ประวตั ิความเป็นมาของโขนตวั อยา่ งการแสดงโขน โขน : นาฏยศิลป์ ถนิ่ สยาม องค์ประกอบในการแสดง โขน ลาดบั ข้นั ตอนในการแสดง โขน
ประเภทของการแสดง รูปศัพท์ของคาว่า โขน โขน ประวตั ิความเป็นมาของโขนทม่ี าและประวตั คิ วาม ความหมายของโขน เป็ นมาของโขน
รูปศัพท์ของคาว่า โขนโขน ในภาษาเบงกาลี ซ่ึงมีคาวา่ โขละ หรือ โขล ซ่ึงเป็นชื่อของเครื่องดนตรีประเภทหนงั ชนิดหน่ึงของฮินดู โดยตวั รูปร่างคลา้ ย มฤทงั คะ ( ตะโพน )โขน ในภาษาทมิฬ เร่ิมจากคาวา่ โขล มีคาเพยี งใกลเ้ คียงกบั โกล หรือ โกลมั ในภาษาทมิฬ ซ่ึงหมายถึงเพศ การแต่งตวัโขน ในภาษาอหิ ร่าน มาจากคาวา่ “ ษรู ัต ควาน ” (Surat khwan) ซ่ึงษรู ัตแปลวา่ ตุก๊ ตาหรือหุ่น ซ่ึงผอู้ ่านหรือผขู้ บั ร้องแทนตุก๊ ตาหรือหุ่นเรียกวา่ “ ควาน ” หรือโขน (Khon)โขน ในภาษาเขมร ในพจนานุกรมภาษาเขมร มีคาวา่ “ ละคร ” แต่เขียนเป็นอกั ษรวา่ “ ละโขน ” ซ่ึงหมายถึง มหรสพอยา่ งหน่ึงเล่นเรื่องต่างๆ
ตามพจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ ท่ีใชก้ นั ในปัจจุบนั พบวา่โขน หมายถึง การเล่นอยา่ งหน่ึงคลา้ ยละครรา แต่เล่นเฉพาะในเร่ืองรามเกียรต์ิ โดยผแู้ สดงสวมหวั จาลอง ต่างๆ ท่ีเรียกวา่ หวั โขน
ความหมายของโขนโขน หมายถึง การแสดงอีกอยา่ งหน่ึงที่ใชท้ ่ารา และแสดงเป็นเร่ืองราวโดยลาดบั วธิ ีการทุกอยา่ งเหมือนละคร การแสดงที่ใชท้ ่าราตามแบบละครใน แต่เพิ่มท่าราท่ีมีตวั แสดงแปลกออกไปกบัเปล่ียนทานองเพลงที่ดาเนินเร่ืองไม่ใหเ้ หมือนละคร ลกั ษณะสาคญั อยทู่ ่ีผแู้ สดงตอ้ งสวมหวั โขนหมดทุกตวั ยกเวน้ ตวั นาง พระ และเทวดา
ที่มาและประวตั ิความ เป็ นมาของโขนโขนท่ีมาจาก กระบ่ีกระบอง โขนที่มาจากการแสดง หนงั ใหญ่ โขนที่มาจากการเล่น ชกั นาคดึกดาบรรพ์
ประเภทของการแสดง โขนโขนกลางแปลง โขนกลางแปลงเป็นการเล่นโขนกลางแจง้ ไม่มีการสร้างโรงแสดง ใชภ้ ูมิประเทศและธรรมชาติเป็นฉากในการแสดง ผแู้ สดงท้งั หมดรวมท้งั ตวั พระตอ้ งสวมหวั โขน นิยมแสดงตอนยกทพั รบ
โขนน่ังราวหรือเรียกอกี อย่างว่าโขนโรงนอกวิวฒั นาการมาจากโขนกลางแปลง เป็นโขนที่แสดงบนโรงที่ปลูกสร้างข้ึนสาหรับแสดง ตวั โรงมกั มีหลงั คาคุม้ กนั แสงแดดและสายฝนนง่ั มีราวทาจากไมไ้ ผว่ างพาดตามส่วนยาวของโรงเท่าน้นั
โขนโรงในโขนโรงในเป็นโขนที่นาศิลปะการแสดงของละครใน เขา้ มาผสมผสานระหวา่ งโขนกบั ละครใน
โขนหน้าจอโขนหนา้ จอเป็นโขนที่แสดงหนา้ จอหนงั ใหญ่ซ่ึงใชส้ าหรับแสดงหนงั ใหญ่หรือหนงั ตะลุง โดยผแู้ สดงโขนออกมาแสดง สลบั กบั การเชิดตวั หนงั ที่ฉลุแกะสลกั เป็นตวั ละครในเร่ืองรามเกียรต์ิอยา่ งสวยงามวจิ ิตรบรรจง
โขนฉากโขนฉากเป็นการแสดงโขนท่ีถือกาเนิดข้ึนคร้ังแรก ในสมยั ของพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วัรัชกาลที่ ๕ โปรดใหม้ ีการจดั ฉากในการแสแบบละครดึกดาบรรพป์ ระกอบตามทอ้ งเร่ือง แบ่งเป็นฉากเป็นองก์ เขา้ กบั เหตุการณ์และสถานที่ จึงเรียกวา่ โดงขนฉาก
๑.หัวโขน ๒.การแต่งกายในการแสดง ๓.การคดั เลือกตวั ละครในการแสดงประกอบทอี่ ยู่ โขน การแสดงโขน ในบทโขน องค์ประกอบในการแสดง ๔.ภาษาโขน โขน๙.การบวงสรวง ๕.ลกั ษณะบทโขน๘.ประเพณไี หว้ครูและความ เช่ือ๗.เพลงทใ่ี ช้ประกอบการ ๖.วงดนตรีประกอบการ แสดงโขน แสดงโขน
๑.หัวโขนเป็นงานประติมากรรมสาคญั ที่สุดในการแสดงโขนเรื่องรามเกียรต์ิ เพราะวา่ เรื่องรามเกียรต์ิเป็นเรื่องท่ีมีตวั ละครมาก จึงมีการคิดประดิษฐเ์ ครื่องแต่งกายต่างๆ หวั โขนจะประกอบไปดว้ ยส่วนยอด ซ่ึงบอกสถานภาพตวั ละคร ส่วนสีและลกั ษณะบนใบหนา้ จะบ่งบอกวา่ เป็นตวั ละครใด ๑. หวั โขนที่เป็นเทพ ๒. หวั โขนที่เป็น มนุษย์ ๓. หวั โขนท่ีเป็นยกั ษ์ ๔. หวั โขนที่เป็นสตั ว์
๒.การแต่งกายในการแสดง โขนเคร่ืองแต่งกายสาหรับใชใ้ นการแสดงโขน ใชก้ ารแต่งกายแบบยนื เครื่อง ซ่ึงเป็นการแต่งกายจาลองเลียนแบบจากเคร่ืองทรงตน้ ของพระมหากษตั ริยแ์ บบโบราณที่มีความสวยงามวิจิตรตระการตา แบ่งออกเป็น ๓ ส่วน
๒.๑ ศิราภรณ์ ศิราภรณ์หรือเคร่ืองประดบั มาจากคาวา่ \"ศีรษะ\" และ \"อาภรณ์\" หมายความถึงเครื่องประดบั สาหรับใชส้ วมใส่ศีรษะเช่น ชฎามงกฎุ
๒.๒ พสั ตราภรณ์ พสั ตราภรณ์หรือเส้ือผา้ เคร่ืองนุ่งห่มเช่น เส้ือหรือฉลององค์
๒.๓ ถนิมพมิ พาภรณ์ ถนิมพมิ พาภรณ์หรือเคร่ืองประดบั ต่าง ๆ ตามแต่ฐานะของตวั ละคร คาวา่ ถนิมพมิ พาภรณ์ มาจากคาวา่ \"พิมพา\" และ \"อาภรณ์\" หมายถึงเครื่องประดบั ตกแต่งตามร่างกาย
เคร่ืองแต่งกายตวั พระ
เคร่ืองแต่งกายตวั นาง
เคร่ืองแต่งกายตวั ยกั ษ์
เคร่ืองแต่งกายตวั ลิง
๓.การคดั เลือกตัวละครใน การแสดงโขนตวั พระ การคดั เลือกตวั พระสาหรับการแสดง จะคดั เลือกผทู้ ่ีลกั ษณะใบหนา้ รูปไข่ สวยงาม คมคายเด่นสะดุดตา ท่าทางสะโอดสะองและผ่งึ ผาย ลาคอระหง ไหล่ลาดตรง ช่วงอกใหญ่ ขนาดลาตวัเรียว เอวเลก็ กิ่วคอดตามลกั ษณะชายงามในวรรณคดีไทยตวั นาง กษตั ริยแ์ ละนางตลาด ซ่ึงนางกษตั ริยจ์ ะคดั เลือกจากผทู้ ่ีมีรูปร่างลกั ษณะคลา้ ยกบั ตวั พระ สวมมงกฏุ หอ้ ยดอกไมเ้ พชรดา้ นซา้ ย กิริยามารยาทเรียบร้อย สุภาพ นุ่มนวลอ่อนหวานตามลกั ษณะหญิงงามในวรรณคดี
ตัวยกั ษ์การคดั เลือกตวั ยกั ษส์ าหรับการแสดง จะคดั เลือกผทู้ ่ีมีลกั ษณะคลา้ ยกบั ตวั พระ รูปร่างสูงใหญ่ วงเหล่ียมของผแู้ สดงเป็นตวั ยกั ษต์ ลอดจนถึงการทรงตวั ตอ้ งดูแขง็ แรง กิริยาท่าทางการเย้อื งยา่ งแลดูสง่างามตวั ลงิการคดั เลือกตวั ลิงสาหรับการแสดง จะคดั เลือกผทู้ ่ีมีลกั ษณะท่าทางไม่สูงมากนกั กิริยาท่าทางคล่องแคล่ววอ่ งไวตามแบบฉบบั ของลิง มีการดดั โครงสร้างของร่างกายใหอ้ ่อน ซ่ึงลีลาท่าทางของตวั ลิงน้นั จะไม่อยนู่ ิ่งกบั ท่ี ตีลงั กาลุกล้ีลุกลนตามธรรมชาติของลิง
๔.ภาษาโขน ผแู้ สดงโขนไม่สามารถสื่อสารออกมาดว้ ยน้าเสียงได้ จึงใชท้ ่าทางและอวยั วะต่าง ๆ ของร่างกายเช่น ลาตวั มือ แขน ขา เทา้ ไหล่ คอ ใบหนา้ และศีรษะ ประกอบอากปั กิริยาแทน ทาใหส้ ามารถสื่อสารภาษาและรู้ถึงความหมายน้นั ๆ ได้
๕.ลกั ษณะบทโขนบทร้องเป็นการร้องกลอนบทละคร ใชส้ าหรับแสดงโขนโรงในและโขนฉากเท่าน้นัการพากย์ใชก้ าพยย์ านีและกาพยฉ์ บงั เมื่อพากยจ์ บหน่ึงบท ปี่ พาทยจ์ ะตีตะโพนทา้ และตีกลองทดั ต่อจากตะโพนสองที ผแู้ สดงภายในโรงจะร้องรับวา่ \"เพย้ \" พร้อม ๆ กนับทเจรจาแตกต่างจากบทร้องและบทพากยต์ รงที่เป็นบทกวแี บบร่ายยาว มีการส่งและรับคาสมั ผสั อยา่ งต่อเนื่อง ใชถ้ อ้ ยคาสละสลวย คลอ้ งจอง มีสมั ผสั นอกสมั ผสั ใน บทเจรจาในการแสดงโขนเป็นบทท่ีคิดข้ึนในขณะแสดง
๖.วงดนตรีประกอบการ แสดงโขนวงดนตรีท่ีใชป้ ระกอบการแสดงโขน ไดแ้ ก่ วงปี่ พาทย์ (บางทีกเ็ รียก \"พณิ พาทย\"์ ) ซึงประกอบไปดว้ ย ป่ีระนาด ฆอ้ ง กลอง ตะโพน ๗.เพลงที่ใช้ประกอบการ แสดงโขนในการแสดงโขนจะใช้เพลงหน้าพาทย์ในการแสดงซงึ่ แบง่ เป็นหน้าพาทย์ชนั้ สงู และหน้าพาทย์ทว่ั ไป
๘.ประเพณไี หว้ครูและความ เชื่อ ในพธิ ีไหวค้ รูจะมีการนาหวั โขนหรือศีรษะครู ที่เป็นเสมือนตวั แทนของครูแต่ละองคม์ าต้งั ประกอบในพิธีการจดั ต้งั หวั โขนต่าง ๆโดยที ้งั เศียรครูเทพ ครูที่เป็นมนุษย์ รวมไปถึงครูผลู้ ่วงลบั ไป แลว้ เพ่อื แสดงความเคารพ
๙.การบวงสรวงในการปลูกโรงโขนสาหรับใชแ้ สดง ก่อนเริ่มก่อสร้างตอ้ งมีการทาพธิ ีบวงสรวงเซ่นไหว้ ขอขมาลาโทษในสิ่งต่าง ๆ ท่ีเคยล่วงเกิน และขออนุญาตบอกกล่าวแก่เจา้ ที่เจา้ ทางใหร้ ับทราบ เพอื่ เป็นการเปิ ดทางใหแ้ ก่ผแู้ สดง ช่วยใหท้ าการแสดงไดอ้ ยา่ งราบรื่นไม่ติดขดั
๑.เตรียมเครื่องบวงสรวง๘.ขอขมาลาโทษกนั ระหวา่ งผู้ แสดง ๒.แต่งตวั๗.ลาโรง ลาดบั ข้นั ในการแสดงโขน ๓.บวงสรวงก่อนการแสดง๖.เร่ิมแสดงโขน ๕.การแสดงเบิกโรง ๔.เร่ิมโหมโรง
ตวั อย่างการแสดงโขน โขนรามเกียรต์ิ ตอนศึกพรหมาศ
โขนรามเกียรต์ิตอนนางลอย
โขนรามเกียรต์ ิตอนศึกไมยราพณ์
โขนรามเกียรต์ ิตอน ทา้ วมาลีวราชวา่ ความ
การแสดงประกอบทอ่ี ยู่ในบท โขนระบาบันเทิงกาสรเป็นระบาชุดในการแสดงโขนเร่ือง รามเกียรต์ิ ตอนพาลีสอนนอ้ ง ครูมนตรี ตราโมทเป็นผแู้ ต่งทานองเพลง ความหมายแสดงถึงความเบิกบานสาราญใจของทรพา และบริวารกาสร ซ่ึงออกมาโลดเล่นเตน้ตามช้นั เชิงลีลาของนาฏศิลป์ คุณหญิงแผว้ สนิทวงศเ์ สนีเป็นผปู้ ระดิษฐท์ ่ารา
จดั ทาโดยนางสาวพรพริ ุฬห์ จานงสตั ย์ รหสั นกั ศึกษา ๕๗๑๐๑๑๑๒๑๙๐๐๔นายสุขสนั ต์ นะราพงษ์ รหสั นกั ศึกษา ๕๗๑๐๑๑๑๒๑๙๐๐๕นางสาวธนาพร เพชรวศิ ิษฐ รหสั นกั ศึกษา ๕๗๑๐๑๑๑๒๑๙๐๐๖นายพชิ ญช์ ากร กมุ มารสิทธ์ิ รหสั นกั ศึกษา ๕๗๑๐๑๑๑๒๑๙๐๐๗นางสาววลิ ยั พร พณิ พงษ์ รหสั นกั ศึกษา ๕๗๑๐๑๑๑๒๑๙๐๐๙นางสาวกนั ยา วนั ทอง รหสั นกั ศึกษา ๕๗๑๐๑๑๑๒๑๙๐๑๐นางสาวหงส์เหม ขอบกระโทก รหสั นกั ศึกษา ๕๗๑๐๑๑๑๒๑๙๐๑๒นางสาวเจนจิรา สมานราษฎร์ รหสั นกั ศึกษา ๕๗๑๐๑๑๑๒๑๙๐๑๔นางสาวอรณี บาลีสี รหสั นกั ศึกษา ๕๗๑๐๑๑๑๒๑๙๐๑๘นางสาวองั คณา ชื่นมีศรี รหสั นกั ศึกษา ๕๗๑๐๑๑๑๒๑๙๐๒๐นายบญั ชา วอทอง รหสั นกั ศึกษา ๕๗๑๐๑๑๑๒๑๙๐๒๙ นกั ศึกษาสาขาวชิ านาฏศิลป์ ไทย วทิ ยาลยั การฝึกหดั ครู เสนอ อาจารยย์ ทุ ธพงษ์ ตน้ ประดู่
สวสั ดี
Search
Read the Text Version
- 1 - 37
Pages: