้แทนฝา่ ยบรหิ าร รวบรวมข้อมลู เพอื่ ทาการทบทวนการจดั การ 4 - ผู้บริหารสูงสดุ ทาการประชมุ ทบทวนการจดั การ - ผู้บริหารทุกฝ่าย - คณะทางานจัดทาระบบฯ 5 - ผบู้ รหิ ารสงู สดุ นาผลการทบทวนการจัดการไปดาเนนิ การ 6 บันทึกผลการประชมุ ทบทวนการจดั การ - จป. หลัก แบบบนั ทกึ รายงานการ - ผแู้ ทนฝา่ ยบรหิ าร ประชุมทบทวนการจดั การ 7 ส่อื สารผลการทบทวนการจดั การ - จป. หลกั - ผู้แทนฝา่ ยบรหิ าร ไปยังลูกจ้างทเี่ ก่ยี วข้อง โดยสถาบันส่งเสรมิ ความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน(องคก์ ารมหาชน)
หนา้ 61 5.4.3 ตัวอย่างระเบยี บวาระการประชุมทบทวนการจดั การ ระเบียบวาระการประชุมทบทวนระบบการจัดการดา้ นความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทางาน ระเบียบวาระท่ี 1 เรอ่ื งที่ประธานแจ้งใหท้ ี่ประชุมทราบ ระเบียบวาระท่ี 2 รบั รองรายงานการประชุม ระเบียบวาระท่ี 3 เรื่องแจง้ เพอื่ ทราบ ระเบยี บวาระที่ 4 เร่อื งสืบเน่ือง ระเบียบวาระที่ 5 เรือ่ งเพือ่ พิจารณา ระเบยี บวาระท่ี 6 เรื่องอ่นื ๆ (ถ้ามี) โดยสถาบนั สง่ เสรมิ ความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน(องค์การมหาชน)
หน้า 62 บทท่ี 6 การดาเนินการปรบั ปรุง ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน 6.1 การดาเนินการปรับปรงุ ด้านความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน 6.1.1 ข้อกาหนด ท้ังน้ีใหด้ าเนินการตามมาตรฐานระบบการจัดการความปลอดภัย ฯ (สสปท. 1-4-01-00-2562) ข้อ 4.6 4.6 การดาเนนิ การปรับปรงุ ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน 4.6.1 การแก้ไข การดาเนินการแก้ไขและการป้องกัน นายจ้างต้องจัดทาระเบียบปฏบิ ัติสาหรับการแก้ไข การดาเนินการแก้ไขข้อบกพร่องท่ีเกิดข้ึน และการดาเนนิ การป้องกนั แนวโน้มความบกพร่องที่อาจจะเกิดขึ้น โดยครอบคลุมถึง 1) การแกไ้ ขขอ้ บกพร่องทีพ่ บ 2) วิเคราะห์สาเหตุของข้อบกพร่องที่ทาให้ไม่เป็นไปตามข้อกาหนด และดาเนินการปรับปรุง แก้ไขเพ่อื หลีกเลยี่ งการเกิดซ้า 3) ทบทวนประสิทธผิ ลในการดาเนนิ การแก้ไขและการดาเนนิ การป้องกัน 4) ส่ือสารผลการดาเนินการแกไ้ ขและการดาเนนิ การป้องกัน นายจา้ งตอ้ งจดั ทาและเก็บบนั ทึกทเ่ี กี่ยวข้อง 4.6.2 การกาหนดระยะเวลาในการปรับปรุงและพัฒนาระบบการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน 1) นายจ้างต้องนาผลท่ีได้จากการทบทวนการจัดการ ไปดาเนินการปรับปรุงระบบ การจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานอย่างน้อย ปีละ 1 คร้งั 2) นายจา้ งตอ้ งนาผลการทบทวนการจัดการไปสื่อสารให้กับลูกจา้ งทเี่ กีย่ วขอ้ ง นายจา้ งตอ้ งจดั ทาและเก็บบันทกึ ที่เกย่ี วข้อง โดยสถาบันส่งเสริมความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน(องคก์ ารมหาชน)
หนา้ 63 6.1.2 แนวทางการปฏบิ ตั ิ เรม่ิ /จบกระบวนการ กจิ กรรม เงื่อนไข / การตดั สินใจ ความสมั พนั ธแ์ ละทศิ ทางของกระบวนการ ลาดบั การปฏบิ ตั ิ ผ้รู บั ผดิ ชอบ เอกสารทีเ่ ก่ียวขอ้ ง - จป. หลัก 1 ผูพ้ บความไม่สอดคลอ้ งตามขอ้ กาหนดจากการตรวจ - ผู้แทนฝ่ายบริหาร ประเมนิ การเฝ้าระวงั และวัดผลการปฏบิ ตั งิ าน หรอื ขอ้ เสนอแนะ แจ้งไปยงั ผ้รู ับผดิ ชอบ 2 - จป. หลกั - แบบรายงานความ - ผแู้ ทนฝา่ ยบรหิ าร ไมส่ อดคลอ้ งตามขอ้ กาหนด ตรวจสอบความไมส่ อดคลอ้ งตามขอ้ กาหนดและบันทึก - แบบทะเบียนความ ในทะเบยี นความไม่สอดคล้อง ไมส่ อดคลอ้ งตามข้อกาหนด 3 - ผจู้ ัดการฝ่ายหวั หน้างาน หนว่ ยงานทไี่ มส่ อดคล้องจัดทารายงานระบสุ าเหตุ แนวทางการแกไ้ ข วนั ทแี่ กไ้ ขเสร็จ และการปอ้ งกัน การเกิดซา้ และสง่ รายงานไปยงั ผแู้ ทนฝ่ายบริหาร 4 ผูแ้ ทนฝา่ ยบรหิ าร กาหนดผู้รบั ผิดชอบ - จป. หลกั - ผู้แทนฝา่ ยบรหิ าร แก้ไขและวันทแี่ ลว้ เสรจ็ 5 ผู้รับผดิ ชอบแก้ไขดาเนินการแกไ้ ขและ - ผ้จู ัดการฝา่ ยหัวหนา้ งาน ป้องกนั ความไมส่ อดคล้องตามขอ้ กาหนด 6 - จป. หลัก - ผู้แทนฝ่ายบรหิ าร ไม่ใช่ ตรวจติดตามการ แกไ้ ขและปอ้ งกนั 7 - จป. หลกั - ผแู้ ทนฝ่ายบรหิ าร ปดิ ใบรายงานความไมส่ อดคลอ้ งตามข้อกาหนด โดยสถาบันส่งเสรมิ ความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน(องค์การมหาชน)
หน้า 64 6.1.3 ตวั อยา่ ง 6.1.3.1 ตวั อยา่ งแบบรายงานความไม่สอดคล้องตามข้อกาหนด ้ขอบกพร่อง แบบรายงานความไม่สอดคล้องตามขอ้ กาหนด หน่วยงาน/สถานท/่ี กิจกรรมท่ไี ม่เปน็ ไปตามขอ้ กาหนด ตรวจสอบพบถังดบั เพลิงคาร์บอนไดออกไซด์ จานวน 2 ถัง หมายเลข F-004 และ F-021 ท่บี ริเวณ อาคารคลงั พสั ดุ ไม่มีการลงผลการตรวจสอบท่ปี า้ ยแสดงผลการตรวจสอบท่ีติดอยู่กับถงั ดับเพลิงทั้ง 2 ถัง ในเดือนเมษายน 2561 และเดือนพฤษภาคม 2561 ที่ผ่านมา ซึ่งในระเบียบปฏิบัติงานเรื่อง “การตรวจสอบอุปกรณ์ตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน” (P-007) ข้อ 4.4.2 ระบุให้เจ้าหน้าที่ความปลอดภัย ในการทางานระดบั วชิ าชพี ตรวจสอบถงั ดบั เพลงิ คาร์บอนไดออกไซด์เดือนละ 1 คร้ัง ผตู้ รวจพบ : นายจักรพันธ์ บุญยืน วนั ที่พบ : 25 มิถุนายน 2561 การแก้ไขและ ้ปอง ักน สาเหตุ : เน่ืองจากมีการย้ายพนักงานที่ทาหน้าท่ีในการตรวจสอบถังดับเพลิงไปทางานยังแผนกอ่ืน และไมม่ ีการมอบหมายให้พนักงานคนอืน่ ทาหนา้ ท่ีในการตรวจสอบแทน การแก้ไข : ตรวจสอบถังดับเพลิงในบริเวณอาคารคลังพัสดุให้ครบถ้วน และลงบันทึกในป้าย แสดงผลการตรวจสอบ วนั ทแี่ กไ้ ขเสรจ็ : 30 มิถุนายน 2561 การปอ้ งกัน : มอบหมายใหห้ ัวหน้างานทาการตรวจสอบว่ามีการตรวจสอบถังดับเพลงิ เปน็ ประจา ตามแผนทีก่ าหนดไว้ ผรู้ บั ผดิ ชอบ : นายสัญญา แสนดี การ ิตดตามผล ดาเนนิ การแก้ไขและปอ้ งกนั แลว้ เสรจ็ ดาเนนิ การแก้ไขและป้องกนั ไมส่ มบรู ณ์ ( ) รอการตรวจสอบอีกครั้ง เมอื่ ………………………………………………………….. ( ) ออกแบบรายงานความไม่สอดคลอ้ งตามขอ้ กาหนดใหม่……………………………... ผู้ตรวจ: นายนพิ ล คุณอนันต์ วันท่ี 30 มิถนุ ายน 2561 โดยสถาบนั สง่ เสริมความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน(องคก์ ารมหาชน)
6.1.3.2 ตัวอย่างแบบทะเบียนความไมส่ อดคล้องตามข้อกาหนด แบบทะเบียนความไม เลขที่ ปัญหาท่พี บ การดาเนนิ การ ผตู้ รวจสอบ หนว่ โดยสถาบันส่งเสริมความปลอดภยั อาชวี อนามยั แ
หนา้ 65 มส่ อดคลอ้ งตามขอ้ กาหนด วนั ตรวจตดิ ตาม สถานะ หมายเหตุ วยงานที่รับผดิ ชอบ กาหนดเสร็จ ปดิ ไม่ปดิ และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน(องค์การมหาชน)
หนา้ 66 บรรณานกุ รม สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน). คู่มือระบบ มาตรฐานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน สาหรับสถานประกอบ กิจการขนาดกลางและขนาดเล็ก โดยสถาบนั สง่ เสรมิ ความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องค์การมหาชน)
หน้า 71 โดยสถาบนั สง่ เสรมิ ความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องค์การมหาชน)
Search