สว่ นประกอบของคู่มือปฏิบตั ิการ ๑. เนอื้ หาเคมีอินทรีย์เบือ้ งต้น ๒. เนอื้ หาตวั ทาละลายและการละลายของสาร ๓. เนือ้ หาพอลิเมอร์และพลาสติก ๔. เนอื้ หาผลกระทบของการใชผ้ ลิตภัณฑ์พอลิเมอร์ ๕. เนือ้ หาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ๖. ปฏิบัติการที่ ๑ สารลดแรงตึงผวิ surfactant ๗. ปฏิบัติการที่ ๒ การสกัดเบ้ืองต้น โดยตวั ทาละลาย ๘. ปฏิบัติการที่ ๓ พลาสติกในชวี ิตประจาวนั ๙. ปฏิบัติการที่ ๔ การหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ๑๐. ปฏิบัติการที่ ๕ ปจั จยั ทีม่ ีผลต่ออตั ราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ๑๑. เนื้อหา ปฏกิ ิริยารดี อกซ์และไฟฟา้ เคมีอยา่ งง่าย ๑๒. เน้อื หา การรู้เท่าทันสื่อและการสืบค้นข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ ๑๓. เนอ้ื หา การอ้างอิงความรทู้ างวทิ ยาศาสตร์ ๑๔. แบบฝกึ หัด การเขียนสตู รโครงสร้างไฮโดรคารบ์ อน ๑๕. กิจกรรมที่ 1 กระบวนการผลติ ยางพารา ๑๖. กิจกรรมที่ ๒ ผลกระทบจากผลติ ภณั ฑ์พอลเิ มอร์ในประเทศ ๑๗. กิจกรรมที่ 3 การสืบค้นและอ้างอิงทางวทิ ยาศาตร์ ๑๘. กิจกรรมที่ 4 การสบื คน้ ขอ้ มูลทางพฤกษศาสตร์
1. แรงยึดเหนย่ี วระหว่างโมเลกลุ สารประกอบไฮโดรคาร์บอนทุกชนิด จะประกอบด้วยธาตุ C และ H พันธะทีเ่ กิดจาก C กับ C จะ เปน็ พนั ธะเดีย่ ว (C - C), พันธะคู่ (C= C) หรือพันธะสาม (C = C) มีผลต่างของตวั อิเล็กโทรเนกาตีวิตเี ปน็ ศูนย์ จึงเป็นพันธะไม่มีข้ัวและพนั ธะที่ เกิดจาก C กบั H มีผลต่างของค่าอิเลก็ โทรเนกาติวิตีมีค่าน้อยมาก จึงถือวา่ เป็นพันธะไม่มีขั้ว ดงั น้ันสารประกอบไฮโดรคาร์บอนทุกชนิด จดั เปน็ โมเลกลุ ไม่มีข้ัวแรงยึดเหนย่ี ว ระหว่างโมเลกลุ ของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนเป็นแรงแวนเดอร์วาลส์ โมเลกลุ โคเวเลนต์มีขั้วละลายน้าได้โดยโมเลกุลของน้า จะหนั ขั้วที่มีอานาจไฟฟ้าตรงกันขา้ ม เข้าดึงดูดกับโมเลกลุ โคเวเลนตม์ ีขั้วหรือไอออน น้าที่ลอ้ มรอบจะมีจานวนมากน้อยแค่ไหนขนึ้ อยู่กบั ขนาด และประจขุ องโมเลกลุ หรือไอออน 2. การเผาไหม้ การเผาไหม้ของสารใด ๆ คอื การที่สารชนดิ หนงึ่ ทาปฏิกิรยิ ากบั ออกซิเจน แล้วคายพลังงานออกมา ลักษณะสาคัญของการเผาไหมข้ องสาร สารทเ่ี ผาไหมไ้ ดด้ ี และคายพลังงานออกมามาก ไดแ้ ก่ สารประกอบไฮโดรคารบ์ อน สารประกอบไฮโดรคารบ์ อนเกดิ การเผาไหมก้ ับกา๊ ซ O2 อย่างสมบูรณ์ จะใหก้ า๊ ซ CO2 และ H2O พร้อมกับปล่อยความร้อนออกมาด้วย ดงั สมการของ การเผาไหม้ของสารประกอบไฮโดรคารบ์ อนดังน้ี CxHy + (x+y/4)O2 ----> xCO2 + y/2H2O + พลงั งาน การเผาไหม้ของสารใดเปน็ ปฏิกิริยาคายความร้อน และการเผาไหม้ของสารทกุ ชนิดมีทั้งการสลายพันธะและสร้างพันธะใหม่ ด้วยเหตนุ ้ี พลงั งานที่ดูดเข้าไปทั้งหมดที่ใช้ในการสลายพันธะน้อยกว่าพลังงานที่เกิดจากการสร้างพันธะใหม่คายออกมา และเนือ่ งจากสารประกอบ ไฮโดรคาร์บอนเผาไหม้ให้ความร้อนออกมามาก จึงใช้สารเหลา่ นีเ้ ป็นเชือ้ เพลิง สารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มีโมเลกลุ เล็ก ๆ จะเผาไหม้กบั O2 ได้ดีกวา่ โมเลกุลใหญ่ เช่น CH4 เผาไหมก้ บั O2 ได้ดีกวา่ C10H22 เปน็ ต้น ปจั จัยที่มีผลต่อการเผาไหม้ของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน ปริมาณก๊าซออกซิเจน ถ้ามีก๊าซออกซิเจนมากจะเกิดการเผาไหม้สมบูรณ์ ติดไฟใหเ้ ปลวไฟสวา่ ง แต่ไมม่ ีควันและเขม่า ใหก้ ๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์กบั น้าและความร้อน แต่ถ้ามีก๊าซออกซิเจนน้อยจะเกิดการเผาไหม้ไม่สมบรู ณ์ ติดไฟใหเ้ ปลวไฟสวา่ ง แต่มีควนั และเขม่า ใหผ้ งถ่าน ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์กับน้า และความร้อน อตั ราส่วนโดยอะตอมระหว่าง C กับ H ถ้าต่าไม่มีควนั เขม่า และถ้ามีค่าสูงจะมีควนั เขม่ามาก ปริมาณควันเขม่า ? อัตราส่วนโดยอะตอมของ C กบั H 3. จุดเดือด และจุดหลอมเหลว จดุ เดอื ดและจุดหลอมเหลวของสารประกอบไฮโดรคารบ์ อนต่า เมอ่ื เทยี บกับสารอื่น ๆ ทีม่ มี วลโมเลกลุ ใกลเ้ คียงกัน สารประกอบไฮโดรคาร์บอนพวกเดยี วกัน จุดเดอื ด และจุดหลอมเหลวเปลี่ยนตามมวลโมเลกลุ หรือจานวนคาร์บอนอะตอมทเี่ กิดข้นึ เช่น CH3CH3 มจี ุด เดือด จดุ หลอมเหลวสงู กวา่ CH4 สารประกอบไฮโดรคารบ์ อนตา่ งชนิดทมี่ ีคาร์บอนอะตอมเท่ากัน และคารบ์ อนตอ่ กนั เป็นโซ่ สายยาวเรียงลาดบั จดุ เดอื ดสูง ---> ตา่ ดงั น้ี แอลไคน์ > แอลเคน > แอลคีน 4. ความหนาแนน่ สารประกอบไฮโดรคารบ์ อนมคี วามหนาแน่นต่า โดยทว่ั ไปความหนาแน่นน้อยกว่าน้า เช่น เพนเทน (C5H12) มคี วาม หนาแน่น 0.626 g/cm3 ส่วนนา้ มีความหนาแน่น 1 g/cm3 5. สถานะ สารประกอบไฮโดรคาร์บอนจะมสี ถานะเปน็ อยา่ งไรนั้นขึ้นอยูก่ ับมวลโมเลกุล หรอื จานวนคารบ์ อนอะตอมเป็นเกณฑ์ สารประกอบ ไฮโดรคาร์บอนใดมีมวลโมเลกลุ น้อย (จานวนคารบ์ อนอะตอมน้อย) จะมีแรงแวนเดอร์วาลสต์ ่า โมเลกลุ อยหู่ า่ งกนั จะมีสถานะเป็นกา๊ ซ ส่วนประกอบ ไฮโดรคารบ์ อนทม่ี ีมวลโมเลกุลมาก (จานวนคารบ์ อนอะตอมมาก) จะมีแรงแวนเดอร์วาลส์สูง โมเลกลุ อยู่ใกลช้ ิดกนั ทาใหส้ ถานะเป็นของแขง็ สารประกอบไฮโดรคาร์บอนมีสถานะตา่ ง ๆ สรปุ ได้ดังนี้
กา๊ ซ ไดแ้ ก่ สารประกอบไฮโดรคารบ์ อนท่ีมี C1 - C4 เช่น CH4, C2H6,C2H4 ของเหลว ได้แก่ สารประกอบไฮโดรคารบ์ อน C5 - C17 เชน่ C6H14, C8H18 ของแขง็ ได้แก่ สารประกอบไฮโดรคาร์บอน C8 ขึ้นไป เช่น C20H42 6. การละลายน้า การทสี่ ารใดละลายในอกี สารหนึง่ ได้น้ัน อนุภาคของตัวถกู ทาลายจะตอ้ งแทรกเข้าไปอยูร่ ะหวา่ งอนภุ าคของตัวทาละลาย โดยเกิดแรง ดึงดูดระหว่างตัวถูกละลายและตัวทาละลาย แล้วผสมเป็นสารเนื้อเดยี ว Rule of Thumb \"Like dissolved like\" จากกฎน้ีจะได้ว่า โมเลกุลโคเวเลนต์ มขี ว้ั จะละลายในโมเลกุลโคเวนเลนตม์ ขี ้วั โมเลกุลโคเวเลนตไ์ ม่มขี ้ัว จะละลายในโมเลกลุ โคเวเลนต์ไม่มีขั้ว โมเลกลุ โคเวเลนต์ใดท่ลี ะลายน้าได้ควรเป็น โมเลกุลมีขว้ั ส่วนสารประกอบไฮโดรคารบ์ อนเปน็ โมเลกุลโคเวเลนตไ์ ม่มขี ้วั ดงั นั้นจึงไมล่ ะลายน้า สารประกอบไฮโดรคารบ์ อนลอลายได้ดีในตัวทาลายที่ เป็นโมเลกุลโคเวเลนตไ์ ม่มขี วั้ เชน่ เบนซนี คารบ์ อนเตตระคลอไรด์ คลอโรฟรอม และไฮโดรคารบ์ อนอ่นื ๆ โมเลกลุ โคเวเลนต์มีขัว้ ทุกชนดิ ละลายนา้ ได้ และถา้ เปน็ โคเวเลนตม์ ีข้ัวที่มีสภาพขวั้ แรงมากละลาย นา้ จะแตกเปน็ ไอออน เช่น HCI สว่ นโมเลกลุ โคเว เลนต์ที่มขี ่ัวทีม่ ีสภาพขว่ั ไม่แรงละลายนา้ ไดไ้ ม่แตกเป็นไอออน ตัวทำละลำย (องั กฤษ: solvent) เป็นของเหลวที่สามารถละลาย ตวั ถูกละลาย ทเ่ี ป็นของแข็ง ของเหลว หรือกา๊ ซไดเ้ ป็น สารละลาย ตวั ทาละลายที่ คนุ้ เคยมากทีส่ ุดและใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั คือน้า สาหรบั คาจากดั ความที่อา้ งถึง ตวั ทำละลำยอินทรีย์ (organic solvent) จะหมายถงึ ตวั ทาละลายอีก ชนดิ ทเ่ี ปน็ สารประกอบอนิ ทรีย์ (organic compound) และมี คาร์บอน อะตอมอยูด่ ้วย โดยปกตติ ัวทาละลายจะมี จุดเดอื ด ต่า และระเหยง่าย หรือ สามารถกาจัดโดย การกลัน่ ได้ โดยท่ัวไปแลว้ ตัวทาละลายไมค่ วรทาปฏิกริ ยิ ากับตัวถกู ละลาย คือ มันจะต้องมคี ณุ สมบตั ิ เฉ่อื ย ทางเคมี ตัวทาละลาย สามารถใช้ สกดั (extract) สารประกอบที่ละลายในมนั จากของผสมได้ตัวอยา่ งทีค่ ุ้นเคยได้แก่ การตม้ กาแฟ หรือ ชา ดว้ ยนา้ รอ้ น ปกติตัวทาละลายจะ เปน็ ของเหลวใสไม่มีสีและสว่ นใหญ่จะมีกลิน่ เฉพาะตัว ความเขม้ ขน้ ของสารละลายคอื จานวนสารประกอบที่ละลายในตวั ทาละลายในปรมิ าตรที่ กาหนด กำรละลำย (solubility) คอื จานวนสูงสุดของสารประกอบท่ลี ะลายไดใ้ นตัวทาละลาย ตามปริมาตรทกี่ าหนดท่ี อุณหภูมิ เฉพาะ ตวั ทาละลายอนิ ทรยี ใ์ ชป้ ระโยชน์ทว่ั ไปดังนี้ ซกั แหง้ (dry cleaning) เช่น เตตราคลอโรเอทิลนี (Tetrachloroethylene) ใช้เจอื จางสี (paint thinner) เช่น โทลูอีน (toluene) น้ามันสน(turpentine) ยาล้างเล็บและตวั ทาละลายกาว เชน่ อะซโิ ตน เมทิลอาซีเทต เอทิลอาซีเทต ) สารกาจดั คราบทีเ่ ปน็ จดุ เชน่ เฮกเซน(hexane) ปทิ รอลอีเทอร์(petrol ether) สารชาระลา้ งs เช่น ซิตรัส (citrus) เทอร์ปนี (terpene) นา้ หอม เช่น เอทานอล เคมสี ังเคราะห์
ตวั ทาละลายแบ่งออกเป็นกลุ่มต่างๆ เช่น นอน-โพลาร์ โพลาร์ อะโพรติก และโพลารโพรติก ตวั ทำละลำย สตู รเคมี จุดเดือด Polarity ควำมหนำแนน่ เฮกเซน Non-Polar Solvents 2.0 0.655 g/ml เบนซนี 2.3 0.879 g/ml โทลูอนี CH3-CH2-CH2-CH2-CH2-CH3 69 °C 2.4 0.867 g/ml Diethyl ether 4.3 0.713 g/ml คลอโรฟอรม์ C6H6 80 °C 4.8 1.498 g/ml Ethyl acetate 6.0 0.894 g/ml Tetrahydrofuran (THF) C6H5-CH3 111 °C 7.5 0.886 g/ml Methylene chloride 9.1 1.326 g/ml CH3CH2-O-CH2-CH3 35 °C CHCl3 61 °C CH3-C(=O)-O-CH2-CH3 77 °C /-CH2-CH2-O-CH2-CH2-\\ 66 °C CH2Cl2 40 °C Polar Aprotic Solvents Acetone CH3-C(=O)-CH3 56 °C 21 0.786 g/ml Acetonitrile (MeCN) 37 0.786 g/ml Dimethylformamide (DMF) CH3-C≡N 82 °C 38 0.944 g/ml 47 1.092 g/ml Dimethyl H-C(=O)N(CH3)2 153 °C sulfoxide (DMSO) CH3-S(=O)-CH3 189 °C 6.2 1.049 g/ml 18 0.810 g/ml กรดนา้ สม้ Polar Protic Solvents 18 0.785 g/ml n-Butanol 20 0.803 g/ml Isopropanol CH3-C(=O)OH 118 °C 24 0.789 g/ml n-Propanol CH3-CH2-CH2-CH2-OH 118 °C 33 0.791 g/ml เอทานอล 58 1.21 g/ml เมทานอล CH3-CH(-OH)-CH3 82 °C 80 0.998 g/ml กรดฟอรม์ กิ CH3-CH2-CH2-OH 97 °C นา้ CH3-CH2-OH 79 °C CH3-OH 65 °C H-C(=O)OH 100 °C H-O-H 100 °C
แอลกอฮอล์ คาวา่ \"แอลกอฮอล์\" มาจากภาษาอารบิกคาว่า al-kohl ท่ชี าวอาหรับใช้เรยี กเครื่องดมื่ ประเภทยาดอง ของมึนเมาตา่ งๆ ไดแ้ ก่ รมั บรัน่ ดี วิสก้ี เหล้า สาเก ไวนอ์ งนุ่ เบียร์ ฯลฯ ซ่ึงในอดตี แอลกอฮอลส์ ามารถเกิดได้เองตามธรรมชาติกอ่ นทม่ี นษุ ย์จะร้จู ักวธิ ีการผลติ แอลกอฮอล์เป็นครั้งแรก จากการที่เม่ือ เวลาผลไม้สกุ แลว้ ตกจากต้นลงแช่ในนา้ เป็นเวลานาน จะทาให้เกิดของเหลวข้นสามารถนามาด่ืมได้ ทาใหผ้ ดู้ ม่ื รูส้ กึ กระชมุ่ กระชวย และกระปรี้กระเปร่า โดยปกติแอลกอฮอลม์ หี ลายชนิด หลายรูปแบบ ตามนา้ หนักของโมเลกลุ ทปี่ ระกอบข้นึ มา เช่น เอทิลแอลกอฮอล์ เมทลิ แอลกอฮอล์ บิวทิลแอลกอฮอล์ โพรพลิ แอลกอฮอล์ เปน็ ต้น แอลกอฮอล์ ท่เี ป็นทรี่ จู้ กั กนั อย่างแพร่หลายและนาไปใชด้ ้านการอุปโภคและบรโิ ภคมากท่สี ุด คือ เอทลิ แอลกอฮอล์ ดงั น้ัน ในท่ีนีแ้ อลกอฮอลจ์ ะ หมายถงึ “เอทิลแอลกอฮอล์ (Ethyl alcohol) หรือ เอทานอล (Ethanol)” เป็นกลมุ่ สารประกอบอินทรียม์ ีสตู รทางเคมี คือ C2H5OH ประกอบดว้ ย คาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน เปน็ ไฮดรอกซลิ ดริ เิ วทฟี ของไฮโดรคารบ์ อน เกิดจากการแทนท่ี ไฮโดรเจนอะตอมด้วย hydroxyl group (OH) ตอ่ อยู่กบั สายโซข่ องไฮโดรคาร์บอน โดยคาว่า เอทานอลถูกคิดคน้ ข้ึนเมอ่ื ปี พ.ศ. 2435 มาจากคาว่า ethane ร่วมกับ \"ol\" สว่ นสุดทา้ ยของ \"แอลกอฮอล์\" ลกั ษณะเฉพาะ สถานะ : ของเหลว ใส ไม่มีสี ระเหยง่าย และมีกลนิ่ เฉพาะตวั นา้ หนักโมเลกุล : 46.07 กรัม/โมล จุดเยอื กแขง็ : -114.1 องศาเซลเซียส จุดเดือด : 78.32 องศาเซลเซยี ส จุดวาบไฟ : 14 องศาเซลเซยี ส อุณหภูมวิ กิ ฤต : 243.1 องศาเซลเซยี ส ความดนั วกิ ฤต : 6383.48 kpa ความหนาแน่น : 0.7893 กรัม/มลิ ลิลติ ร การละลายนา้ : ละลายได้ดีมาก และสามารถละลายเข้ากนั ได้ดีกบั น้าและตัวทาละลายอินทรยี อ์ ่นื ๆ เชน่ อีเทอร์ คลอโรฟอร์ม เมทลิ แอลกอฮอล์ คาร์บอนเตตระคลอไรด์ เปน็ ต้น ค่าความเป็นกรด-ด่าง : 5-7 โดยท่ัวไปเอทิลแอลกอฮอล์ ผลิตไดก้ ระบวนการหมกั (Fermentation) โดยใช้วตั ถดุ ิบประเภทน้าตาลกลูโคสเป็นสารตัง้ ต้นเปลี่ยนโมเลกลุ ของน้าตาล ด้วยยสี ต์ และเขา้ สกู่ ระบวนการกลั่น (Distillation) โดยนาเอทลิ แอลกอฮอลท์ ีไ่ ด้จากการหมักไปกล่ันท่ีความดันบรรยากาศ ให้ไดอ้ อกมาเป็น แอลกอฮอลท์ ีม่ ีความบริสุทธ์ิ สามารถนาไปใช้ประโยชน์ไดม้ ากมาย เชน่ ใชผ้ ลติ ผลิตภณั ฑย์ าและเวชภณั ฑท์ างการแพทย์ เป็นส่วนประกอบใน เคร่ืองสาอาง ผลิตอาหาร และเคร่อื งดืม่ แอลกอฮอล์ รวมทั้งใชเ้ ปน็ ตัวทาละลายในอตุ สาหกรรม เป็นสารต้ังตน้ ในอุตสาหกรรม การสงั เคราะห์สารเคมี พวกอีเทอร์ เอทลิ ีน กรดแอซีติก และใชเ้ ป็นส่วนผสมในน้ามันเชอ้ื เพลงิ เปน็ ต้น
พอลิเมอร์และพลาสติก พอ ลเิ มอร์ (Polymer) คือ สารประกอบท่มี โี มเลกลุ ขนาดใหญ่ และมมี วลโมเลกลุ มากประกอบด้วยหน่วยเลก็ ๆ ของสารทอี่ าจจะเหมอื นกันหรอื ต่างกนั มาเชอื่ มตอ่ กนั ด้วยพันธะโควาเลนต์ มอนอเมอร์ (Monomer) คอื หนว่ ยเล็ก ๆ ของสารในพอลเิ มอร์ ดังภาพ ประเภทของพอลเิ มอร์ แบ่งตามเกณฑต์ ่าง ๆ ดังน้ี 1. แบง่ ตำมกำรเกดิ เปน็ เกณฑ์ เป็น 2 ชนิด คือ ก . พอลเิ มอรธ์ รรมชำติ เปน็ พอลเิ มอรท์ เ่ี กดิ ข้นึ เองตามธรรมชาติ เช่น โปรตนี แปง้ เซลลโู ลส ไกโคเจน กรดนวิ คลอี ิก และยางธรรมชาติ (พอลไี อ โซปรนี ) ข . พอลิเมอรส์ ังเครำะห์ เป็นพอลเิ มอรท์ เี่ กิดจากการสังเคราะห์เพ่อื ใชป้ ระโยชน์ตา่ ง ๆ เช่น พลาสตกิ ไนลอน ดาครอน และลไู ซต์ เป็นต้น 2. แบง่ ตำมชนิดของมอนอเมอรท์ ่เี ปน็ องคป์ ระกอบ เปน็ 2 ชนดิ คือ ก . โฮมอลิเมอร์ (Homopolymer) เปน็ พอลเิ มอร์ท่ปี ระกอบดว้ ยมอนอเมอรช์ นิดเดียวกัน เชน่ แปง้ (ประกอบด้วยมอนอเมอร์ท่เี ปน็ กลูโคสทงั้ หมด) พอ ลเิ อทลิ นี PVC (ประกอบด้วยมอนอเมอรท์ เ่ี ป็นเอทิลนี ทัง้ หมด) ข . เฮเทอโรพอลเิ มอร์ (Heteropolymer) เปน็ พอลิเมอรท์ ่ปี ระกอบดว้ ยมอนอเมอรต์ ่างชนิดกัน เชน่ โปรตีน (ประกอบดว้ ยมอนอเมอร์ทเ่ี ป็นกรดอะมิ โนตา่ งชนิดกัน) พอลิเอสเทอร์ พอลเิ อไมด์ เป็นต้น 3. แบง่ ตำมโครงสรำ้ งของพอลิเมอร์ แบง่ ออกเป็น 3 แบบ คือ ก. พอลเิ มอรแ์ บบเสน้ (Chain length polymer) เป็นพอลเิ มอรท์ ่ีเกดิ จากมอนอเมอร์สรา้ งพันธะตอ่ กนั เป็นสายยาว โซพ่ อลเิ มอร์เรียงชิดกนั มากวา่ โครงสร้างแบบอืน่ ๆ จึงมีความหนาแนน่ และจดุ หลอมเหลวสงู มลี กั ษณะแขง็ ขุ่นเหนยี วกว่าโครงสร้างอนื่ ๆ ตัวอยา่ ง PVC พอลิสไตรนี พอลเิ อทิลีน ดงั ภาพ
ข. พอลเิ มอร์แบบก่ิง (Branched polymer) เปน็ พอลิเมอรท์ ี่เกดิ จากมอนอเมอร์ยดึ กันแตกกิง่ ก้านสาขา มีทง้ั โซ่ส้นั และโซ่ยาว ก่ิงทแ่ี ตกจาก พอลิเมอร์ ของโซ่หลัก ทาให้ไมส่ ามารถจดั เรียงโซพ่ อลเิ มอรใ์ หช้ ิดกันไดม้ าก จึงมคี วามหนาแน่นและจดุ หลอมเหลวตา่ ยืดหยุ่นได้ ความเหนยี วตา่ โครงสรา้ งเปล่ียน รปู ได้งา่ ยเมื่ออณุ หภูมิเพมิ่ ขึ้น ตัวอยา่ ง พอลเิ อทิลีนชนิดความหนาแนน่ ตา่ ดังภาพ ค. พอลเิ มอรแ์ บบรำ่ งแห (Croos -linking polymer) เปน็ พอลเิ มอร์ท่เี กิดจากมอนอเมอรต์ ่อเชื่อมกนั เป็นรา่ งแห พอลเิ มอรช์ นิดนม้ี คี วามแข็งแกรง่ และเปราะหกั งา่ ย ตัวอยา่ งเบกาไลต์ เมลามีนใช้ทาถว้ ยชาม ดังภาพ หมำยเหตุ พอลิเมอรบ์ างชนิดเปน็ พอลเิ มอรท์ ่เี กิดจากสารอนนิ ทรยี ์ เช่น ฟอสฟาซีน ซลิ โิ คน กำรเกิดพอลิเมอร์ พอลิเมอรเ์ กดิ ขน้ึ จำกกำรเกดิ ปฏิกริ ิยำพอลเิ มอรไ์ รเซชนั ของมอนอเมอร์ พอลเิ มอรไ์ รเซชัน (Polymerization) คือ กระบวนการเกิดสารทม่ี โี มเลกลุ ขนาดใหญ่ ( พอลิเมอร)์ จากสารท่ีมโี มเลกลุ เลก็ ( มอนอเมอร)์ ปฏิกริ ยิ ำพอลเิ มอรไ์ รเซชัน 1. ปฏกิ ริ ิยำพอลิเมอรไ์ รเซชันแบบเตมิ (Addition polymerization reaction) คอื ปฏกิ ิรยิ าพอลิเมอรไ์ รเซชนั ที่เกิดจากมอนอเมอรข์ องสารอินทรีย์ ชนิดเดยี วกันทีม่ ี C กับ C จบั กันดว้ ยพนั ธะคมู่ ารวมตัวกันเกิดสารพอลิเมอรเ์ พยี งชนิดเดียวเท่านนั้ ดังภาพ 2. ปฏกิ ริ ยิ ำพอลเิ มอรไ์ รเซชันแบบควบแน่น (Condensation polymerization reaction) คอื ปฏิกริ ยิ าพอลเิ มอรไ์ รเซชันท่ีเกิดจากมอนอเมอรท์ ่มี หี มู่ ฟังก์ชันมากกว่า 1 หมุ่ ทาปฏกิ ริ ยิ ากันเป็นพอลิเมอรแ์ ละสารโมเลกลุ เล็ก เชน่ น้า ก๊าซแอมโมเนีย ก๊าซไฮโดรเจนคลอไรด์ เมทานอล เกดิ ขึ้นด้วย ดังภาพ
พลำสตกิ พลำสติก (Plastic) คอื สารทส่ี ามารถทาใหเ้ ปน็ รปู ต่าง ๆ ได้ดว้ ยความร้อน พลาสตกิ เปน็ พอลเิ มอร์ ขนาดใหญ่ มวลโมเลกลุ มาก สมบตั ิท่วั ไปของพลำสตกิ มีความเสถียรมากในธรรมชาติ สลายตวั ยาก มีมวลน้อย และเบา เป็นฉนวนความรอ้ นและไฟฟา้ ที่ดี สว่ นมากอ่อนตัวและหลอมเหลวเมื่อไดร้ ับความร้อน จึงเปล่ยี นเป็นรูปตา่ งๆ ได้ตามประสงค์ ประเภทของพลำสตกิ 1. เทอร์มอพลำสตกิ เมื่อได้รบั ความร้อนจะออ่ นตวั และเมื่อเยน็ ลงจะแข็งตวั สามารถเปลี่ยนรปู ได้ พลาสติกประเภทนี้โครงสรา้ งโมเลกุลเปน็ โซต่ รงยาว มกี ารเช่อื มตอ่ ระหวา่ งโซ่พอลเิ มอร์น้อยมาก จึงสามารถหลอมเหลว หรอื เม่อื ผ่านการอัดแรงมากจะไมท่ าลายโครงสรา้ งเดิม ตวั อยา่ ง พอลิเอทิลนี พอลิ โพรพิลีนพอลสิ ไตรีน 2. พลำสติกเทอรม์ อเซต จะคงรูปหลงั การผา่ นความร้อนหรอื แรงดันเพียงครง้ั เดยี ว เม่ือเยน็ ลงจะแขง็ มาก ทนความร้อนและความดนั ไม่ออ่ นตัวและ เปลีย่ นรปู รา่ งไม่ได้ แตถ่ า้ อณุ หภูมิสงู ก็จะแตกและไหม้เป็นขีเ้ ถ้าสีดา พลาสตกิ ประเภทนี้โมเลกลุ จะเช่ือมโยงกนั เปน็ ร่างแหจบั กันแนน่ แรงยึดเหนย่ี ว ระหว่างโมเลกลุ แขง็ แรงมาก จงึ ไม่สามารถนามาหลอมเหลวได้ ตัวอย่าง เมลามีน พอลยิ ูรีเทน
ตำรำง แสดงสมบตั ิบำงประกำรของพลำสตกิ บำงชนิด ชนดิ ของ ประเภทของ สมบตั ิบำงประกำร ตัวอย่ำงกำรนำไปใช้ พลำสติก พลำสติก สภำพกำรไหม้ไฟ ข้อสงั เกตอน่ื ประโยชน์ พอลิเอทลิ ีน เทอร์มอพลาสติก เปลวไฟสีน้าเงินขอบเหลือง เลบ็ ขดี เปน็ รอย ไมล่ ะลายใน ถงุ ภาชนะ ฟลิ ์มถา่ ยภาพ กลิ่นเหมือนพาราฟิน เปลว สารละลายทวั่ ไป ลอยนา้ ของเล่นเด็ก ดอกไม้พลาสตกิ ไฟไมด่ บั เอง พอลโิ พรพิลนี เทอร์มอพลาสติก เปลวไฟสนี า้ เงินขอบเหลือง ขีดด้วยเลบ็ ไม่เปน็ รอย ไม่ โตะ๊ เกา้ อ้ี เชือก พรม บรรจุ ควันขาว กลน่ิ เหมอื น แตก ภณั ฑ์อาหาร ชิน้ สว่ นรถยนต์ พาราฟนิ พอลสิ ไตรีน เทอรม์ อพลาสตกิ เปลวไฟสเี หลอื ง เขม่ามาก เปาะ ละลายได้ในคาร์บอน โฟม อุปกรณไ์ ฟฟา้ เลนส์ กลน่ิ เหมอื นก๊าซจดุ ตะเกียง เตตระคลอไรด์ และโทลอู นี ของเล่นเด็ก อปุ กรณก์ ีฬา ลอยนา้ เคร่ืองมือสื่อสาร พอลวิ นิ ลิ คลอไรด์ เทอรม์ อพลาสติก ตดิ ไฟยาก เปลวสีเหลอื ง ออ่ นตวั ได้คล้ายยาง ลอยนา้ กระดาษตดิ ผนงั ภาชนะ ขอบเขยี ว ควันขาว กลิ่น บรรจสุ ารเคมี รองเทา้ กรดเกลือ กระเบื้องปูพ้ืน ฉนวนหุ้ม สายไฟ ทอ่ พีวีซี ไนลอน เทอร์มอพลาสติก เปลวไฟสีน้าเงินขอบเหลือง เหนยี ว ยืดหยนุ่ ไม่แตก เครอ่ื งนงุ่ หม่ ถุงนอ่ งสตรี กลิ่นคล้ายเขาสตั ว์ติดไฟ จมน้า พรม อวน แห พอลิยูเรยี พลาสติกเทอร์มอ ตดิ ไฟยาก เปลวสเี หลอื ง แตกร้าว จมน้า เต้าเสยี บไฟฟ้า วสั ดเุ ชิง ฟอรม์ าลดีไฮด์ เซต ออ่ น ขอบฟ้าแกมเขยี ว กลน่ิ วิศวกรรม แอมโมเนีย อพี อกซี พลาสตกิ เทอร์มอ ติดไฟง่าย เปลวสีเหลือง ไมล่ ะลายในสาร กาว สี สารเคลือบผวิ หนา้ เซต ควนั ดา กลน่ คล้ายข้าวค่วั ไฮโดรคาร์บอนและนา้ วัตถุ เทอร์มอพลาสตกิ ตดิ ไฟยาก เปลวสีเหลอื ง อ่อนตวั ยืดหยุ่น เส้นใยผ้า พอลิเอสเทอร์ ควนั กลน่ิ ฉนุ เปราะ หรือแข็งเหนยี ว ตวั ถงั รถยนต์ ตัวถงั เรอื ใช้บุ พลาสตกิ เทอรม์ อ ตดิ ไฟยาก เปลวสเี หลือง เซต ควันดา กลิ่นฉุน ภายในเครือ่ งบนิ พลำสติกรไี ซเคลิ ( Plastic recycle) ปัจจุบนั เราใช้พลาสตกิ ฟมุ่ เฟือยมาก แต่ละปีประเทศไทยมขี ยะพลาสติกจานวนมาก ซง่ึ เปน็ ปัญหาดา้ นสิ่งแวดล้อมของโลก จึงมคี วามพยายามคิดค้นทา พลาสตกิ ท่ยี ่อยสลายทางชีวภาพ (Biodedradable) มาใชแ้ ทน แต่พลาสติกบางชนิดกย้ ังไม่สามารถยอ่ ยสลายทางชีวภาพได้ ในทางปฏิบตั ิยงั คงกาจดั
ขยะพลาสตกิ ด้วยวิธฝี ังกลบใตด้ นิ และเผา ซ่ึงกอ่ ใหเ้ กิดปัญหาดา้ นสง่ิ แวดลอ้ มตามมา วธิ ที ่ีดีที่สุดในการดแู ลสิง่ แวดลอ้ มเกยี่ วกบั ขยะพลาสตกิ คือ ลด ปรมิ าณการใช้ใหเ้ หลอื เท่าทจ่ี าเป็น และมีการนาพลาสติกบางชนดิ กลบั ไปผา่ นบางขัน้ ตอนในการผลิต แลว้ นากลับมาใช้งานใหมไ่ ดต้ ามเดมิ สมาคมอุตสาหกรรมพลาสตกิ ประเทศสหรัฐอเมรกิ า (The Society of Plastics Industry ; SPI) ได้กาหนดสัญลักษณ์เพื่อบง่ ช่ปี ระเภทของพลาสติกรี ไซเคิล ซง่ึ จะกากบั ไว้ในผลติ ภณั ฑส์ ินคา้ ทท่ี าดว้ ยพลาสติก ดงั ภาพในตาราง
ตำรำง แสดงสัญลักษณเ์ พอื่ บง่ ชีป่ ระเภทของพลำสติกรไี ซเคลิ กำรนำไปใช้งำน ประเภทของ ช่อื ยอ่ สญั ลักษณ์ มอนอเมอร์ พลำสตกิ Polyethylene PETE Terephthalate High Density HDPE Polyethylene Polyvinyl V Chloride (PVC) Low Lensity LDPE Polyethylene Polypropylene PP Polystyrene PS Polycarbonate PC Polymethyl- PMMA Methacrylate Nylon-66 N-66
เส้นใย เสน้ ใย (Fibers) คือ พอลิเมอร์ชนิดหน่งึ ท่ีมีโครงสร้างของโมเลกลุ สามารถนามาเปน็ เส้นด้าย หรือเส้นใย จาแนกตามลักษณะการเกดิ ได้ดังนี้ ประเภทของเส้นใย เส้นใยธรรมชำติ ท่รี ู้จกั กันดแี ละใกล้ตัว คอื - เสน้ ใยเซลลูโลส เชน่ ลินิน ปอ เส้นใยสับปะรด - เส้นใยโปรตนี จากขนสัตว์ เช่น ขนแกะ ขนแพะ - เสน้ ใยไหม เปน็ เส้นใยจากรงั ไหม เส้นใยสังเครำะห์ มหี ลำยชนดิ ทใี่ ชก้ ันทัว่ ไปคอื - เซลลโู ลสแอซเี ตด เป็นพอลิเมอรท์ เ่ี ตรยี มไดจ้ ากการใชเ้ ซลลโู ลสทาปฏิกริ ิยากับกรดอซิติกเข้มขน้ โดยมกี รอซลั ฟูรกิ เป็นตัวเรง่ ปฏกิ ริ ยิ า การใช้ ประโยชนจ์ ากเซลลโู ลสอะซเี ตด เชน่ ผลติ เป้นเสน้ ใยอารแ์ นล 60 ผลิตเป็นแผ่นพลาสติกทใ่ี ชท้ าแผงสวิตช์และหมุ้ สายไฟ - ไนลอน (Nylon) เปน็ พอลเิ มอรส์ ังเคราะหจ์ าพวกเส้นใย เรียกวา่ “ เสน้ ใยพอลิเอไมด์” มีหลายชนิด เช่น ไนลอน 6,6 ไนลอน 6,10 ไนลอน 6 ซ่ึง ตวั เลขทเี่ ขียนกากับหลงั ชื่อจะแสดงจานวนคาร์บอนอะตอมในมอนอเมอร์ของเอมีนและกรดคาร์บอกซิลิก ไนลอนจดั เป็นพวกเทอร์มอพลาสติก มีความ แขง็ มากกว่าพอลิเมอรแ์ บบเติมชนดิ อื่น (เพราะมแี รงดึงดูดทแ่ี ขง็ แรงของพนั ธะเพปไทด์) เป็นสารทต่ี ิดไฟยาก (เพราะไนลอนมพี นั ธะ C-H ในโมเลกลุ น้อยกว่าพอลิเมอรแ์ บบเติมชนิดอื่น) ไนลอนสามารถทดสอบโดยผสมโซดาลาม (NaOH + Ca(OH) 2) หรอื เผาจะให้กา๊ ซแอมโมเนยี - ดำครอน (Dacron) เป็นเส้นใยสังเคราะหพ์ วกพอลิเอสเทอร์ ซึง่ เรียกอีกชือ่ หนง่ึ ว่า Mylar มปี ระโยชน์ทาเสน้ ใยทาเชือก และฟิลม์ - Orlon เปน็ เส้นใยสงั เคราะห์ ท่ีเตรียมไดจ้ าก Polycrylonitrile ยำง ยำง (Rubber) คือ สารท่ีมสี มบัตยิ ืดหยุ่นได้ ทาใหเ้ ป็นรูปรา่ งตา่ งๆ ได้ เปน็ สารประกอบพอลเิ มอร์ ประโยชน์ใชท้ ายางลบ รองเทา้ ยางรถ ตุ๊กตายาง ประเภทของยำง 1. ยำงธรรมชำติ ได้จากต้นยางพารา น้ายางท่ไี ดเ้ ป็นของเหลวสขี าว ช่อื พอลิไอโซปรนิ สมบัติ มีความยดื หยุ่น เพราะโครงสรา้ งโมเลกลุ ของยางมลี ักษณะม้วนงอขดไปมาปดิ เป็นเกลยี ว ได้ แรงยดึ เหนยี่ วระหวา่ งโมเลกลุ เป็นแรงแวนเดอร์ วาลส์ สมบัติเปลีย่ นงา่ ยคอื เมือ่ ร้อนจะอ่อนตัวเหนียว แต่เย็นจะแขง็ และเปราะ 2. ยำงสงั เครำะห์ เป็นพอลิเมอรท์ ่ีสงั เคราะหข์ ึ้นจากสารผลติ ภณั ฑป์ โิ ตรเลียม เช่น กระบวนกำรวัลคำไนเซชัน (Vulcanization process) คอื กระบวนการทใ่ี ชใ้ นการเพ่ิมคณุ ภาพของยางธรรมชาติ ( ยางดิบ) ให้มคี วามยดื หยุ่นได้ดี ขึน้ มีความคงตัวสงู ไม่สกึ กร่อนงา่ ย และไมล่ ะลายในตวั ทาละลายอินทรีย์ สมบตั เิ หล่านจ้ี ะยงั คงอยู่ ถงึ แมว้ า่ อุณหภูมจิ ะเปล่ียนแปลงก็ตาม
ผลกระทบต่อสภาวะแวดล้อม ผลกระทบด้านบวกต่อสภาวะแวดลอ้ ม การประเมินผลกระทบด้านบวกต่อสภาวะแวดล้อมของการนาพลาสติกย่อยสลายได้มาใช้งานทดแทนพลาสติกทว่ั ไปในบางโอกาส สามารถ ทาได้โดยการใช้วิธีประเมินวัฏจักรชีวิต (Life cycle assessment) ของพลาสติกย่อยสลายได้ทางชีวภาพ เปรียบเทียบกบั พลาสติกท่วั ไปทีผ่ ลิต จากผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมเพื่อประเมินผลกระทบที่เป็นประโยชน์ตอ่ สังคมและสภาพแวดล้อมด้านต่างๆ เช่น แหล่งวัตถุดิบ ซึ่งอาจเป็นแหลง่ วตั ถุดิบที่ปลกู หรือผลิตทดแทนขนึ้ ใหม่ได้ หรือเปน็ ผลิตภณั ฑ์ปิโตรเคมี ปริมาณการใช้นา้ และพลังงานในกระบวนการผลิต การใช้สารเคมีใน การเพาะปลกู และการปล่อยแก๊สเรือนกระจก เปน็ ต้น หากมีการนาพลาสติกย่อยสลายได้มาใช้งาน และมีการกาจัดอย่างมีประสิทธภิ าพแล้ว จะก่อใหเ้ กิดประโยชน์ในด้านอื่นๆ ดังต่อไปนี้ 1. คอมโพสท์ทีไ่ ด้จากการย่อยสลายพลาสติกย่อยสลายได้ทางชีวภาพร่วมกับขยะอินทรีย์อืน่ ๆ สามารถนามาใช้ในการปรบั ปรุงคุณภาพดิน โดยช่วยเพิ่มสารอินทรีย์ ความชืน้ และสารอาหารให้แก่ดนิ พร้อมทั้งช่วยลดปริมาณการใช้ปุ๋ยและลดการเกิดโรคในพืช การหมกั พลาสติก ย่อยสลายได้ทาใหเ้ กิดการหมุนเวยี นของธาตุ ในขณะทีก่ ารใช้พลาสติกมกั ต้องกาจดั ด้วยการฝังกลบหรือเผา 2. ลดเนื้อทีก่ ารใช้งานของบ่อฝงั กลบขยะ โดยการใช้พลาสติกย่อยสลายได้ทางชีวภาพ และถุงทีย่ ่อยสลายได้ทาใหเ้ พิม่ ศักยภาพในการย่อย สลายของเศษอาหารหรือขยะอินทรีย์ในบ่อฝังกลบ และเพิม่ ศักยภาพในการผลิตแก๊สมเี ทนสาหรับใช้เปน็ เชอื้ เพลิงในกรณีที่บ่อฝงั กลบได้ถกู ออกแบบมาใหผ้ ลิตและใช้ประโยชน์จากแก๊สมีเทนได้ การใช้ฟิลม์ พลาสติกย่อยสลายได้ทางชีวภาพเป็นวสั ดุคลุมหนา้ บ่อฝังกลบแทนดินในแต่ ละวันเป็นการเพิ่มเน้ือที่ให้บ่อฝงั กลบ เนอื่ งจากการปิดหนา้ บ่อฝงั กลบด้วยดินทกุ วันจะใช้เนื้อที่รวม 25% ของเนื้อที่ในบ่อฝงั กลบ 3. การใช้พลงั งานในการสังเคราะห์ และผลิตพลาสติกยอ่ ยสลายได้ทางชีวภาพน้อยกว่าการผลิตพลาสติกทว่ั ไป ดงั แสดงในตารางข้างล่าง โดยเทียบกับพลงั งานทีใ่ ช้ในการผลิต HDPE และ LDPE โดยพลงั งานที่ใช้ในการผลิต PHA ใกล้เคียงกับทีใ่ ช้ในการผลิต PE หากการผลิต พลาสติกย่อยสลายได้โดยใช้สารอาหารน้าตาลในน้าทงิ้ จากโรงงานผลิตแป้ง กากน้าตาล ตะกอนจากบ่อน้าทิง้ จะทาใหก้ ารใช้พลงั งานลดลง ชนิดพลาสติก พลงั งานทีใ่ ช้ในการสังเคราะห์ (MJ/Kg) LDPE 81 PHA-fermentation process 81 HDPE 80 PCL 77 PVOH 58 PLA 57 TPS + 60% PCL 52 TPS + 52.5% PCL 48 TPS 25 TPS + 15% PVOH 25 แหล่งทีม่ า: “Review of Life Cycle Assessment for Bioplastic” by Dr.Matin Patel, Utretch University, Natherlands, Nov. 2001 4. การปลดปล่อยแก๊สเรือนกระจกเปน็ ผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมทีส่ าคญั จากการใช้พลาสติกย่อยสลายได้ทางชีวภาพ แต่จากการศกึ ษาโดย วธิ ปี ระเมินวัฏจักร ต้ังแต่เริม่ การผลิต จนถึงการกาจัดภายหลังเสรจ็ สิน้ การใช้งาน พบวา่ พลาสติกย่อยสลายได้ก่อใหเ้ กิดการปลดปล่อยแก๊ส เรือนกระจกในปริมาณที่ตา่ กว่าพอลิเอทิลนี ซึ่งเหน็ ได้อย่างชดั เจนในกรณีที่เป็นพลาสติกที่มีแป้งเปน็ องค์ประกอบพนื้ ฐาน ซึ่งแก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์ทีเ่ กิดขนึ้ จากการย่อยสลายของพลาสติกจะถกู ใช้ไปในการเติบโตของพืชทีจ่ ะปลูกขึน้ มาใหม่ทาใหเ้ กิดการหมุนเวยี นแก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์ในธรรมชาติซึง่ เป็นส่วนหนง่ึ ของวฏั จกั รคาร์บอน ทาใหเ้ กิดความสมดุลของปริมาณแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ใน บรรยากาศ ปริมาณการปลดปล่อยแก๊สเรือนกระจก ชนิดพลาสติก *10 (Kg CO2 eq./Kg) PCL 53 LDPE 50 HDPE 49 PVOH 42 TPS + 60%PCL 36 TPS + 52.5% PCL 33 TPS + 15% PVOH 17 Mater Bi TM film grade 12 Thermoplastic starch 11 Mater Bi TM foam grade 9 PLA NA PLA-ferment NA แหล่งที่มา: Review of Life Cycle Assessments for Bioplastics by Dr. Martin Patel, Department of Science, Technology and Society, Utrecht University, Nov. 2001. ผลกระทบด้านลบต่อสภาวะแวดล้อม 1. ก่อใหเ้ กิดมลภาวะทางน้าจากการเพิม่ ของค่าความต้องการออกซิเจนทางชีวเคมี (biological oxygen demand, BOD) และค่าความต้องการ ออกซิเจนทางเคมี (chemical oxygen demand, COD) อันเน่ืองมาจากการมีปริมาณสารอินทรีย์ หรือสารอาหารในแหลง่ น้าในปริมาณสูง ทา ใหจ้ ุลินทรีย์มีความต้องการใช้ออกซิเจนในน้าสูงขนึ้ ด้วย ก่อใหเ้ กิดการเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศน์ทางน้า 2. เกิดการปนเปื้อนของผลิตภณั ฑ์ทีไ่ ด้จากการย่อยสลายของพลาสติกย่อยสลายได้ในสภาวะแวดล้อม เช่น การย่อยสลายของพลาสติกใน สภาวะการฝังกลบหรือการคอมโพสท์ อาจทาใหส้ ารเติมแต่งต่างๆ รวมถึง สี พลาสติกไซเซอร์ สารคะตะลิสตท์ ีต่ กค้าง ร่วั ไหลและปนเปือ้ นไปกับแหล่งน้าใต้ดนิ และบนดิน ซึง่ สารบางชนิดอาจมีความเปน็ พิษต่อระบบ นิเวศน์ 3. เกิดมลภาวะจากขยะอนั เนื่องมาจากการใช้พลาสติกย่อยสลายได้ทางชีวภาพทีถ่ กู ทิง้ หรือตกลงในสิง่ แวดล้อมทีม่ ีสภาวะไม่เหมาะสมต่อ การย่อยสลาย เช่น ถูกลมพัด และติดค้างอยู่บนกิง่ ไม้ ซึ่งมีปริมาณจุลินทรีย์ไม่มากพอก็จะไม่สามารถยอ่ ยสลายได้ดี นอกจากนี้การใช้ พลาสติกย่อยสลายได้อาจทาใหผ้ ู้บริโภคเข้าใจผิดว่า จะสามารถกาจดั ได้ง่ายและรวดเร็วทาใหม้ ีการใช้งานเพิม่ ขึน้ และพลาสติกย่อยสลายได้ บางชนิดอาจใช้เวลานานหลายปีในการย่อยสลายทางชีวภาพอย่างสมบูรณ์ และก่อใหเ้ กิดอันตรายต่อสตั ว์ทีก่ ลืนกินพลาสติกเข้าไป เน่อื งจาก ไม่สามารถยอ่ ยสลายได้ภายในกระเพาะของสัตว์ 4. ความเป็นพิษของคอมโพสท์ทีไ่ ด้จากการหมักพลาสติกย่อยสลายได้ทางชีวภาพ เนอ่ื งจากการมีสารตกค้าง หรือใช้สารเติมแต่งทีม่ ีความ เปน็ พิษ และส่งผลกระทบต่อพืชและสตั วท์ ี่อาศัยอยู่ในดิน เช่น ไส้เดือน ดงั น้ันจงึ ต้องศกึ ษาความเปน็ พิษ (toxicity) ของคอมโพสท์ดว้ ย ชิน้ ส่วน ที่เกิดจากการหกั เปน็ ชิน้ เลก็ ๆ เกิดการสะสมอยู่ในดินที่ใช้ทางการเกษตรในปริมาณเล็กน้อยจะช่วยใหเ้ กิดการหมุนเวยี นของอากาศได้ดี จึง
นิยมใช้ในสวนดอกไม้ ไร่องุ่น และใส่ในกระถางเพื่อทาหนา้ ที่ปรับสมบัติของดิน แต่อย่างไรก็ตามอาจเกิดการสะสมของเศษพลาสติกในดิน มากเกินไปอาจส่งผลต่อคุณภาพของดินและปริมาณผลิตผลทีเ่ พาะปลูกได้ 5. เกิดสารประกอบทีไ่ ม่ย่อยสลาย เช่น สารประกอบประเภทแอโรแมติกจากการย่อยสลายของพลาสติกบางชนิด เช่น AACs โดยส่วนทีเ่ ป็น วงแหวนแอโรแมติกในพอลิเมอร์ จะเกิดการเปลีย่ นแปลงเปน็ สารประกอบขนาดเลก็ เช่น กรดเทเรฟทาลิค (terephthalic acid (TPA) ซงึ่ ย่อย สลายทางชีวภาพได้ไม่ดนี กั 6. การตกค้างของสารเติมแต่งทีเ่ ติมลงในพลาสติกย่อยสลายได้ เพือ่ ปรบั สมบตั ิให้เหมาะสมกบั การใช้งาน เช่นเดียวกบั พลาสติกท่วั ไป เมือ่ พลาสติกเกิดการย่อยสลาย สารเติมแต่งเหลา่ นอี้ าจปนเปื้อนอยู่ในสภาวะแวดล้อมได้ เช่น สารช่วยในการผสมพลาสติกต่างๆ เข้าด้วยกัน เช่น methylene diisocyanate (MDI) สาร พลาสติกไซเซอร์ที่มกั เติมในพลาสติกเพื่อความยืดหยุ่น เช่น glycerol, sorbital, propylene glycol, ethylene glycol, polyethylene glycol, triethyl citrate และ triacetine สารตัวเติมที่มกั เตมิ ลงในพลาสติกเพื่อทาใหร้ าคาถูกลง ส่วนใหญเ่ ป็นสารอนินทรีย์ จึงมักเกิดการสะสมในดิน และสภาพแวดล้อม อย่างไรกต็ ามสารตวั เติมมกั ค่อนข้างเสถียร จึงมักไม่ทาใหเ้ กิดความเปน็ พิษ เช่น CaCO3 TiO2 SiO2 และ talc เป็นต้น สารคะตะลิสตท์ ี่ใช้ในการสงั เคราะหพ์ ลาสติกย่อยสลายได้มักเปน็ สารประกอบของโลหะ ซึง่ ในการผลิตโดยท่วั ไปมกั มีคะตะลิสตเ์ หลอื ค้างอยู่ ในเน้ือพลาสติกเสมอ หากเป็นพลาสติกทัว่ ไปที่ไม่ย่อยสลาย คะตะลิสตจ์ ะติดค้างอยู่ในเนื้อพลาสติก แต่ในกรณีของพลาสติกย่อยสลายได้ เมื่อเกิดการย่อยสลายจะมีการปลดปล่อยคะตะลิสตท์ ีเ่ หลอื อยู่ออกมาสู่สภาพแวดล้อมได้ ชนิดของโลหะในคะตะลิสต์ทีใ่ ช้ในการผลิตพลาสติกยอ่ ยสลายได้ ชนิดโลหะในคะตะลิสต์ ชนิดของพลาสติก Tin PLA, PCL Antimony Modified PET Cobalt Modified PET Chromium PE blends Cobalt Managanese Prodegradant polyethylene Titanium Copolyesters การใชง้ านผลิตภัณฑ์พลาสติกย่อยสลายได้ 1.การใชง้ านทางการแพทย์ พลาสติกย่อยสลายได้ถกู พฒั นาขนึ้ เพือ่ ใช้ในการผลิตวัสดุทางการแพทย์ เช่น ผิวหนังเทียม ยาทีถ่ กู ออกแบบมาใหส้ ามารถควบคมุ การ ปลดปล่อยตัวยาอย่างช้าๆ ภายในร่างกายในช่วงระยะเวลาหนง่ึ หรือไหมละลาย อปุ กรณ์ประเภทสกรู และแผ่นดามกระดกู ที่ได้รับการผ่าตดั และฝังอยู่ในร่างกายที่สามารถยอ่ ยสลายได้เองภายหลงั จากการทาหนา้ ที่ตามทีไ่ ด้รับการออกแบบไวแ้ ล้วเสร็จสิน้ ทาใหไ้ ม่ตอ้ งทาการผ่าตดั ซ้าเพื่อนาวัสดทุ ี่ใช้ในการรกั ษาเสรจ็ แล้วออกจากร่างกายผู้ป่วย 2.สารเคลือบกระดาษ หรอื โฟม ปัจจบุ นั มีการนาพลาสติกย่อยสลายได้ทางชีวภาพมาใช้งานเปน็ สารเคลือบกระดาษสาหรบั ห่อแฮมเบอร์เกอร์ หรือถ้วยน้าชนิดใช้แล้วทงิ้ 3.ฟิลม์ คลุมดิน และวสั ดสุ าหรับการเกษตร
ฟิล์มคลมุ ดินสาหรบั การเกษตรเปน็ อปุ กรณ์ทางการเกษตรทีส่ าคญั ในการเพาะปลูกพืชบางชนิด เช่น มะเขือเทศ ซึง่ แผ่นฟิล์มจะช่วยป้องกนั การเติบโตของวัชพืช และรกั ษาความชนื้ ในดิน การใช้ฟิล์มสามารถผลิตได้จากพลาสติกย่อยสลายได้ทางชีวภาพจะช่วยลดขั้นตอนการเกบ็ และกาจดั ฟิล์มภายหลงั เสรจ็ สิน้ การใชง้ าน เนอ่ื งจากสามารถกาจดั โดยการไถพรวนลงดินไดโ้ ดยตรง ช่วยป้องกนั การสญู เสียแร่ธาตุและ สารอาหารบริเวณหน้าดินซึ่งมักเกิดขนึ้ ในข้ันตอนการเกบ็ และกาจดั ฟิล์ม นอกจากนี้ยงั มีการนาพลาสติกย่อยสลายได้มาใช้เปน็ วัสดุควบคมุ การปลดปล่อยสารสาคญั เช่น ตัวยา ปุ๋ย สารเคมีสาหรับการเกษตร วสั ดกุ ักเก็บนา้ สาหรบั การเพาะปลกู พืชในทะเลทราย รวมถึงถุงหรือ กระถางสาหรบั เพาะต้นกล้า 4. ถุงสาหรับใส่ของ (shopping bag) ถงุ พลาสติกและฟิล์มพลาสติกสาหรบั การใช้งานด้านบรรจภุ ัณฑ์ได้รับความนิยมในการใช้งานมากข้ึนในปจั จบุ นั ส่งผลใหม้ ีสดั ส่วนอยู่ในขยะ ในปริมาณสูงและยงั ไม่ไดร้ ับความนิยมนากลบั มารีไซเคิลมากนักเนื่องจากมีความยุ่งยากในขั้นตอนการคัดแยกและทาความสะอาด รวมถึงมี ค่าใช้จา่ ยในการขนส่งสงู ทาใหไ้ ม่คุ้มค่าทางเศรษฐกิจ พลาสติกย่อยสลายได้จงึ เปน็ พลาสติกที่มีศกั ยภาพในการนามาใช้แทนพลาสติกทว่ั ไป เพือ่ ผลิตเปน็ ถงุ และฟิลม์ ในบางโอกาส 5.ฟิลม์ และถงุ สาหรับใสข่ ยะเศษอาหาร (Food Waste Film and Bags) ฟิล์มและถุงพลาสติกย่อยสลายได้ทางชีวภาพสาหรบั ใช้ใส่ขยะเศษอาหาร เหมาะสาหรับสถานที่ทีม่ ีระบบการกาจัดขยะอินทรีย์ด้วยวธิ กี าร คอมโพสท์ กาลงั ได้รับความนิยมในต่างประเทศ เน่อื งจากสามารถกาจัดโดยการนามาทาคอมโพสท์พร้อมขยะอินทรีย์อื่นๆ ทาใหเ้ กิดความ สะดวกไม่ตอ้ งแยกท้งิ ปัจจุบนั มีความต้องการใช้ถงุ พลาสติกย่อยสลายได้สูงข้ึนอย่างมาก ตัวอย่างเช่น ในหลายเมืองของประเทศอิตาลี ได้ใช้ พลาสติกย่อยสลายได้ทางชีวภาพสาหรบั ใส่ขยะเศษอาหารต้ังแต่ปี ค.ศ. 1998 โดยมีบริษัท Novamont ซึ่งเป็นผู้ผลิตหลักใหก้ ับประเทศใน สหภาพยุโรป ทาการผลิตถงุ ย่อยสลายได้ในสภาวะคอมโพสท์ 10,000 ตนั ตอ่ ปี ถงุ ที่ผลิตขึน้ นสี้ ามารถย่อยสลายได้อย่างสมบูรณ์ภายใน 8- 10 สปั ดาหภ์ ายใต้สภาวะการหมักในโรงงานคอมโพสท์เชิงอตุ สาหกรรม 6. บรรจภุ ณั ฑ์เพื่อการบริโภค (Consumer Packaging Materials) ศกั ยภาพหน่งึ ในการใช้งานพลาสติกย่อยสลายได้ทางชีวภาพ คือ การใช้งานด้านบรรจภุ ณั ฑ์ ซึ่งตามปกติการใช้บรรจภุ ัณฑ์อาหารทีผ่ ลิตจาก พลาสติกท่ัวไปมกั ไม่ได้รับความนิยมนากลับมารีไซเคลิ มากนกั เนอื่ งจากมีการปนเปือ้ นสูง ทาใหไ้ ม่สะดวกต่อการเก็บและทาความสะอาด การนาพลาสติกย่อยสลายได้มาผลิตเปน็ บรรจภุ ัณฑ์สาหรบั อาหาร เช่น ถาดย่อยสลายได้สาหรบั อาหารสาเร็จรูปและอาหารจานด่วน จึงเปน็ แนวทางหนง่ึ ในการลดปญั หาด้านการจดั การขยะบรรจภุ ัณฑ์ลงได้ 7. โฟมเมด็ กนั กระแทก (Loose fill) โฟมเมด็ กันกระแทก (loose fill) โดยทวั่ ไปผลิตจากพอลิสไตรีน (PS) เพือ่ ใช้ประโยชน์ในด้านการขนส่งสินค้า มีข้อดีคือ มีความยืดหยุ่นสามารถ ป้องกันสินค้าจากแรงกระแทกระหว่างการเคลือ่ นย้ายและขนส่งได้เปน็ อย่างดี นอกจากนี้ยังมีนา้ หนักเบาทาใหก้ ารขนส่งสินค้าเป็นไปได้อย่าง สะดวกและประหยัดเชือ้ เพลิง แต่ปญั หาคือ พอลิสไตรีน เปน็ พลาสติกที่ย่อยสลายได้ยากและใช้เนื้อที่ในการจัดเกบ็ เพื่อการกาจัดสูง ในกรณี ที่ตอ้ งกาจดั ด้วยการฝงั กลบต้องใช้เนื้อทีใ่ นบ่อฝังกลบมาก แม้ว่าจะนามารีไซเคิลใช้ใหม่ได้แต่ยังไม่เป็นที่นยิ มแพร่หลายมากนกั ปัจจุบันมีการ พฒั นาการผลิตโฟมเมด็ กนั กระแทกจากแป้งและพอลิเมอร์ชนิดอื่นทีล่ ะลายน้าและย่อยสลายได้ทางชีวภาพขึน้ ทาใหง้ ่ายต่อการใช้งานและ สะดวกในการกาจดั เมือ่ สิน้ สุดการใช้งานแล้ว ประเภทของพลาสติกย่อยสลายได้ ประเภทของพลาสติกย่อยสลายได้ โดยทว่ั ไป เราสามารถแบ่งกลไกการย่อยสลายของพลาสติกเปน็ 4 ประเภทใหญๆ่ คือ
1. การย่อยสลายได้โดยแสง (Photodegradation) การย่อยสลายโดยแสงมักเกิดจากการเติมสารเตมิ แต่งที่มีความวอ่ งไวต่อแสงลงใน พลาสติกหรือสงั เคราะหโ์ คพอลิเมอร์ให้มีหมู่ฟังกช์ นั หรือพนั ธะเคมีที่ไม่แขง็ แรง แตกหักง่ายภายใต้รังสี (UV) เช่น หมู่คีโตน (Ketone group) อยู่ในโครงสร้าง เมือ่ สารหรือหมู่ฟงั ก์ชันดงั กล่าวสัมผสั กับรังสียูวจี ะเกิดการแตกของพันธะกลายเป็นอนมุ ูลอิสระ (Free radical) ซึง่ ไมเ่ สถียร จึงเข้าทาปฏิกิริยาต่ออย่างรวดเรว็ ที่พันธะเคมีบนตาแหนง่ คาร์บอนในสายโซ่พอลิเมอร์ ทาใหเ้ กิดการขาดของ สายโซ่ แต่การย่อยสลายนจี้ ะไม่เกิดขนึ้ ภายในบ่อฝงั กลบขยะ กองคอมโพสท์ หรือสภาวะแวดลอ้ มอื่นที่มืด หรือแม้กระทั่งชิน้ พลาสติกทีม่ ีการด้วยหมึกที่หนามากบนพื้นผิว เนอ่ื งจากพลาสติกจะไม่ได้สมั ผัสกบั รังสียวู โี ดยตรง 2. การย่อยสลายทางกล (Mechanical Degradation) โดยการใหแ้ รงกระทาแก่ชิน้ พลาสติกทาใหช้ ิน้ ส่วนพลาสติกแตกออกเปน็ ชิน้ ซึ่ง เป็นวิธีการที่ใช้โดยทัว่ ไปในการทาใหพ้ ลาสติกแตกเป็นชิน้ เล็กๆ 3. การย่อยสลายผ่านปฏิกิริยาออกซิเดชนั (Oxidative Degradation) การย่อยสลายผ่าน)ฏิกิริยาออกซิเดชนั ของพลาสติก เปน็ ปฏิกิริยา การเติมออกซิเจนลงในโมเลกุลของพอลิเมอร์ซึง่ สามารถเกิดขึน้ ได้เองในธรรมชาติอย่างช้าๆ โดยมีออกซิเจน และความร้อน แสงยวู ี หรือแรงทางกลเป็นปจั จัยสาคัญ เกิดเปน็ สารประกอบไฮโดรเปอร์ออกไซด์ (hydroperoxide, ROOH) ในพลาสติกที่ไม่มีการเติม สารเติมแต่งที่ทาหนา้ ทีเ่ พิม่ ความเสถียร (stabilizing additive) แสงและความร้อนจะทาให้ ROOH แตกตัวกลายเป็นอนุมูลอิสระ RO และ OH) ทีไ่ ม่เสถียรและเข้าทาปฏิกิริยาต่อที่พนั ธะเคมีบนตาแหนง่ คาร์บอนในสายโซ่พอลิเมอร์ ทาใหเ้ กิดการแตกหกั และสูญเสีย สมบตั ิเชิงกลอย่างรวดเร็ว แต่ดว้ ยเทคโนโลยีการผลิตทีไ่ ด้รบั การวจิ ัยและพัฒนาขึน้ ในปัจจุบนั ทาใหพ้ อลิโอเลฟินเกิดการย่อยสลาย ผ่านปฏิกิริยาออกซิเดชนั กบั ออกซิเจนได้เร็วขนึ้ ภายในช่วงเวลาที่กาหนด โดยการเติมสารเติมแต่งที่เป็นเกลือของโลหะทรานสิชัน ซึ่ง ทาหนา้ ที่คะตะลิสตเ์ ร่งการแตกตวั ของสารประกอบไฮโดรเปอร์ออกไซด์ (Hydroperoxpide, ROOH) เปน็ อนมุ ลู อิสระ (Free radical) ทาใหส้ ายโซ่พอลิเมอร์เกิดการแตกหกั และสญู เสียสมบตั ิเชิงกลรวดเรว็ ยิ่งข้นึ การย่อยสลายผ่านปฏิกิริยาไฮโดรไลซิส (Hydrolytic Degradation) การย่อยสลายของพอลิเมอร์ที่มีหมู่เอสเทอร์ หรือเอไมด์ เช่น แป้ง พอลิเอสเทอร์ พอลิแอนไฮดรายด์ พอลิคาร์บอเนต และพอลิยรู ิเทน ผ่านปฏิกิริยาก่อใหเ้ กิดการแตกหักของสายโซ่พอลิเมอร์ ปฏิกิริยาไฮโดรไลซิสทีเ่ กิดขนึ้ โดยทัว่ ไปแบ่งออกเปน็ 2 ประเภท คือ ประเภทที่ใช้คะตะลิสต์ (Catalytic hydrolysis) และไม่ใช้คะตะ ลิสต์ (Non-Catalytic Hydrolysis) ซึง่ ประเภทแรกยังแบ่งออกได้เปน็ 2 แบบคือ แบบทีใ่ ช้คะตะลิสตจ์ ากภายนอกโมเลกลุ ของพอลิ เมอร์เร่งใหเ้ กิดการย่อยสลาย (External Catalytic Degradation) และแบบทีใ่ ช้คะตะลิสตจ์ ากจากภายในโมเลกลุ ของพอลิเมอร์เองใน การเร่งใหเ้ กิดการย่อยสลาย (Internal catalytic degradation) โดยคะตะลิสตจ์ ากภายนอกมี 2 ชนิด คือ คะตะลิสตท์ ี่เป็นเอนไซม์ ต่างๆ (Enzyme) เช่น Depolymerase lipase esterase และ glycohydrolase ในกรณีน้ีจดั เปน็ การย่อยสลายทางชีวภาพ และคะตะ ลิสตท์ ี่ไม่ใชเ่ อนไซม์ (Non-enzyme) เช่น โลหะแอลคาไลด์ (alkaline metal) เบส (base) และกรด(acid) ที่มีอยู่ในสภาวะแวดล้อมใน ธรรมชาติ ในกรณีน้จี ดั เปน็ การย่อยสลายทางเคมี สาหรับปฏิกิริยาไฮโดรไลซิสแบบทีใ่ ช้คะตะลิสตจ์ ากภายในโมเลกุลของพอลิเมอร์ น้ันใช้หมู่คาร์บอกซิล(Carboxyl Group) ของหมู่เอสเทอร์ หรือเอไมด์บริเวณปลายของสายโซ่พอลิเมอร์ในการเร่งปฏิกิริยาการย่อย สลายผ่าปฏิกิริยาไฮโดรไลซิส 4. การย่อยสลายทางชีวภาพ (Biodegradation) การย่อยสลายของพอลิเมอร์จากการทางานของจุลินทรีย์โดยทัว่ ไปมีกระบวนการ 2 ข้ันตอน เนอื่ งจากขนาดของสายพอลิเมอร์ยงั มีขนาดใหญแ่ ละไม่ละลายน้า ในขั้นตอนแรกของของการย่อยสลายจึงเกิดขึน้ ภายนอก เซลล์โดยการปลดปล่อยเอ็นไซม์ของจลุ ินทรีย์ซึง่ เกิดได้ท้ังทั้งแบบใช้ endo-enzyme หรือ เอนไซม์ที่ทาใหเกิดการแตกตวั ของพันธะ ภายในสายโซ่พอลิเมอร์อย่างไม่เปน็ ระเบียบ และแบบ exo-enzyme หรือเอนไซม์ที่ทาใหเ้ กิดการแตกหักของพนั ธะทีละหน่วยจาก
หนว่ ยซ้าทีเ่ ล็กทีส่ ดุ ที่อยู่ดา้ นปลายของสายโซ่พอลิเมอร์ เมือ่ พอลิเมอร์แตกตวั จนมีขนาดเล็กพอจะแพร่ผ่านผนังเซลลเ์ ข้าไปในเซลล์ และเกิดการย่อยสลายต่อในขั้นตอนที่ 2 ได้ผลิตภณั ฑ์ในขน้ั ตอนสดุ ท้าย (ultimate biodegradation) คือ พลังงาน และสารประกอบ ขนาดเลก็ ทีเ่ สถียรในธรรมชาติ (Mineralization) เช่น แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ แก๊สมีเทน น้า เกลือ แร่ธาตุต่างๆ และมวลชีวภาพ (biomass) *มวลชีวภาพหมายถึง มวลรวมของสสารทีเ่ กิดขนึ้ จากกระบวนการในการดารงชีวิตและเติบโตของสิง่ มีชีวิต ซึง่ รวมถึงพชื สตั ว์ และ จลุ ินทรีย์ นอกจากนี้ยงั พบวา่ มีการใช้คาวา่ พลาสติกย่อยสลายได้ในสภาวะแวดล้อมธรรมชาติ (Environmentally Degradable Plastics, EDP) ซึง่ หมายถึง พลาสติกทีส่ ามารถเกิดการเปลี่ยนแปลงสมบตั ิเนือ่ งจากปจั จยั ต่างๆ ในสภาวะแวดลอ้ ม เช่น กรด ด่าง น้า และ ออกซิเจนในธรรมชาติ แสงจากดวงอาทิตย์ แรงเค้นจากการกระทบของเม็ดฝนและแรงลม หรือจากเอนไซม์ของจลุ ินทรีย์ ทาใหเ้ กิด การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเคมี กลายเปน็ สารที่ถูกดดู ซึม และย่อยสลายต่อได้อย่างสมบูรณ์โดยจลุ ินทรีย์ได้แก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์ น้า สารอนินทรีย์ และมวลชีวภาพ เป็นผลิตภัณฑ์ขั้นสดุ ท้าย โดยการย่อยสลายและการดูดซึมนตี้ ้องเกิดขนึ้ ได้ รวดเรว็ เพียงพอที่จะไม่ทาใหเ้ กิดการสะสมในสภาวะแวดล้อม และคาวา่ พลาสติกที่เป็นมิตรต่อสภาวะแวดล้อม (Environmental Friendly Plastics) หรือ พลาสติกสีเขียว (Green Plastics) หมายถึง พลาสติกทีท่ าใหภ้ าระในการจัดการขยะลดลง และส่งผลกระทบ โดยรวมต่อสภาวะแวดล้อมน้อยกว่าพลาสติกทีใ่ ช้กันอยู่ทัว่ ไปในปจั จุบนั อตั รำกำรเกดิ ปฏิกิรยิ ำเคมี ควำมหมำยของอตั รำกำรเกดิ ปฏิกริ ิยำเคมี อตั ราการเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมีหมายถึง ความเร็วทีต่ ัวทาปฏิกิรยิ าเปล่ียนไปเปน็ สารผลิตภัณฑต์ ่อหน่วยเวลา โดยทีห่ นว่ ยความเขม้ ข้นของสาร เป็นmol/dm3ดงั น้ันอตั ราการเกดิ ปฏิกริ ยิ าเคมีจึงมกี ารเปล่ียนแปลงความเขม้ ข้นของสารต่อวนิ าทีชั่วโมง หรือวนั ทง้ั นข้ี ้นึ อยู่กับปฏิกริ ยิ าเกิดเร็วหรอื ชา้ เพยี งใด ในการศึกษาอัตราการเกดิ ปฏิกริ ิยาเคมจี ะต้องรู้ถึงชนิดของปฏกิ ิริยา ในทีน่ จี้ ะจาแนกชนิดของปฏกิ ิริยาออกเปน็ 2 ประเภท ดังนี้ 1. ปฏิกิริยำเนอ้ื เดียว (homogeneous reaction) จดั เปน็ ปฏิกิรยิ าทีส่ ารตง้ั ตน้ ทั้งหมดอย่ใู นสถานะเดยี วกัน CH4(g)+ 2O2(g)---->CO2(g) + 2H2O(g) 2. ปฏิกิริยำเน้อื ผสม (heterogeneous reaction) จดั เปน็ ปฏกิ ิรยิ าท่สี ารตา่ ง ๆ ไมไ่ ด้อยู่ในสถานะเดยี วกัน 3HCl(aq) + HNO3(aq)--->Cl2(g) + NOCl(g) + 2H2O(l) การทราบชนิดของปฏกิ ิรยิ าจะทาให้ศึกษาปัจจัยทม่ี ีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิรยิ านน้ั ได้งา่ ยข้ึน 2.ชนดิ ของอตั รำกำรเกิดปฏิกริ ยิ ำเคมี อตั ราการเกดิ ปฏิกิริยาเคมหี รืออาจจะเรยี กยอ่ ๆ วา่ อัตราการเกดิ ปฏิกริ ยิ า ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 ประเภท คอื 1. อตั ราการเกิดปฏิกริ ยิ าเฉลีย่ (Average rate)หมายถงึ อตั ราการเกิดปฏกิ ิรยิ าท่ีคดิ จากการเปลย่ี นแปลงปรมิ าณสารตงั้ ต้นท่ลี ดลง หรือ การเปลยี่ นแปลงปรมิ าณสารผลิตภัณฑ์ท่เี พ่มิ ข้ึนต้ังแตเ่ ร่ิมต้นปฏิกิริยาจนส้นิ สุดการเกิดปฏกิ ริ ยิ าหรือสน้ิ สดุ การทดลองในหนงึ่ หนว่ ยเวลา มีได้ค่าเดียว
ตัวอยา่ งปฏิกริ ิยา A(s) + B(q) → C(aq) + D(q) อตั ราการเกิดปฏิกิรยิ าเคมีนีม้ ีค่า = ปริมาณของ C ทเี่ พ่ิมขึน้ / เวลา = ปรมิ าณของ D ท่เี พิม่ ขน้ึ / เวลา = ปริมาณของ B ทลี่ ดลง / เวลา = ปรมิ าณของ A ทลี่ ดลง / เวลา 2. อัตราการเกิดปฏกิ ริ ิยา ณ ขณะใดขณะหนง่ึ (Instantaneous rate)หมายถึง อัตราการเกิดปฏิกริ ยิ าทคี่ ิดจากการเปล่ยี นแปลงปรมิ าณ สารต้ังต้นท่ีลดลง หรอื การเปลีย่ นแปลงปริมาณสารผลติ ภณั ฑ์ท่เี พิม่ ขน้ึ ณ ช่วงใดชว่ งหนึง่ ขณะท่ปี ฏิกริ ิยากาลังดาเนินอยใู่ นหน่ึงหนว่ ยเวลา ที่ช่วงนั้น อตั ราการเกิดปฏิกิรยิ านีม้ ไี ด้หลายค่า ทเ่ี วลาต่างกันจะมีค่าไมเ่ ท่ากัน คือ ตอนเรม่ิ ตน้ อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะมคี า่ มาก เมือ่ ปฏกิ ิรยิ าดาเนินต่อไป อัตรา การเกดิ ปฏิกิรยิ าจะลดลงตามลาดับ เพราะความเข้มขน้ ของสารตง้ั ต้นลดลง 3. อัตราการเกิดปฏกิ ิรยิ า ณ จดุ ใดจดุ หนง่ึ ของเวลาหมายถงึ อตั ราการเกิดปฏิกิรยิ าที่คิดจากการเปล่ียนแปลงปริมาณสารต้ังตน้ ที่ลดลง หรือการเปล่ยี นแปลงปรมิ าณสารผลติ ภณั ฑ์ทเี่ พม่ิ ขน้ึ ณ เวลาใดเวลาหนงึ่ ในชว่ งสนั้ ๆ ขณะทป่ี ฏกิ ิริยากาลังดาเนินอยใู่ นหน่ึงหนว่ ยเวลา อตั ราการ เกิดปฏกิ ิรยิ า ณ จดุ ใดจุดหนึ่งของเวลา หาได้โยการนาข้อมูลทไ่ี ดจ้ ากการทดลองไปเขียนกราฟ (ให้ปรมิ าณสารทเี่ ปลี่ยนแปลงเป็นแกนตงั้ เวลาเป็นแกน นอน) เมอื่ ต้องการทราบอตั ราการเกดิ ปฏกิ ริ ิยาทเี่ วลาใด กใ็ หล้ ากเสน้ ต้งั ฉากตรงจุดเวลานัน้ ไปตดั เส้นกราฟลากเส้นสมั ผสั ใหผ้ ่านจุดตดั แลว้ หาค่าความ ชัน (Slope) ของเสน้ สมั ผัส คา่ ความชันกค็ ือ อัตราการเกิดปฏกิ ิรยิ า ณ ขณะน้ัน ปัจจยั ทีมีผลตอ่ อัตรำกำรเกิดปฏิกิริยำ 1.ธรรมชาตขิ องสารต้งั ตน้ (Nature of reactant) สาหรับสารตา่ งชนิดกันจะสามารถเกิดปฏิกริ ิยาได้เร็วหรือช้าน้ัน ขึ้นอยู่กบั สมบตั เิ ฉพาะตัวของสารแตล่ ะชนิด เช่น โลหะโซเดียมทา ปฏกิ ิรยิ ากับนา้ เย็นได้เร็วมาก และเกิดปฏกิ ริ ิยารุนแรง ในขณะทโ่ี ลหะแมกนเี ซียมทาปฏกิ ิรยิ ากบั นา้ เยน็ ได้ช้า แต่เกิดได้เรว็ ขึ้นเม่ือใช้น้ารอ้ น ท่ีเป็นเชน่ นี้ เพราะว่า โลหะโซเดยี ม มีความว่องไวในการเกิดปฏกิ ริ ยิ าดีกว่าโลหะแมกนเี ซียม สารบางชนดิ จะทาปฏกิ ิรยิ าได้ยาก เช่นการสึกกรอ่ นของหนิ การเกดิ สนมิ เหลก็ บางชนดิ จะทาปฏกิ ริ ยิ าไดง้ า่ ย เชน่ การระเบดิ ของประทดั 2.ความเข้มขน้ ของสารต้งั ตน้ ปฏิกิรยิ าเคมโี ดยทั่วไป อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี มักข้ึนอยู่กบั ความเข้มขน้ ของสารตงั้ ต้นทเ่ี ข้าทาปฏิกริ ยิ า เช่น ปฏกิ ริ ยิ าระหวา่ งโลหะกับ กรด ถ้าเริม่ ต้นใชก้ รดท่มี ีความเข้มขน้ สูงจะเกิดการกดั กร่อนโลหะไดเ้ รว็ กว่ากรดทีม่ คี วามเข้มขน้ ต่า ดงั นั้นในกระบวนการผลติ ทางอุตสาหกรรม จงึ ต้อง ใชส้ ารเริม่ ต้นทม่ี ีความเขม้ ขน้ สงู พอทีจ่ ะทาให้ปฏิกริ ิยาเกดิ ด้วยอัตราท่ีให้ปรมิ าณผลติ ภณั ฑไ์ ดต้ ามความต้องการในเวลาสัน้ ซง่ึ เปน็ การลดตน้ ทุนทางหนงึ่ สาหรับสารปฏิกิรยิ าท่มี ีสารตัง้ ต้นมากกว่าหนง่ึ ชนดิ อัตราการเกิดปฏกิ ิริยาอาจขึ้นอย่กู ับความเข้มข้นของสารตง้ั ตน้ เพียงสารใดสารหน่ึงหรือทกุ สารกไ็ ด้ แต่มปี ฏิกิรยิ าบางชนิดท่อี ตั ราการเกดิ ปฏิกิรยิ าไมข่ ึน้ อย่กู ับความเขม้ ข้นของสารตั้งตน้ เลย กล่าวคอื ไม่ว่าจะเปล่ียนความเข้มข้นของสารตงั้ ต้นอยา่ งไร อตั ราการเกิดปฏิกริ ยิ าคงทเี่ สมอ เช่น ปฏิกิริยาการกาจดั แอลกอฮอล์ในเลอื ดของคน อัตราการสลายตวั ของแอลกอฮอลใ์ นร่างกายจะคงทไี่ มว่ ่าปรมิ าณ ของแอลกอฮอลใ์ นเลือดจะมากหรอื นอ้ ยเพียงใดกต็ าม
3.พืน้ ที่ผิวของสารตั้งต้น พื้นทีผ่ ิวของสารตั้งตน้ จะมีอทิ ธิพลตอ่ อตั ราการเกิดปฏกิ ิรยิ าเคมีก็ตอ่ เม่อื ปฏิกริ ิยาเคมีท่ีเกดิ ข้ึนน้ันเป็นปฏิกิรยิ าเคมแี บบเนอื้ ผสมที่มสี ารต้ัง ตน้ เป็นของแข็งรว่ มอยู่ด้วย เชน่ การเกดิ ปฏิกริ ิยาระหว่าง Mg และ HCl ดังสมการ Mg (s) + HCl ( aq) -------> MgCl2(aq) + H2(g) ปฏิกริ ิยาของโลหะแมกนเี ซยี มกบั กรดไฮโดรคลอรกิ จะเกดิ แกส๊ ไฮโดรเจนซึ่งถา้ ทาให้ลวดแมกนเี ซียมเป็นชิ้นเล็ก ๆ จะพบวา่ ปฏิกริ ิยาจะเกิด เรว็ กว่าลวดแมกนเี ซยี มทเ่ี ป็นแผ่นหรือขดเป็นสปรงิ การเพิม่ พื้นทผ่ี ิวของของแข็งให้สัมผสั กบั ของเหลวมากขน้ึ จะช่วยใหป้ ฏกิ ิรยิ าเกดิ ไดเ้ ร็วขึ้นหลกั การนี้ นามาใช้ในชวี ติ ประจาวนั เชน่ ในการรับประทานอาหารนกั โภชนาการแนะนาให้เคีย้ วอาหาร ใหล้ ะเอยี ดกอ่ นกลนื ลงทอ้ ง เพราะการเคี้ยวอาหารให้ ละเอียดเป็นการเพ่ิมพนื้ ทผี่ วิ ของอาหารให้มากขึน้ ทาใหก้ รดและเอนไซมใ์ นน้าย่อยในกระเพาะอาหารทาปฏิกริ ยิ ากบั อาหารไดเ้ รว็ ขนึ้ อาหารจงึ ย่อยงา่ ย ป้องกนั การเกดิ อาการจุกเสยี ด หรอื การเคย้ี วยาใหล้ ะเอียดกอ่ นกลืน ก็เปน็ การเพิม่ พื้นทีผ่ วิ เพื่อให้ยาละลายและออกฤทธ์ไิ ดด้ ียิ่งขึ้น 4.อุณหภมู ิ ปฏกิ ิรยิ าเคมีต่างๆ อตั ราการเกดิ ปฏิกิริยาจะเพ่มิ ขึ้นเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น เชน่ การบ่มผลไม้ในภาชนะทีม่ ีฝาปิด จะสกุ เร็วกวา่ การไว้ข้างนอก หรือการเก็บอาหาร ถา้ เกบ็ ไว้ในตเู้ ย็นจะเสียช้ากวา่ เกบ็ ไว้ขา้ งนอกโลหะแมกนเี ซียมทาปฏิกิริยากับนา้ เยน็ ไดช้ า้ แต่เมือ่ ทาปฏิกริ ยิ ากับนา้ ร้อนได้เร็วข้ึน 5.ตัวเรง่ ปฏิกริ ิยาและตัวหน่วงปฏิกิริยา 5.1 ตัวเร่งปฏิกริ ยิ า (Catalyst )คือ สารที่เตมิ ลงไปในปฏกิ ิรยิ าแล้ว ทาใหป้ ฏิกิริยาเกิดได้เร็วขึ้นหรอื ทาให้อัตราการเกิดปฏิกริ ยิ าเกิดได้ เพ่มิ ขน้ึ โดยทีต่ ัวเร่งปฏกิ ิริยาอาจจะมสี ว่ นรว่ มในการเกิดปฏิกริ ิยาหรือไม่ก็ได้ แต่เมื่อส้ินสุดปฏกิ ิรยิ า ตัวเรง่ ปฏกิ ริ ิยาเหลา่ นจ้ี ะต้องมปี ริมาณเทา่ เดิมและ มีสมบตั ิเหมือนเดิม ตวั อย่างของตัวเร่งปฏิกิริยาที่ใกลต้ วั เราที่สดุ ไดแ้ ก่ เอนไซม์ในรา่ งกาย เช่น อะไมเลสในนา้ ตาลที่ใช้ย่อยแปง้ หรือเพปซนิ ในกระเพาะ อาหารทใี่ ชย้ อ่ ยโปรตีน 5.2 ตัวหน่วงปฏิกิริยา ( Inhibiter ) คือ สารท่เี ติมลงไปในปฏิกริ ิยาแลว้ ทาใหป้ ฏิกริ ิยาเกดิ ชา้ ลง หรอื ทาให้อตั ราการเกดิ ปฏิกิริยาช้าลง และเมื่อส้นิ สุดปฏกิ ิริยา ตวั หน่วงปฏกิ ิรยิ าจะกลับคืนมาเหมอื นเดิมและมีมวลคงท่ี แต่สมบัติทางกายภาพเปล่ยี นแปลงไป เช่น ขนาด รปู ร่าง ตวั อย่างท่ี พบในชีวติ ประจาวนั เช่น การเตมิ วิตามินอี หรอื สาร B.H.T. ลงไปในน้ามนั พชื เพอ่ื ปอ้ งกนั การเหมน็ หืน การเตมิ โซเดยี มเบนโซเอตลงในอาหารสาเร็จรูป เพือ่ ปอ้ งกันการบดู เน่าของอาหาร ปจั จบุ ันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยเี จริญกา้ วหน้ามาก ทาให้มกี ารคิดคน้ สง่ิ อานวยความสะดวกมากมาย เชน่ รปู แบบตา่ ง ๆ ของยวดยาน พาหนะ ทางบก ทางน้า และทางอากาศยารักษาโรค เครอื่ งใช้อปุ กรณ์ตา่ ง ๆ เป็นต้น แต่สง่ิ เหลา่ นมี้ ีผลเสียเช่นเดียวกัน เชน่ แบตเตอรีชนิดตา่ ง ๆ ซ่ึงทา ดว้ ยโลหะสังกะสี นิกเกิล แคดเมยี ม และปรอท สารเหลา่ นมี้ อี ันตรายต่อมนษุ ย์ทั้งส้นิ ถ้าการใช้ การจดั เกบ็ การกาจดั ขยะในกระบวนการผลิต และการ ใช้เป็นไปอยา่ งไม่ถูกวิธี กจ็ ะเปน็ อันตรายตอ่ มนุษย์ทง้ั ส้ิน ปฏิบัติการที่ ๑ สารลดแรงตึงผิว surfactant หลกั การ น้ายาลา้ งจาน คือสารชาระล้าง (detergent) ทีใ่ ช้ช่วยในการลา้ งจาน มีส่วนผสมของสารลดแรงตึงผิว (surfactant) ที่ มีการระคายเคืองต่า ประโยชน์หลกั ของน้ายาลา้ งจานคือใช้ล้างภาชนะและเครื่องครวั ด้วยมือหลงั จากประกอบหรือ รับประทานอาหารแล้ว น้ายาลา้ งจานทาให้สิง่ สกปรกและไขมนั หลดุ จากภาชนะและรวมตัวเป็นอีมัลชนั สบู่ (soap) คอื สารเคมีทีเ่ กิดจากการทาปฏิกิริยากันระหว่างโซเดยี มไฮดรอกไซด์(ด่าง,โซดาไฟ, (NaOH) และน้ามัน ที่มาจากสตั ว์หรือพืชก็ได้ ปฏิกริยาทีเ่ กิดขนึ้ นีเ้ รียกว่า สปองซิฟิเคชน่ั ( saponification ) คณุ สมบัตขิ องสบู่หรือผลที่ไดจ้ าก
การ สปองซิฟิเคชน่ั ( saponification )นี้ จะ มีความสามารถละลายได้ท้ังในน้าและไขมนั และสามารถเกบ็ ไขมันไว้กับตวั มัน เองได้ ดว้ ยเหตุนมี้ นั จึงมปี ระสิทธิภาพในการทาความสะอาดไดเ้ ป็นอยา่ งดี วิธีทาการทดลอง 1. เทนมลงในจาน วางทิ้งไว้ให้น้านมนิง่ ๆ 2. หยดสีผสมอาหารลงไปตรงกลางจาน สลี ะ 1 หยด 3. หยดน้ายาลา้ งจานลงไปบนสีผสมอาหาร ไม่ต้องมาก ทีละ 1 หยด 4. สงั เกตการณ์เปลย่ี นแปลง บนั ทกึ ผลการทดลอง (เขียนบรรยาย) .............................................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... วิเคราะห์และอภิปราย .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... อา้ งอิงขอ้ มูลจาก .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ปฏิบัติการที่ ๒ การสกัดเบือ้ งต้น โดยตวั ทาละลาย การสกดั ด้วยตวั ทาละลาย (sovent extraction) เป็นวธิ ที ี่ใช้กนั อย่างกว้างขวาง ในอุตสาหกรรม เช่น การสกดั น้ามนั พชื เพื่อใช้ ประกอบอาหาร โดยนาวัตถดุ บิ มาจากเมลด็ ของพืชชนดิ ต่าง ๆ ได้แก่ เมล็ดทานตะวนั ถ่วั เหลอื ง ปาลม์ ถ่วั ลิสง ขา้ วโพด เมลด็ บัว งา และราข้าว ในการสกัดน้ามันพชื นยิ มใช้เฮกเชนเปน็ ตวั ทาละลาย หลังการสกัดจะได้สารละลายที่มีน้ามันพชื ละลายอยู่ในเฮกเซน จากน้ันนาไปกรองเอากากเมล็ดพชื ออก แล้วนาสารละลายไปกลน่ั แยกลาดับสว่ นเพือ่ แยกเฮกเซนจะได้น้ามันพชื ซึ่งตอ้ งนาไป ฟอก สี ดดู กลิ่น และกาจดั สารอืน่ ๆ ออกก่อน จึงจะได้นา้ มนั พชื สาหรับใช้ปรุงอาหาร ท้ังน้ี การสกัดด้วยตัวทาละลาย เปน็ วธิ กี ารแยก
สารทีใ่ ช้มากในชีวติ ประจาวนั เปน็ การแยกสาร ทีต่ ้องการออกจากสว่ นต่าง ๆ ของพืชหรือจากของผสมตอ้ งเลอื กตัวทาละลายที่ เหมาะสมในการสกัดสารทีต่ ้องการการเลือกตัวทาละลายที่นามาใช้ในการสกัดมีหลักทั่วไป ดงั นี้ 1. ต้องละลายสารที่ต้องการสกดั ได้ดี 2. ไม่ทาปฏิกิริยากับสารที่ต้องการสกดั 3. ถ้าต้องการแยกสี ตวั ทาละลายจะต้องไม่มีสี ถ้าต้องการแยกกลิ่น ตวั ทาละลายต้องไม่มีกลิน่ 4. ไม่มพี ิษ มีจดุ เดือดตา่ และแยกตัวออกจากสารที่ต้องการสกดั ได้ง่าย 5. ไม่ละลายปนเปน็ เนื้อเดียวกบั สารทีน่ ามาสกดั 6. มีราคาถกู อปุ กรณแ์ ละสารเคมี .............................................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... ข้นั ตอนการทดลอง เขียนในรูปแบบบรรยาย .............................................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... บันทกึ ผลการทดลอง (เขียนบรรยาย) .............................................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... .วิเคราะหแ์ ละอภิปราย .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... อ้างอิงข้อมลู จาก .......................................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................................
ปฏิบัติการที่ ๓ พลาสติกในชีวิตประจาวนั ชื่อผลิตภัณฑ์ ชนดิ พอลิเมอร์ ประเภทพอลิเมอร์ โครงสรา้ ง มอนอเมอร์ โครงสร้าง พอลิเมอร์ ประโยชนข์ อง ยางนดิ น้ี
ปฏิบัติการที่ ๔ การหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี หลักการ .............................................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... อุปกรณแ์ ละสารเคมี .............................................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... ข้นั ตอนการทดลอง เขียนในรปู แบบ แผนผัง Flow Chart .............................................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................................
บนั ทกึ ผลการทดลอง (เขียนบรรยาย) .............................................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... คานวณอตั ราการเกิดปริกิรยิ าเคมี .............................................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .วิเคราะหแ์ ละอภิปราย .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... อา้ งอิงขอ้ มลู จาก .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .........................................................................................................................................................................................
ปฏิบตั ิการที่ ๕ ปัจจยั ทีม่ ีผลต่ออตั ราการเกิดปฏิกิริยาเคมี หลักการ .............................................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... . อุปกรณ์และสารเคมี .............................................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... ขัน้ ตอนการทดลอง เขียนในรปู แบบ .............................................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... บันทกึ ผลการทดลอง (เขียนบรรยาย) .............................................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................................
.วิเคราะหแ์ ละอภิปราย .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... อ้างอิงขอ้ มลู จาก .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... แบบฝกึ ท้ำยปฏบิ ัตกิ ำร 1. ถา้ เผาผงเหล็กกบั แก๊สออกซเิ จนจะเกิดการลุกไหมท้ ันที แต่ถ้าใชต้ ะปเู หลก็ ปฏิกริ ิยาจะเกิดขนึ้ ช้ามาก เพราะเหตุใด 2. เมื่อวางลวด Mg ไว้ในอากาศ Mg จะทาปฏกิ ริ ิยากับออกซิเจน ในอากาศอย่างช้าๆ ไดเ้ ป็น MgO แต่ถา้ เผาลวด Mg จะลกุ ไหมอ้ ยา่ งรวดเร็ว ได้ MgO ก. พลงั งานกอ่ กัมมันต์ของปฏกิ ิริยาทั้งสองระบบนเี้ ทา่ กนั หรอื ไม่ เพราะเหตุใด ข. เหตใุ ดปฏิกิริยาในระบบหลงั จึงเกิดข้ึนไดร้ วดเรว็ กวา่ ระบบแรก 3. ถา้ อตั ราการระเหยของนา้ บรสิ ทุ ธใิ์ นภาชนะทรงกระบอกใบหน่งึ มีคา่ 55.56 mol/s ทค่ี วามดัน คงท่ี จงเสนอวิธที ท่ี าใหน้ า้ ในภาชนะนรี้ ะเหยด้วยอตั ราเร็วเพิม่ ข้ึน 4. เมอื่ ผสมแกส๊ ออกซิเจนและไฮโดรเจนท่อี ุณหภูมิห้องจะไม่เกิดปฏิกริ ยิ า แต่ถา้ นาแกส๊ ทัง้ สองนี้ มาผสมกนั บนผวิ ของโลหะแพลทนิ มั ปฏกิ ิรยิ าจะเกดิ ขึ้นทันทีเพราะเหตุใด
ปฏกิ ิริยำเคมี คอื กระบวนการทีเ่ กดิ จากการท่ีสารเคมีเกิดการเปล่ยี นแปลงแลว้ ส่งผลให้เกิดสาร ใหม่ขึน้ มาซึ่งมีคุณสมบัติเปลีย่ นไปจากเดิม การ เกิดปฏกิ ิริยาเคมีจาเป็นตอ้ งมสี ารเคมีตัง้ ต้น 2 ตัวขนึ้ ไป (เรียกสารเคมีตัง้ ตน้ เหล่าน้ีวา่ \"สารตั้งต้น\" หรอื reactant)ทาปฏิกริ ยิ าตอ่ กัน และทาให้เกิดการเปลีย่ นแปลงในคุณสมบัตทิ างเคมี ซง่ึ ก่อตัวขน้ึ มาเปน็ สารใหม่ทเี่ รียกวา่ \"ผลิตภัณฑ์\" (product) ซ่งึ สารผลิตภัณฑม์ ี คุณสมบตั ทิ างเคมที เ่ี ปลยี่ นไปจากเดิม . หลังจากการเกดิ ปฏิกิรยิ าเคมอี ะตอมท้งั หมดของสารตงั้ ตน้ ไมม่ กี ารสญู หายไปไหนแตเ่ กดิ การแลกเปลยี่ นจากสารหนงึ่ ไปสอู่ ีกสารหน่ึง ซึ่งจะเห็นได้จากผลรวมของอะตอมของสารต้งั ตน้ จะเท่ากบั ผลรวมของอะตอมของผลิตภณั ฑ์ ไฟฟ้ำเคมี เป็นการศกึ ษาเกยี่ วกับปฏกิ ิรยิ าเคมีที่ทาให้เกิดกระแสไฟฟ้า กระแสไฟฟา้ ทาให้เกดิ ปฏิกิรยิ าเคมีหากใช้การถ่ายเท อเิ ล็กตรอนเป็นเกณฑแ์ ล้ว ปฏกิ ิริยาเคมีแบง่ เป็น 2 ประเภท 1. ปฏกิ ิรยิ าทม่ี ีการถา่ ยเท e- เรียกวา่ ปฏิกิริยารีดอกซ์ (Redox Reaction) 2. ปฏิกิรยิ าทไี่ ม่มีการถ่ายเท e- เรยี กวา่ ปฏกิ ิริยานอนรดี อกซ์ (Nonredox Reaction) ปฏิกิรยิ ำรดี อกซ์ (Redox Reaction หรือ Oxidation-reduction Reaction) ปฏิกริ ิยารีดอกซ์ หมายถึง ปฏิกิรยิ าที่เกี่ยวกับการถ่ายเท e- ตัวอยำ่ ง เมอ่ื นาแผน่ โลหะทองแดง (Cu) จุม่ ลงในสารละลายของ AgNO3 พบว่าทีแ่ ผ่นโลหะ Cu มีของแขง็ สีขาวปนเทามา เกาะอยู่ และเมอื่ นามาเคาะจะพบวา่ โลหะ Cu เกิดการสึกกรอ่ น ส่วนสขี องสารละลาย AgNO3 ก็จะเปลยี่ นจากใสไม่มสี เี ป็นสีฟ้า การเปลี่ยนแปลงที่เกดิ ขนึ้ น้อี ธบิ ายไดว้ ่าการทโ่ี ลหะทองแดงเกิด การสกึ กร่อนเปน็ เพราะโลหะทองแดง(Cu)เกิดการเสยี อเิ ล็กตรอน กลายเปน็ Cu2+ ซึ่งมสี ฟี ้าและเมื่อ Ag+ รับอเิ ล็กตรอนเขา้ มาจะกลายเป็น Ag (โลหะเงิน) มาเกาะอยู่ทีแ่ ผน่ โลหะทองแดง ปฏิกริ ยิ าทเ่ี กดิ ขึน้ 1.1 เซลลแ์ ห้งหรือถา่ นไฟฉาย เซลล์แหง้ หรอื บางทีเรียกวา่ เซลลเ์ ลอคลัง เซลล์ (leclanche cell) เป็นเซลล์ท่ีใชใ้ นไฟฉาย ซึ่งมลี กั ษณะตามรปู ที่ 1. กลอ่ งของเซลล์ ทาดว้ ยโลหะสังกะสซี งึ่ ทาหนา้ ทีเ่ ปน็ ข้วั ลบ สว่ นแท่งคาร์บอนหรอื แกไฟต์ทาหนา้ ทีเ่ ปน็ ขว้ั บวก ภายในกลอ่ งระหวา่ งสองอิเล็กโตรด บรรจดุ ว้ ยของผสมของแอมโมเนยี มคลอไรด์, แมงกานีส (IV) ออกไซด์,ซิงค์ (II) คลอไรด์, ผงคาร์บอนกับของแขง็ อน่ื ทไี่ มม่ ีส่วนในการ ทาปฏกิ ริ ยิ าและทาให้ช่มุ ดว้ ยน้า ระหวา่ งของผสมเหลา่ นกี้ ับกลอ่ งสังกะสีกั้นด้วยกระดาษพรุน ตอนบนของเซลล์ผนึกดว้ ยวัสดทุ ี่ สามารถรกั ษาความช้ืนภายในเซลล์ให้คงทเ่ี มือ่ เซลลท์ าหน้าทจ่ี ่ายไฟฟ้า Zn จะละลายเป็น Zn2+เปน็ เหตใุ ห้กลอ่ งสงั กะสีเปน็ ขั้วลบ ปฏกิ ริ ิยาที่เกิดข้นึ จึงเป็นปฏกิ ิริยาออกซเิ ดชนั Zn(s) ————> Zn2+(aq) + 2e–
ท่ขี วั้ บวก แมงกานีส(IV) ออกไซดก์ ็จะถกู รดี ิวซ์ ซง่ึ มปี ฏกิ ริ ิยาคร่งึ เซลล์เปน็ ดงั นี้ 2MnO2(s) + 8NH4+(aq) + 2e—->2Mn3+(aq)-4H2O + 8NH3<(aq) เพราะฉะน้ันปฏกิ ริ ยิ าสทุ ธิทไ่ี ด้จากปฏกิ ริ ยิ าครงึ่ เซลลท์ ัง้ สอง จงึ เปน็ Zn(s) +2MnO2(s) + 8NH+4(aq)——–>Zn2+(aq) + 2Mn3+(aq) + 8NH3(aq) +4H2O ถา้ มีการจา่ ยกระแสไฟฟา้ มากกจ็ ะทาให้เกดิ NH3 ขนึ้ ซึง่ จะเขา้ ทาปฏกิ ริ ยิ ากับ Zn2+ เกดิ เปน็ ไอออนเชงิ ซอ้ น เป็นตน้ วา่ [Zn(NH3)4]2+ และ [ Zn(NH3)4 ]2+ และ [ Zn(NH3)2(H2O)2]2+ เซลล์แหง้ ดังกล่าวจะให้ศกั ย์ไฟฟา้ ประมาณ 1.5 โวลต์ การเกดิ ไอออนเชงิ ซ้อนช่วยรักษาความเข้มข้นของ Zn2+ ไม่ใหส้ งู ขนึ้ จงึ ทาให้ศักย์ไฟฟ้าของเซลลเ์ กือบคงท่ีเป็นเวลานาน พอสมควร
\"กำรสืบคน้ ข้อมลู ถือว่ำเปน็ งำนทีส่ ำคญั อยำ่ งย่ิงสำหรบั กำรทำโครงงำนหรืองำนวิจัย เน่ืองจำกกำรสืบค้นข้อมลู เปน็ จุดเริ่มต้นของกำรหำข้อมูลเกีย่ วกับเรอื่ งทสี่ นใจ\" กำรสบื ค้นข้อมูลเป็นจุดเร่มิ ต้นของกำรหำขอ้ มูลเกย่ี วกบั เร่อื งนักเรียนสนใจ หรือสืบคน้ เพอ่ื ศึกษำเอกสำรกำรเขียน บทนำ เอกสำรท่ีเกีย่ วข้องกบั กำรทำโครงงำน งำนวจิ ัยเพอ่ื ศกึ ษำและเป็นแนวทำงในในเรอื่ งที่ตนเองจะทำ ล้วนแต่ต้องใช้ ข้อมลู ท้ังน้ัน ซง่ึ แหลง่ สืบค้นขอ้ มูลในปจั จุบนั มมี ำกมำย แหล่งสบื ค้นทใ่ี หญ่ที่สดุ ทน่ี กั เรยี นนิยมเขำ้ ไปสบื คน้ ข้อมลู และเปน็ แหล่งสบื ค้นทสี่ ะดวก คือ หอ้ งสมดุ และอินเทอร์เนต็ อยำ่ งไรก็ตำมแหลง่ ทจ่ี ะไดม้ ำซงึ่ ข้อมลู นอกจำกแหลง่ สบื ค้นทีก่ ล่ำว มำแลว้ ยงั มีหอ้ งเรียน เพอ่ื น ครูทีป่ รึกษำหรือแมก้ ระท่งั แหลง่ เรียนรู้รอบตวั ของนกั เรียนนัน้ เอง แตถ่ งึ จะมแี หลง่ สืบคน้ ขอ้ มลู มำกมำย แตถ่ ำ้ ไม่รู้วิธสี บื ค้นหรือหลกั กำร เทคนคิ ก็จะทำใหไ้ ม่ได้ข้อมูลตำมทตี่ ้องกำร ดังน้นั นักเรียนจงึ จำเป็นตอ้ งทรำบถึง หลกั กำรและวิธกี ำรสบื คน้ ขอ้ มูล เพ่ือทำใหป้ ระหยัดเวลำ งบประมำณ แรงงำนในกำรสืบค้นข้อมูลดว้ ย >> แหลง่ สืบคน้ ข้อมูล << แหลง่ สบื คน้ ขอ้ มูลท่ีนกั เรยี นปัจจุบนั ใชเ้ ปน็ ประจำคือ ห้องสมดุ และอนิ เทอร์เน็ต ซงึ่ แต่ละแหลง่ สบื คน้ จะมี แหลง่ ขอ้ มูลให้สบื คน้ มำกมำย และวิธกี ำรสบื คน้ ทแ่ี ตกตำ่ งกนั ดังน้ันเพ่อื ให้เขำ้ ถงึ แหล่งขอ้ มลู ทตี่ อ้ งกำรอยำ่ งแทจ้ ริง นกั เรยี น ต้องรู้วธิ ีกำรสบื คน้ เพ่ือควำมสะดวก รวดเร็วและทสี่ ำคญั ตรงกบั ควำมต้องกำรของนกั เรยี น ตัวอย่ำงแหล่งขอ้ มูลทีส่ ำคัญทใี่ ช้ เปน็ ประจำมดี งั นี้ 1. หอ้ งสมุด เปน็ สถำนทรี่ วบรวมสรรพวิทยำกำรตำ่ ง ๆ หลำยสำขำ ซึง่ ไดบ้ นั ทกึ ไว้ในรปู ของหนังสอื วำรสำร ตน้ ฉบบั ตัวเขียน สิง่ ตีพิมพ์อน่ื ๆ หรอื โสตทศั นวสั ดุ และมกี ำรจัดระเบยี บเพอ่ื สะดวกแก่กำรคน้ คว้ำและบรกิ ำร และเปน็ แหลง่ สบื คน้ ขอ้ มลู ทท่ี ุกมหำวิทยำลยั มอี ยู่แลว้ บำงมหำวทิ ยำลยั แยกตำมคณะและห้องสมุดรวม ซง่ึ หอ้ งสมดุ เป็นแหล่งขอ้ มูลท่มี ี ควำมหลำกหลำย ประกอบด้วย 1.1 หนังสอื ตำรำและเอกสำรทำงวิชำกำร หนังสือ หมำยถงึ ข้อควำมท่พี ิมพ์หรือเขียนแลว้ รวมเปน็ เล่ม เชน่ หนงั สอื วิชำกำร หนงั สือ ประเภทสำรคดี หนังสือบันเทิง หนงั สืออำ้ งอิง วำรสำร นติ ยสำร จุลสำร เป็นตน้ เป็นแหล่งสบื คน้ ข้อมูลลำดับแรกท่นี ักเรียน ได้อ่ำนและคน้ ควำ้ ตลอดเวลำ ถือว่ำเป็นแหลง่ รวบรวมควำมรทู้ ั้ง กฎ ทฤษฏี ท่ีนกั เรยี น สำมำรถศกึ ษำค้นคว้ำนำมำอ้ำงอิงใน โครงงำนได้ มีหลำกหลำยสำขำทำงวิทยำศำสตร์ คณิตศำสตร์ หรือทำงคอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยเี ปน็ ตน้ โดยหนงั สือถอื เป็นแหล่งอ้ำงอิงท่ีสำคญั ในกำรอำ้ งในบทที่ 1 และบทท่ี 2 ซ่งึ กำรคดั เลือกเนื้อหำจำกหนังสือมำนน้ั นักเรียนควรมกี ำร คัดเลือก สงั เครำะหเ์ น้อื หำทตี่ รงกบั เรอื่ งทจี่ ะศึกษำค้นคว้ำอย่ำงแท้จรงิ รวมทง้ั ควรเลอื กเนอื้ หำทใ่ี หม่ ทันต่อเหตกุ ำรณ์ ปัจจบุ นั เพรำะเนื้อหำในหนงั สอื บำงเล่มไม่สำมำรถนำมำอ้ำงอิงในเหตกุ ำรณป์ จั จุบันได้ กำรศกึ ษำคน้ คว้ำจำกหนงั สอื โดยทัว่ ไปไม่ควรเกิน 10 ปี ยอ้ นหลัง ยกเวน้ กรณีไมม่ ใี นเรือ่ งนั้นจริง ๆ สำมำรถนำมำอ้ำงอิงได้เชน่ เดียวกัน เชน่ สูตร สถิติ สูตรคณิตศำสตร์ เปน็ ต้น และเม่ือนำเอำขอ้ ควำมจำกหนงั สอื เล่มใด นกั เรยี นอย่ำลืมเขียนอำ้ งองิ ด้วย เพือ่ ใหเ้ กียรตแิ ก่ เจ้ำของขอ้ ควำมหรือหนังสือเลม่ นน้ั ดว้ ย ส่วนมำกแลว้ นกั เรียนมกั จะลมื และไมใ่ หค้ วำมสำคัญเท่ำที่ควร
1.2 วำรสำร (Journal) สิ่งพิมพ์ทเ่ี ผยแพรบ่ ทควำมควำมรู้เร่อื งรำวต่ำง ๆ ภำยใตช้ อ่ื เดียวกนั มีกำรกำหนดเป็นระยะ เช่น รำยสปั ดำห์ รำยเดอื น รำย สำมเดือน เปน็ ตน้ ถือว่ำเปน็ สงิ่ พมิ พอ์ ยำ่ งหน่ึงท่ีรวมแหล่งข้อมลู ทเี่ ปน็ ปัจจบุ นั มำกทส่ี ดุ สำมำรถนำมำอำ้ งองิ ได้ มักจัดทำโดย สถำบนั กำรศกึ ษำ หนว่ ยงำนรำชกำร มักจะเผยแพรส่ ำรนิเทศ ใหม่ ๆ ในรปู แบบบทควำมรู้ ตวั อย่ำงเชน่ วำรวทิ ยำศำสตร์ วำรสำรวิทยำศำสตรส์ ุขภำพ วำรสำรทำงเทคโนโลยี เปน็ ต้น ดงั นัน้ วำรสำรจงึ ถอื ว่ำเปน็ แหลง่ ขอ้ มลู ทีน่ ักเรยี น ควรศกึ ษำค้นคว้ำเปน็ ประจำ เพรำะมขี ้อมูลดำ้ นกำรวิจยั บทควำมใหม่ ๆ รวมทั้งทรำบควำมก้ำวหนำ้ วำ่ ปัจจุบนั มกี ำรศกึ ษำ วิจยั เนน้ ไปทำงดำ้ นใดบ้ำง 1.3 หนังสือพิมพ์ เป็นสอื่ สง่ิ พมิ พอ์ ีกแบบหนงึ่ ที่เรียนสำมำรถค้นคว้ำได้เชน่ เดยี วกัน ม่งุ เสนอข่ำวสำรควำมรู้ทท่ี ันสมยั มีกำรกำหนดกำรออก หนงั สอื พมิ พอ์ ยำ่ งต่อเนอ่ื ง เสนอขำ่ วสำรท้ังภำยในและต่ำงประเทศ และเปน็ เรือ่ งรำวที่น่ำสนใจในดำ้ นเตำ่ ง ๆ หนงั สอื พิมพ์ มักจะประกอบดว้ ย บทบรรณำธิกำร เน้ือข่ำว บทควำมรู้ คอลัมนป์ ระจำ เป็นข้อมลู ทีน่ กั เรียน อำ้ งองิ ได้ ซ่ึงเมอื่ นำขอ้ มลู มำใช้ แลว้ สงิ่ หน่ึงทพี่ ึงควรระวัง คือ กำรอำ้ งอิงที่มำของข้อมลู น้นั เอง ดังนน้ั เมอ่ื เรำนำเนื้อหำจำกสว่ นใด ควรมีกำรอำ้ งอิงให้ ถกู ตอ้ ง 1.4 งำนวจิ ัยและวิทยำนิพนธ์ เป็นสง่ิ พิมพท์ เี่ ป็นผลงำนทม่ี ีหลำกหลำยสำขำ ซงึ่ ห้องสมุดจัดแยกต่ำงหำกจำกหนังสือทว่ั ไปเพ่ือควำมสะดวกในกำรค้นคว้ำ ถอื วำ่ เปน็ หนังสอื อำ้ งองิ ทีน่ กั เรยี นสำมำรถสบื คน้ และศึกษำเพอื่ เปน็ แนวทำงกำรทำโครงงำนของตนเองได้อย่ำงถกู ต้อง แต่ อย่ำงไรกต็ ำมในกำรเลอื กงำนวิจยั หรอื วทิ ยำนิพนธม์ ำเปน็ แนวทำงหรอื เปน็ ตวั อยำ่ งในกำรทำโครงงำนของตนเองน้นั ควรมี กำรเลือกหลำย ๆ เร่อื ง เพรำะคณุ ภำพของงำนวิจยั และวิทยำนิพนธแ์ ตกต่ำงกนั เพ่ือมีกำรเทียบเคยี งควำมถูกตอ้ ง แล้วเลือก มำเป็นตวั อยำ่ ง ถ้ำเรำเลอื กเลม่ ท่ีทำไมถ่ ูกต้องนำมำเปน็ แนวทำงก็จะทำใหน้ สิ ิต นกั ศกึ ษำดำเนนิ กำรผดิ ดว้ ยเชน่ กัน 1.5 CD ROM เปน็ ฐำนข้อมูลโสตทัศนวัสดุ ในปัจจุบันมจี ำนวนมำกในห้องสมุด เป็นกำรเก็บรวบรวมขอ้ มลู บนั ทกึ ลง CD จัดเกบ็ เป็น หมวดหมู่ เช่น วดี ิทศั น์ เสยี ง ภำพ ในแต่ละหมวดหมูจ่ ะแบง่ ย่อย วิชำกำร (หนังสอื งำนวชิ ำกำร วำรสำร) บนั เทงิ สำร คดี เป็นตน้ ซึง่ นักเรียนสำมำรถยมื มำสบื คน้ และคัดเนื้อหำทีต่ อ้ งกำรได้ สำมำรถเลอื กสบื ค้นได้จำกเมนูหน้ำจอ โดยเมนู หน้ำจอจะให้ผู้คน้ เลอื กสืบค้นไดต้ ำมรำยกำร ได้แก่ ชือ่ ผู้แต่ง(Authors) ชอื่ เร่อื ง (Title) หวั เรื่อง (Subject) คำสำคญั (Key Word) เป็นต้น 1.6 ฐำนขอ้ มลู ออนไลน์ เป็นแหลง่ ขอ้ มูลอีกชนดิ หนง่ึ ณ ปจั จบุ ันไดร้ ับควำมนยิ มในกำรสบื ค้นขอ้ มลู มีทง้ั ฐำนขอ้ มลู ของไทยและตำ่ งประเทศ ซ่ึง ข้อมูลนนั้ สำมำรถแยกได้ 2 ประเภท จำแนกตำมกำรสืบค้น คอื ฐำนข้อมูลออนไลน์ทีส่ ำมำรถสืบค้นได้เฉพำะภำยใน มหำวิทยำลยั เท่ำนน้ั เป็นฐำนข้อมลู ท่ีทำงมหำวิทยำลัยได้จัดซื้อลขิ สทิ ธมิ์ ำและฐำนขอ้ มลู ท่ัวไปสำมำรถสบื คน้ ทีใ่ ดกไ็ ด้ ซึ่ง ฐำนขอ้ มลู จะเป็นแหลง่ รวบรวมวำรสำร งำนวจิ ัย วิทยำนิพนธ์ บทคดั ย่อ ผเู้ ขยี นขอยกตัวอยำ่ งฐำนขอ้ มูล
ตัวอย่ำงกำรอำ้ งองิ กำรอำ้ งอิงเอกสำร 1. การอา้ งองิ ในเนือ้ หา ใหใ้ ชว้ ธิ ีการอา้ งอิงแบบนาม-ปี โดยระบชุ อื่ ผู้เขยี น ปที พ่ี ิมพ์ และเลขหน้าเอกสารไว้ข้างหลังของข้อความท่ี ตอ้ งการอา้ งองิ เชน่ (Athikom, S, 2014, pp. 31) 2. การอ้างองิ ท้ายบทความ ใหร้ ะบเุ อกสารทใี่ ช้อ้างองิ ไว้ท้ายบทความ โดยเรยี งตามลาดับตวั อกั ษรใช้รปู แบบการเขยี นอา้ งองิ ตาม ระบบ APA Style 6th ed. ต่อไปน้ี อำ้ งอิงจำก รปู แบบและตวั อยำ่ ง หนงั สอื ทั่วไป วารสารและนิตยสาร ช่ือผู้แต่ง. (ปีท่พี มิ พ)์ . ชอื่ เรอ่ื ง ชือ่ วารสาร, ปีที่ (ฉบับท)่ี , หน้าแรก-หนา้ สุดท้าย ตวั อยำ่ ง : สุชาดา ตั้งทางธรรม. (2545). การแปรรปู รฐั วิสาหกจิ : กรณโี รงงานยาสูบ กระทรวงการคลัง. วารสารสโุ ขทัยธรรมาธิราช, 15(3), 23-37. ตัวอยา่ ง Athikom, S. (2014). Accuracy of shooting 2 model. Nonthaburi: Sukhothai Thammathirat Open University Printing House. บทความในหนงั สอื รูปแบบการเขียน ชือ่ ผู้เขยี นบทความ./(ปีพมิ พ)์ ./ชื่อบทความ./ใน/ชื่อผู้แตง่ (บรรณาธิการ),/ชอ่ื หนงั สือ ////////(ครั้งท่ีพิมพ์), เลขหน้าที่ปรากฏบทความจากหนา้ ใดถงึ หนา้ ใด)./สถานท่พี ิมพ์:/ ////////สานักพิมพ์. ตัวอยา่ ง Saowanee chumdermphadejsuk. (1991). Acute Asthma Treatment in Children. in Somsak Lohlekha, Chaleerat Dilekwattanacha and Montree Tuchinda (Editor), Clinical Immunology and Allergy. (p. 99-103). Bangkok: The Royal College of Pediatricians of Thailand & Pediatric Society of Thailand. บทความวารสารออนไลน์ รูปแบบการเขียน ช่อื ผแู้ ตง่ ./(ปีพิมพ์)./ชื่อบทความ./ช่อื วารสาร,/ปีที่/(ฉบับท่)ี ,/เลขหนา้ -เลขหนา้ . ////////URLของวารสาร
ตัวอย่าง Chunhachinda, P. (2017). FinTech: Towards Thailand 4.0. Electronic Journal of Open and Distance Innovative Learning, 8(1), 7 (1), 23-37. http://e- jodil.stou.ac.th/filejodil/14_0.pdf บทความในเอกสารประกอบการประชุมวชิ าการท่ีพิมพ์เผยแพร่ รูปแบบการเขยี น ช่อื ผแู้ ตง่ ./(ปที พ่ี มิ พ์)./ชื่อเร่อื ง./ใน/สถานท่ีจดั ,/ช่ือการประชุม./(หนา้ )./สถานทพ่ี ิมพ:์ สานกั พิมพ์. ตัวอยา่ ง Deci, E. L., & Ryan, R. M. (1991). A motivational approach to self: Integration in personality. In R. Dienstbier (Ed.), Nebraska Symposium on Motivation: Vol. 38. Perspectives on motivation (pp. 237-288). Lincoln: University of Nebraska Press. รูปแบบการเขยี น ชื่อผเู้ ขียนวิทยานิพนธ์./(ปพี ิมพ์)./ชอ่ื วิทยานิพนธ.์ /(วทิ ยานพิ นธ์ปริญญามหาบณั ฑติ //////// หรือวทิ ยานิพนธ์ปรญิ ญาดุษฎบี ณั ฑติ ,/ช่ือมหาวทิ ยาลัยหรือสถาบันการศกึ ษา). ตัวอยา่ ง Athikom, S. (2007). EFFECT OF ACCURACY TRAINING IN TWO - GOAL SHOOTING MODELS. (Master' s thesis) Faculty of Physical Education, Srinakharinwirot University เว็บไซต์ รปู แบบการเขยี น ช่ือผเู้ ขยี น./ (ปีที่เผยแพร่ทางอนิ เทอรเ์ น็ต)./ ชื่อเร่ือง./ สบื ค้นเมอ่ื วัน เดือน ปี,/ จาก เวบ็ ไซต:์ ///////URL Address ตวั อยา่ ง Jairaksa, S. (2017).Promote Technical Occupations. Retrived May 29, 2018, from http://cddata.cdd.go.th/cddkm/prov/km2_viewlist.php?action=view&div= 64&kid=28748.
แบบฝกึ หดั การเขยี นสตู รโครงสรา้ งไฮโดรคารบ์ อน สตู รโมเลกลุ สตู รโครงสรำ้ ง สูตรโมเลกุล สตู รโครงสรำ้ ง C2H6 C3H8 C4H10 C4H10 C5H12 C5H12 C6H14 C6H14 C3H8O C3H8O C3H6O C3H6O C3H6O2 C3H6O2 C2H4 O2 C2H4 O2
กจิ กรรมที่ 1 กระบวนการผลิตยางพารา สายพนั ธ์ุยางพารา ทีน่ ิยม .......................................................................................................................................... พ้นื ที่ทีน่ ิยมปลูกยางพารา ............................................................................................................................................ สูตรสารเคมีอยา่ งพารา มอนอเมอร์ พอลเิ มอร์ กระบวนการผลิตยางพารา (วาดเป็นแผนผัง) ผลิตภณั ฑ์ที่ทาจากยางพารา .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... อ้างอิงข้อมูลจาก .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .........................................................................................................................................................................................
กจิ กรรมที่ ๒ ผลกระทบจำกผลิตภณั ฑ์พอลเิ มอรใ์ นประเทศ วำดอินโฟกรำฟฟกิ แสดงปัญหำจำกขำ่ ว เน้อื หาข่าว .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... เสนอวิธีแกไ้ ขปัญหา .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... อ้างอิงขอ้ มูลจาก .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .........................................................................................................................................................................................
กจิ กรรมที่ 3 กำรสืบคน้ และอ้ำงองิ ทำงวทิ ยำศำตร์ ให้นำผลิตภณั ฑ์ท่ีนักเรียนมำ เพอ่ื ศึกษำสว่ นประกอบ ผลติ ภณั ฑ์ทีน่ ักเรยี นเลอื ก ............................................. ประเภทของผลิตภัณฑ.์ ............................................. เขียนส่วนประกอบ (แบบบรรยำย) ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ตำรำงสว่ นประกอบและสมบัตทิ ำงเคมี ลำดบั ช่ือสำร สูตรโครงสร้ำง คณุ สมบัติ 1 2 3 4 5 อา้ งอิงข้อมลู จาก .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .........................................................................................................................................................................................
กจิ กรรมที่ 4 กำรสืบค้นขอ้ มูลทำงพฤกษศำสตร์ โดยให้นักเรยี นเลอื กพชื ท่นี ักเรยี นสนใจภำยในโรงเรยี นพร้อม ทั้งตรวจสอบข้อมลู ของพืชชนิดนั้นดงั ต่อไปนี้ จำกอินเตอเนต็ ชือ่ สำมญั ............................................................................................................................................................... ชื่อวทิ ยำศำสตร์ ...................................................................................................................................................... วงศ์ ...................................................................................................................................................................... ถิน่ กาเนดิ ................................................................................................................................................................. สถานที่ที่พบ ในโรงเรยี น ......................................................................................................................................... การใช้ประโยชน์ ................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................. ความสูง ................................................................................................................................................................ ลักษณะลาต้น ....................................................................................................................................... ลักษณะใบ ............................................................................................................................................................... อา้ งอิงขอ้ มูลจาก .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .........................................................................................................................................................................................
Search
Read the Text Version
- 1 - 39
Pages: