บทที่ ๑ แนวคิด หลกั การ และทฤษฎกี ารพยาบาลจติ เวชอาจารยป์ รีดานนั ต์ ประสทิ ธิ์เวช
หวั ขอ้ / สาระความรู้๑. หลักการพยาบาลจติ เวช๒. แนวโน้มสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวช๓. คณุ ลกั ษณะของพยาบาลจิตเวช๔. บทบาทหนา้ ทีค่ วามรบั ผิดชอบของพยาบาลจติ เวช๕. ทฤษฎีท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั การพยาบาลจิตเวช๖. พรบ.สขุ ภาพจิต ๒๕๕๑
ความหมายของสขุ ภาพจิต สุขภาพจิต (Mental health) เป็นภาวะทางบวกที่บุคคลมีความพึงพอใจกับสภาพที่ตนเองได้ปรับตัวเข้ากับสถานการณ์ สิ่งแวดล้อมตลอดจนการทําให้บุคคลท่ีอยู่รอบตัวมีความสุข ยอมรับผู้อื่นและเป็นตัวของตัวเอง พร้อมท่ีจะเผชิญปัญหาต่าง ๆ ได้ ใช้สติปัญญาอย่างสุขุมเพ่ือแกไ้ ขปญั หาต่าง ๆ ไดอ้ ย่างเหมาะสม
ความหมายของการเจบ็ ปว่ ยทางจติ การเจ็บป่วยทางจิต (Mental illness) หมายถึง ความไมส่ มดุลระหว่างบคุ คลกบั สภาพของ ชวี จิตสังคมและสง่ิ แวดล้อมของบุคคล ทําให้บุคคลเกิดภาวะไม่สุขสบาย รู้สึกถูกบีบคั้น เกิดเป็นความเครียดและวิตกกังวล จนกระทั่งไม่สามารถควบคุมความคิด ความรู้สึกและพฤติกรรมของตนเองได้ แสดงออกโดยมีความบกพร่องของการใช้เหตุผล การตัดสินใจ การใช้สติปัญญาและการปรบั ตัวในการอยูร่ ่วมกับผอู้ ่ืน
แนวคิดการเกิดโรคทางจติ เวชCase formulation : แบ่งสาเหตกุ ารเจบ็ ป่วยเป็น 4 ปจั จัย (4 P’s)1. Predisposing factors คือ ปัจจยั เสย่ี งท่ีมีมากอ่ น เชน่ พนั ธุกรรม บุคลิกภาพ2. Precipitating factors คือ ปัจจยั ทมี่ ากระตุ้นใหเ้ กดิ อาการ เผชญิ เหตุการณ์ ร้ายแรง การสญู เสยี3. Perpetuating factors คือ ปจั จยั ที่ทําใหอ้ าการทเ่ี กดิ ขึน้ แลว้ คงดาํ เนนิ อยู่4. Protective factors คอื ปัจจยั ที่ช่วยปอ้ งกนั ผู้ป่วยจากการเจ็บปว่ ยทรี่ นุ แรง ช่วยให้หายคืนสู่สภาพปกติ
แนวคิดการเกิดโรคทางจติ เวช ปัจจยั Biological Psychological Social มีเพ่ือนน้อย1.ปัจจยั เส่ียง - กรรมพนั ธ์ุ - บคุ คลอนั เป็นที่รักเสยี ชีวิต - ไมไ่ ด้รับการเลีย้ งดจู าก บดิ ามารดาPredisposing factors - ภาวะโภชนาการ - ประสบการณ์ไมด่ ีในอดีต - ไมไ่ ด้รับการศกึ ษา มีปัญหาสมั พนั ธภาพกบั - ภาวะสขุ ภาพทวั่ ไป - บคุ ลคิ ภาพแบบพง่ึ พา เพื่อน/ครอบครัว - การได้รับสารพษิ /อบุ ตั ิเหตุ - เพื่อนน้อย ไมไ่ ด้รับการเลีย้ งดจู าก2.ปัจจัยท่ีมากร ะตุ้นให้เกิด - การใช้สารเสพตดิ - ความเศร้าโศกสญู เสยี - พอ่ แม่ ขาดแหลง่ ชว่ ยเหลือทางอาการ Precipitating - พกั ผอ่ นไมเ่ พียงพอ - ความเครียด สงั คม/บคุ ลากรเฉพาะ ทางfactors - ภาวะโภชนาการไมด่ ี - คาดหวงั ในตนเองสงู ได้เรียนหนงั สือ มีสมั พนั ธภาพที่ดีใน - การเจ็บป่ วยทางกาย3.ปั จ จัย ท่ีทําใ ห้ อ า ก า ร ท่ี - มีโรคอ่ืนท่ีเป็นอยแู่ ละไมไ่ ด้รับ - ความนบั ถือตนเองต่ํา -เ กิด ขึน้ แ ล้ ว คงดําเ นิน อ ยู่ การรักษา - รู้สกึ ผิด/ท้อแท้/สนิ ้ หวงั -Perpetuating - ไมร่ ับประทานยา/เกิดfactors ผลข้างเคียง - - ตอบสนองตอ่ ยาไมเ่ ตม็ ท่ี4.ปัจจยั ปกป้อง - ภาวะสขุ ภาพดี - ความรู้สกึ มน่ั คงในจิตใจ - - การได้รับความรัก ความ -Protective factors ‐ ได้รับการบําบดั รักษา
+ ปัจจัยกระต้นุ (precipitating factor) + การประสบภาวะวิกฤตหรือสิ่งเร้าปัจจยั นํา/เสี่ยง(predisposing factor) ความเครียดท่ีรนุ แรง จนไมส่ ามารถ ปัจจยั สง่ เสริม (supportive-ดา้ นชีวภาพ ปรบั ตัวได้ factor)-การอบรมเลยี้ งดู-พฒั นาการของบคุ ลกิ ภาพ อาการแสดงทางจิตเวช เช่น การยอมรบั ความเจ็บป่วย, การ-ประสบการณไ์ มด่ ใี นวัยเดก็ เชน่ ซึมเศรา้ คลุ้มคลั่ง พฤติกรรมรนุ แรง ปฏิบัตติ วั ถูกต้อง, ความเขา้ ใจ/การดแู ล-สภาพสงั คม สงิ่ แวดล้อม แยกตัว ประสาทหลอน หลงผิด ฆ่าตัว จากครอบครัว, การยอมรับจากชมุ ชน ตาย เปน็ ต้น ‐ การวิเคราะหป์ ัจจัยเหตุของการเจบ็ ปว่ ยทางจิต
ความหมายของการพยาบาลจิตเวชและสขุ ภาพจติ (Psychiatric- Mental Health Nursing)• เปน็ การพยาบาลเฉพาะทางสาขาหนึง่ ของการพยาบาล• ใชท้ ักษะในการสร้างสัมพันธภาพเชิงการบําบัดรักษา เพื่อการส่งเสริมสุขภาพ โดยเฉพาะสุขภาพจิตของบุคคล ครอบครัว ชุมชน ให้มีสุขภาพจิตดีท่ีสุด มี พฤติกรรมที่เหมาะสม มีวุฒิภาวะทางอารมณ์ ปรับตัวได้ดีในสังคม สิ่งแวดล้อมท่ีเปลี่ยนแปลงไป อีกท้ังให้การบําบัดรักษาและฟ้ืนฟูสมรรถภาพ ของผู้เจ็บป่วย โดยช่วยให้บุคคลผู้มีปัญหาสุขภาพจิต หรือผู้เจ็บป่วยทางจิต ยอมรับตนเอง ปรับปรุงตนเอง เผชิญปัญหา หรือวิกฤตการณ์ต่างๆ ในทางที่ เหมาะสม รับฟังคําแนะนํา ยินยอมรับการรักษาพยาบาล มีสัมพันธภาพกับ บุคคลอื่นและพึง่ พาตนเองได้
แนวโน้มสขุ ภาพจิตและการพยาบาลจติ เวช ปจั จบุ ันประเทศไทยมีประเดน็ ท้าทายต่อแนวโนม้ การเปลย่ี นแปลงการพยาบาลในอนาคต ดังนี้๑. โครงสรา้ งประชากรมผี ้สู งู อายุมากขนึ้ และครอบครัวมีขนาดเล็กลง๒. ความผิดปกติทางจติ เป็นสาเหตุของการสญู เสยี ปีสุขภาวะในระดบั ต้นๆ๓. บคุ ลากรด้านสุขภาพจิตมีน้อย๔. ปญั หาสขุ ภาพจิตเด็กมมี ากขึ้น๕. การเปลย่ี นแปลงด้านเทคโนโลยี สงั คม ส่ิงแวดลอ้ ม เศรษฐกจิ และการเมอื ง๖. การบรกิ ารสขุ ภาพเน้นคณุ ภาพการดูแลและความปลอดภยั ของผู้ป่วยมากขนึ้๗. แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี ๑๑๘. การกา้ วเข้าสปู่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซยี นในปี ๒๕๕๘
โครงสรา้ งประชากรมผี สู้ งู อายมุ ากข้นึ และครอบครัว มขี นาดเลก็ ลง• ประเทศไทยจะเข้าสสู่ งั คมผสู้ งู อายอุ ย่างสมบูรณใ์ นปี พ.ศ.๒๕๗๐ ทาํ ให้ อัตราส่วนพึ่งพงิ ของประชากรผู้สูงอายุเพม่ิ ข้ึน• สงั คมไทยจะเปน็ สงั คมเมอื งมากข้ึน• โครงสรา้ งครอบครัวก็จะเรม่ิ เปลย่ี นจากครอบครัวขยายเป็นครอบครัวเดยี่ ว มีหวั หนา้ ครอบครวั ทเ่ี ป็นผูห้ ญงิ• อกี ๒๐ ปีขา้ งหนา้ ครอบครวั ไทยจะเป็นครอบครัวเดี่ยว หรอื อยูล่ ําพงั คน เดยี ว
ความผิดปกติทางจติ เปน็ สาเหตขุ องการสญู เสยี ปสี ุขภาวะ ในระดบั ต้นๆ• สาเหตหุ ลักของจาํ นวนปีทส่ี ูญเสยี เนื่องจากภาวะบกพร่องทางสขุ ภาพในเพศ ชายคือ การเสพติดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ (alcohol dependence) คดิ เป็น ร้อยละ ๑๘.๖• เพศหญงิ คือโรคซมึ เศรา้ (depression) คิดเปน็ รอ้ ยละ ๑๒.๖
บคุ ลากรด้านสุขภาพจติ มีนอ้ ย• จํานวนบุคลากรด้านสุขภาพจิตมีน้อย ไม่เพียงพอต่อการให้บริการ ประชาชน• ในปี ๒๕๕๑ พบว่ามีอัตราจิตแพทย์ ๐.๘๖ ต่อประชากรแสนคน (เกณฑ์องค์การอนามัยโลก ๔.๑๕) พยาบาลจิตเวช ๓.๗๔ ต่อประชากร แสนคน (เกณฑ์องค์การอนามัยโลก ๑๒.๙๗) นักจิตวิทยาคลินิก ๐.๔๕ ต่อประชากรแสนคน นักสังคมสงเคราะห์ ๐.๖๖ ต่อประชากรแสนคน และนกั กจิ กรรมบําบัด ๐.๑๔ ต่อประชากรแสนคน• บุคลากรส่วนใหญ่ยังกระจุกตัวอยู่ในพื้นที่กรุงเทพมหานครและจังหวัด ในภาคกลาง ซึ่งเป็นอุปสรรคต่อการเข้าถึงและการให้บริการอย่าง ครอบคลุม
ปญั หาสขุ ภาพจติ เด็กมมี ากข้ึน• ปัญหาวัยรุ่นตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ซึ่งมีอัตราคลอดบุตรในกลุ่มวัยรุ่นอายุ ๑๕-๑๙ ปี เพ่มิ ขนึ้ ซ่ึงเป็นสาเหตใุ ห้วยั รุ่นมคี วามเครยี ดและมีปญั หาสังคมอืน่ ๆตามมา• เด็กและเยาวชนเรม่ิ ใชย้ าเสพตดิ เมือ่ อายนุ อ้ ยลง• คนไทยสว่ นใหญ่ ร้อยละ ๓๐ ใช้อนิ เตอร์เนต็ มากขึ้น• ส่วนเด็กและเยาวชน อายุ ๑๒ ปีกว่าร้อยละ ๕๐ มีพฤติกรรมการเล่นเกมออนไลน์ ในช่วงปิดภาคเรียนฤดูร้อน ร้อยละ ๖๐ เล่นเกมทางโทรศัพท์มือถือ และร้อยละ ๖.๔ ยอมรับว่าตนเองติดเกม ซึ่งทําให้เกิดปัญหาทางสายตาเปลืองเงินและเปลือง เวลา ไมม่ เี วลาในการทบทวนบทเรยี น พกั ผ่อนไม่เพยี งพอ และพฤติกรรมกา้ วร้าว
การเปลยี่ นแปลงด้านเทคโนโลยี สังคม สง่ิ แวดล้อม เศรษฐกิจ และการเมือง ก่อให้เกิดปัญหาสังคม วัฒนธรรมและความสุขมวลรวมของประชาชนไทยลดน้อยลง ดังผลการศึกษาในปี ๒๕๕๓ เน่ืองจากสถานการณ์ทางการเมืองในประเทศ พบว่าดัชนีชี้วัดความสุขของคนไทยลดลงจาก ๗.๒๖ เป็น ๖.๕๒โดยเฉพาะคนในกรงุ เทพมหานคร
การบริการสุขภาพเนน้ คุณภาพการดูแลและ ความปลอดภัยของผูป้ ่วยมากข้ึน• สถานพยาบาลแต่ละแห่งมกี ารตรวจสอบและประเมินคณุ ภาพการบริการ และการพยาบาลจากหนว่ ยงานภายในและภายนอกสถาบนั ตามข้อกาํ หนด ของกระทรวงสาธารณสุขและสภาการพยาบาล
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับที่ ๑๑• มแี ผนพฒั นาประเทศไทยสู่ปี พ.ศ.๒๕๗๐ ในประเด็นทเี่ กย่ี วข้องกบั งานสขุ ภาพจิต ไดแ้ ก่ การจัดบรกิ ารสาธารณะท่ีได้มาตรฐาน การ พัฒนาความฉลาดทางอารมณ์สติปญั ญา ศลี ธรรม และ จริยธรรมของบุคคลและชมุ ชน
การกา้ วเข้าสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซยี นในปี ๒๕๕๘• ในด้านบริการสุขภาพ ประเทศสมาชิกมีพันธกรณีการเปิดเสรีการค้า บริการ เปิดกว้างให้นักลงทุนอาเซียนสามารถเข้ามาลงทุนและถือหุ้นใน ประเทศ และมีการเคลื่อนย้ายบริการอย่างเสรี ประเทศไทยในฐานะ ผู้นําด้านบริการสุขภาพในกลุ่มประเทศอาเซียนจึงต้องเตรียมความ พร้อมเพ่ือรับการเปล่ียนแปลงและผลกระทบท่ีเกิดข้ึน เช่น ผู้รับบริการ สุขภาพจากชาติในประชาคมอาเซียนจะเข้ามาใช้บริการมากขึ้น และมี ความตอ้ งการทางสุขภาพท่ีหลากหลาย
แนวโน้มการพยาบาลจติ เวชในประเทศไทย ๑. การนาํ เทคโนโลยีสารสนเทศมาใชใ้ นการบรกิ ารมากขนึ้ เชน่การให้บริการทาง electronic, e-training, e-consultation และใช้เคร่ืองมือส่อื สาร และ social media ๒. ผรู้ ับบริการจะมาจากหลากหลายวัฒนธรรม หลายภาษา หลายศาสนา การพยาบาลสุขภาพจติ และจติ เวชจึงต้องพฒั นาความรใู้ นการใหบ้ ริการขา้ มวฒั นธรรม ต่างศาสนา และพฒั นาทักษะการส่ือสารภาษาอ่ืนๆ ๓. ประชากรผูส้ ูงอายมุ มี ากขึน้ และอายยุ นื ยาวข้นึ พยาบาลสขุ ภาพจิตและจติ เวชจึงจะพบกับผรู้ ับบรกิ ารสูงอายทุ ่ีมีปญั หาสขุ ภาพจติมากขนึ้ เชน่ ผ้ปู ่วยโรคสมองเสือ่ ม โรคซึมเศรา้ และปญั หาสขุ ภาพจติ ท่ีเกิดจากการเจบ็ ป่วยทางกาย เปน็ ตน้
แนวโน้มการพยาบาลจติ เวชในประเทศไทย (ตอ่ ) ๔. จากปญั หาสขุ ภาพจติ และจติ เวชเด็กที่เพิ่มมากข้ึน ประกอบกับการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี สังคม และวัฒนธรรมอย่างรวดเร็วตลอดเวลา การพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวชในเชิงรุกเพื่อส่งเสริมสมรรถภาพทางจิต สร้างความยืดหยุ่นทางใจ และป้องกันปัญหาสขุ ภาพจติ ในเดก็ และวยั รุน่ จงึ เป็นเร่ืองสาํ คัญ ๕. จากประเด็นการเพิ่มคุณภาพการดูแลและความปลอดภัยของผู้ป่วย แนวโน้มการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวชจึงมุ่งเน้นการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาแนวทางการปฏิบัติการพยาบาลเพื่อการดูแอย่างมีประสิทธิภาพ ประหยัด คุ้มค่า และคุ้มทุน การส่งเสริมการวิจัย การพัฒนานวัตกรรม และการดําเนินโครงการในคลินิก เพื่อพัฒนาคณุ ภาพการดูแล
แนวโนม้ การพยาบาลจติ เวชในประเทศไทย (ต่อ) ๖. เนื่องจากการขาดแคลนบุคลากรทางการพยาบาลสขุ ภาพจิตและจิตเวชจึงมีการสร้างภาคีเครือข่ายเพิ่มมากขึ้น ทั้งบุคลากรสหวิชาชีพด้านสุขภาพ และบุคลากรจากภาคส่วนอ่ืนที่เกี่ยวข้องเพื่อขับเคลื่อนการดําเนินงานสุขภาพจิตและจิตเวช ๗. มีการคัดกรองปัญหาสุขภาพจิตในกลุ่มเส่ียงต่างๆ มากขึ้น เช่น ผู้ป่วยโรคเร้ือรัง ผู้สูงอายุ เด็กและวัยรุ่น เพ่ือลดภาระโรคและให้การดูแลรักษาแต่เนิ่นๆและเพ่ิมความสะดวกในการเข้าถึงบริการสุขภาพจิตโดยใช้บริการรักษาในโรงพยาบาลใกล้บ้าน นอกจากในรายที่มีปัญหาสุขภาพท่ียุ่งยากซับซ้อนจึงต้องส่งต่อไปยังสถานพยาบาลที่มีความเช่ียวชาญมากข้ึนในเครือข่ายของตน นอกจากน้ันในอนาคตน่าจะมุ่งเน้นการคัดกรองปัญหาสุขภาพจิตในแรงงานข้ามชาติด้วยเพื่อป้องกันปัญหาพฤติกรรมและการเจ็บป่วยทางจิตที่รุนแรงที่จะส่งผลกระทบต่อชมุ ชนและสังคมได้
คุณลักษณะของพยาบาลจติ เวช๑. เป็นผู้มีอารมณ์เจริญเต็มท่ี (Emotional maturity) คือ มีจิตใจที่สงบอารมณ์เย็น ไม่โกรธง่าย มีความเช่ือม่ันในตนเองอย่างเหมาะสม สามารถรับฟังความคิดเหน็ ของผอู้ ่ืน มองคนอืน่ ในแง่ดี๒. สามารถเผชิญกบั ความคับข้องใจ ความเครยี ด และปรับตัวได้ดี๓. เป็นผู้รับรู้ความรู้สึกของผู้อ่ืนไว (Sensitive) มีความสํานึกระมัดระวังตัว(Self – awareness) โดยสํานึกว่าตนเป็นใครอยู่ที่ไหน กําลังทําอะไรซง่ึ จะทําให้การกระทาํ ตา่ งๆของตนเองผิดพลาดน้อย หรอื ไม่ผดิ เลย๔. เป็นผู้ยดื หยุน่ พอทจ่ี ะเปล่ยี นแปลงบางสง่ิ บางอยา่ งที่จําเป็น โดยไม่เกิดความคบั ข้องใจ รบั รู้ส่ิงใหม่ ๆ อยู่เสมอ
คุณลกั ษณะของพยาบาลจติ เวช (ต่อ)๕. มีความคดิ สรา้ งสรรค์ มีเหตผุ ล มองการณ์ไกล๖. มคี วามรักในเพอ่ื นมนุษย์ พรอ้ มทจี่ ะใหค้ วามช่วยเหลอื บคุ คลอื่น๗. มคี วามรักความพงึ พอใจในงาน ซึ่งจะทาํ ให้ปฏบิ ัตงิ านต่าง ๆ ด้วยความเต็มใจ๘. มคี วามเข้าใจตนเองและหม่ันสาํ รวจตนเองอยู่เสมอ ท้งั ดา้ นความรสู้ ึกนกึ คิดและพฤติกรรมเพอื่ ทจี่ ะไดป้ รับตวั หรือขจดั ปญั หาต่าง ๆ ใหห้ มดไปซง่ึ จะทําใหม้ จี ติ ใจแจ่มใส เบิกบาน
คุณลกั ษณะของพยาบาลจติ เวช (ตอ่ )๙. วิเคราะห์สมั พนั ธภาพของตนเองท่มี ตี ่อบุคคลอนื่ ทั้งทางบวกและทางลบพร้อมทั้งปรบั ปรุงแกไ้ ขให้ดขี นึ้๑๐. ศกึ ษาและพยายามทําความเข้าใจกบั พฤติกรรมของมนุษยแ์ ละยอมรับในพฤตกิ รรมน้นั ๆ โดยเฉพาะพฤติกรรมของผู้ปว่ ยหรอื ผูม้ ีปญั หาสขุ ภาพจติ๑๑. มีความสมา่ํ เสมอตอ่ บุคคล ต่อการปฏิบตั ิงาน ซ่ึงจะเปน็ ส่งิ ทที่ าํ ใหผ้ ้รู ว่ มปฏิบัติงานและผู้ปว่ ยเกดิ ความไว้วางใจและมคี วามเช่ือม่ัน อกี ทง้ั เปน็ ตัวอย่างทดี่ ีแกบ่ ุคคลอนื่ ดว้ ย
บคุ ลากรในทมี จติ เวชและสขุ ภาพจติ (Psychiatric-Mental Health Team)ประกอบดว้ ยจติ แพทย์พยาบาลจติ เวชและสขุ ภาพจตินกั จติ วทิ ยาคลินิกนักสงั คมสงเคราะห์นกั กจิ กรรมบาํ บัดผูช้ ่วยทางวชิ าชีพ
บทบาทหนา้ ทคี่ วามรับผดิ ชอบของ พยาบาลจิตเวชแบง่ ตามระดับการศกึ ษา สามารถ กําหนดได้เป็น ๒ ระดบั๑. บทบาทหนา้ ทรี่ ะดบั พื้นฐานหรอื ระดับรอง๒. บทบาททร่ี ะดบั สงู หรือระดับผูเ้ ชย่ี วชาญ
บทบาทหนา้ ท่รี ะดับพน้ื ฐานหรือระดบั รอง• เปน็ ผู้จดั สรรส่งิ แวดลอ้ มเพอ่ื การรักษา• เป็นเสมอื นตัวแทนของแม่ (Mothering role)• เป็นตวั แทนสงั คม (Socializing agent role)• เปน็ ผใู้ ห้คาํ ปรึกษาแนะนํา (Counseling role)• พยาบาลเป็นเสมอื นครู (Teaching role)• บทบาททางการรกั ษาพยาบาลทใ่ี ชเ้ ทคนิคเฉพาะทางการพยาบาล (Technical Nursing role)
บทบาทท่รี ะดับสงู หรอื ระดับผูเ้ ชย่ี วชาญ• เปน็ ท่ีปรึกษา (Consultant role) เป็นนกั วิจยั• เปน็ ผตู้ ดิ ต่อให้ความร่วมมือ (Laison Nursing role)• เปน็ ผู้บําบัดรกั ษาเบอ้ื งต้น (Primary Therapeutic role)• เปน็ ผูน้ าํ ในการบาํ บัด (Therapist role)- กระบวนการสรา้ งสมั พันธภาพและเทคนิคในการตดิ ต่อส่ือสาร- ทําจิตบาํ บดั แบบประคับประคอง• เปน็ ผฟู้ นื้ ฟสู มรรถภาพผู้ป่วย (Rehabilitation role)• เปน็ ผใู้ หค้ วามรู้ (Education role)• เป็นผู้นเิ ทศหรอื ประสานงานสุขภาพจติ และจติ เวช• เปน็ ผู้นําการเปลยี่ นแปลง (Change agent)
ลักษณะขอบเขตงานทง้ั 4 มิตขิ องพยาบาลสขุ ภาพจิต และจติ เวช๑. ดา้ นการสง่ เสริมสขุ ภาพจิต๒. ดา้ นการปอ้ งกนั การเจบ็ ป่วยทางจติ๓. ดา้ นการบําบดั รกั ษาผู้ป่วยทางจิต๔. ดา้ นการฟ้ืนฟูสภาพจิต
ด้านการสง่ เสริมสขุ ภาพจิต (Promotion of Mental Health)• เปน็ การจัดกิจกรรมแกผ่ ูใ้ ชบ้ รกิ ารทงั้ ผทู้ ีม่ สี ขุ ภาพจติ ดี ผูท้ ี่มคี วาม ผิดปกตทิ างพฤติกรรม ครอบครวั ของผ้ปู ่วยและชมุ ชน ใหม้ สี ุข ภาวะทดี่ ีทั้งทางร่างกาย จติ ใจ สังคมและจติ วญิ ญาณ
ดา้ นการปอ้ งกนั การเจบ็ ป่วยทางจิต (prevention of Mental Health)• เป็นการจัดกจิ กรรมที่ม่งุ ปกปอ้ งบุคคลจากส่ิงคุกคามสุขภาพ หรืออันตรายตา่ งๆ ที่จะสง่ ผลตอ่ สุขภาพจิต เปน็ การมุง่ เนน้ ปอ้ งกันการเจ็บปว่ ยทางจติ ถ้าบคุ คลมี แนวโนม้ ว่าเกิดการเจ็บปว่ ยและเฝ้าระวงั การเกดิ การเจบ็ ปว่ ยทางจติ การป้องกัน การเจ็บปว่ ยทางจติ แบง่ ออกเป็น ๓ ระดบั คอื๑. การป้องกนั การเจ็บปว่ ยทางจติ ระดบั แรก(Primary prevention)๒. การป้องกนั การเจ็บป่วยทางจติ ระดับที่สอง(Secondary prevention)๓. การปอ้ งกนั การเจบ็ ปว่ ยทางจติ ในระยะทีส่ าม(Tertiary prevention)
การปอ้ งกนั การเจบ็ ป่วยทางจติ ระดับแรก (Primary prevention) เป็นการป้องกนั การเจ็บป่วยในกล่มุ ผทู้ ่ีมี ความเสี่ยงตอ่ การเจบ็ ปว่ ยหรือมกี ารเจบ็ ปว่ ยเลก็ นอ้ ย โดยการช่วยลดความเครยี ดชว่ ยให้หาวธิ กี าร เผชญิ ความเครยี ดไดอ้ ย่างเหมาะสม กอ่ นท่จี ะทําให้เกิดการเจบ็ ป่วยเชน่ การออกเยย่ี มบา้ น เพอื่ ใหป้ ระชาชนอนุ่ ใจ ,การจดั นทิ รรศการเสรมิ สร้างขวญั และกาํ ลงั ใจ,การสง่ เสริมให้ประชาชนช่วยเหลอื กนัและกัน
ใครบ้างเปน็ บุคคลกลุ่มเส่ียง เดก็ สตรีวยั รุ่น ผูส้ งู อายุ ผูใ้ หญ่ ผูป้ ว่ ย ทางกาย
การปอ้ งกนั การเจ็บป่วยทางจติ ระดบั ทีส่ อง )(Secondary prevention เป็นการป้องกนั เพื่อลดความรนุ แรงของผู้ มปี ัญหาทางจติ ในระยะเร่มิ แรก พยาบาลจะต้องมที กั ษะสูงในด้านการสร้างสมั พนั ธภาพเพ่อื ประเมนิปญั หา สามารถวินจิ ฉยั พร้อมทั้งใหค้ วามชว่ ยเหลอื และแกไ้ ขปญั หาได้ทนั ท่วงทีไม่ใหเ้ กิดอาการรนุ แรง เพมิ่ ขึน้ตวั อย่างกิจกรรม เชน่• การทาํ จติ บําบดั รายบคุ คล รายกลมุ่ ให้คาํ แนะนํา เป็นท่ปี รกึ ษาแก่ ผูท้ ี่มี ปัญหาทางจติ ผูท้ ปี่ ระสบภาวะวกิ ฤต ผ้ทู ่ีจะทาํ รา้ ยตนเอง• การคน้ หา คดั กรองบุคคลท่ีมปี ัญหาทางจิต และให้การรกั ษาโดยดว่ น• ช่วยลดภาวะเครียดในชมุ ชน และมีบรกิ ารฉุกเฉนิ ดา้ นสุขภาพจิต
การปอ้ งกนั การเจบ็ ป่วยทางจติ ในระยะทส่ี าม (Tertiary prevention)• ปอ้ งกนั ความพิการจากการเจบ็ ปว่ ย ฟื้นฟูสมรรถภาพทางจิตสงั คม และ ป้องกนั การกาํ เริบของอาการแสดงทางจติ เพ่อื ให้ผู้ปว่ ยสามารถดาํ รงชวี ิต อยู่ในชุมชนได้อยา่ งผาสุกตวั อย่างกิจกรรม เช่น• การดูแลผปู้ ่วยภายหลังจาํ หน่ายจากโรงพยาบาลไปอยู่ที่บา้ นและสงั คม• การจัดหากิจกรรมพเิ ศษให้แก่ผูป้ ่วยในระหวา่ งที่รกั ษาตัวอยู่ในโรงพยาบาล เพือ่ เป็นการฝึกอาชพี และเตรียมผปู้ ่วยในการไปดาํ เนินชวี ิตในสังคม• การจัดกิจกรรมตา่ งๆ ในชมุ ชน เช่น การจดั คลินกิ บาํ บดั ทางจติ ในชุมชน
ด้านการบําบัดรกั ษาผูป้ ่วยทางจติ (Therapeutic or Restoration of Mental Health)• การใช้ตนเองเพ่ือการบําบัดทางจิต การสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบําบัด ทางจติ และการสือ่ สารเพ่ือการบําบัดทางจติ• พยาบาลจําเป็นต้องมีความจริงใจ ความเข้าใจ ความเข้าถึงความรู้สึก ของ ผู้อ่ืน ความเห็นอกเห็นใจ การยอมรับความเป็นบุคคล ความใจ กว้าง ความม่ันคงทางจิตใจ การมีความ รักในเพ่ือนมนุษย์ และการมี อารมณ์ขัน พัฒนาทักษะในด้านต่างๆ ทักษะการปฏิบัติการพยาบาล โดยตรงต่อผู้ป่วย ทักษะการติดต่อสื่อสาร ทักษะการบริหารจัดการ ทักษะในการสอน ทักษะการ ประสานความร่วมมือกับผู้ร่วมงานและผู้ ร่วมทมี สุขภาพจติ
ด้านการฟนื ฟูสภาพจิต กจิ กรรมทจ่ี ดั มี ๓ ลักษณะ คอื๑. กิจกรรมเพอ่ื การเรยี นรู้ใหม่ (re-education) เป็นการฟนื้ ฟใู หเ้ กิดความเขา้ ใจในความ จรงิ เกีย่ วกับตนเองและสงั คมให้สามารถดํารงชวี ติ ตามปกติ สนองความต้องการของตนเองดา้ น ร่างกาย จติ ใจไดแ้ ละมีพฤตกิ รรมเปน็ ทยี่ อมรับของสังคม๒. กจิ กรรมเพอ่ื การฝึกหัดการอยู่ร่วมกันในสงั คมใหม่ (re-socialization) โดยการจดั กจิ กรรมใหผ้ ปู้ ว่ ยเขา้ รว่ ม ฝึกความรบั ผดิ ชอบตอ่ หมู่คณะ และต่อกันและกันเรียนร้ถู งึ การปฏิบัติ ตามกฎระเบียบของสงั คม๓. กจิ กรรมเพือ่ สร้างสรรค์คณุ ค่าใหก้ บั ตนเองใหม่ (re-establishment) เปน็การสร้างสมรรถภาพในการควบคุมความคิด อารมณ์ ความรูส้ กึ ของตน โดยการจดักจิ กรรมฝกึ อาชีพ การจดั สง่ิ แวดลอ้ มเพ่ือลดความฟงุ้ ซ่าน ทาํ ตนใหเ้ ปน็ ประโยชน์เกดิ ความร้สู กึ มีคุณค่าในตนเอง
พระราชบัญญัติสุขภาพจิต• เพราะอะไรจงึ ตอ้ งมพี ระราชบัญญตั ิสขุ ภาพจติ ?
หลกั การและเหตุผล ในหมายเหตทุ า้ ยพระราชบญั ญตั ิน้ี ไดร้ ะบเุ หตผุ ลไว้อย่างยน่ ย่อว่า“โดยท่ีประชาชนส่วนใหญ่ ยังขาดความรู้ ความเข้าใจและมีทัศนคติด้านลบต่อบุคคลท่ีมีความผิดปกติทางจิต ทําให้บุคคลดังกล่าวไม่ได้รับการบําบัดรักษาอย่างถูกต้องและเหมาะสม เป็นเหตุให้ความผิดปกติทางจิตทวีความรุนแรงข้ึน จนก่อให้เกิดอันตรายร้ายแรงต่อชีวิต ร่างกาย หรือทรพั ยส์ นิ ของตนหรอื ผูอ้ ่นื สมควรมกี ฎหมายสขุ ภาพจิต”
หลกั การและเหตุผล• จนกระทั่งเกิดมีคดีสะเทือนขวัญขึ้นเป็นข่าวในหน้าหนังสือพิมพ์อยู่เนืองๆ คดีหน่ึงท่ีสังคมคงจะยังคงจําได้ก็คือ คดีที่หญิงสาวคนหนึ่งลอบเข้าไปใน โรงเรียนสตรีมีชื่อแห่งหนึ่ง แล้วเข้าไปทําร้ายเด็กนักเรียนหญิงหลายคน โดยใช้มีดไล่แทง หลังจากน้ันก็หลบหนีออกไปได้ สุดท้ายเจ้าหน้าท่ีตํารวจ จับตัวมาได้ มีประวัติว่า เคยเป็นผู้ป่วยทางจิต แล้วขาดการรักษาไปเป็น เวลานาน
ผู้ป่ วยจติ เวช ไม่มีคดี มีคดียนิ ยอมรักษา ไม่ยนิ ยอมรักษา กระบวนการ ยุตธิ รรม
พระราชบญั ญตั สิ ุขภาพจิต (พ.ศ. ๒๕๕๑) เ ป็ น ก ฎ ห ม า ย ท่ี มี จุ ด มุ่ ง ห ม า ย คุ้ ม ค ร อ ง ผู้ ท่ี มี ปั ญ ห าสุขภาพจิตให้ได้รับการบําบัดรักษา รวมทั้งเป็นการป้องกันอนั ตรายอันเกิดจากผปู้ ่วยจิตเวชท่ีมตี อ่ ตนเอง ผู้อ่นื และสงั คม
วัตถุประสงคข์ อง พ.ร.บ. สขุ ภาพจิต ๒๕๕๑๑. เพอ่ื ปกป้องคมุ้ ครอง ส่งเสริมและปรบั ปรงุ คุณภาพชวี ติ และสขุ ภาพจติ ของประชาชน๒. เพ่ือส่งเสริมและคุม้ ครองสทิ ธิมนษุ ยชนของผ้ทู มี่ คี วามผิดปกตทิ างจิต๓. เพอ่ื เปน็ การปอ้ งกันอันตรายท่ีอาจเกดิ ขึ้นจากผปู้ ว่ ยจิตเวช
โครงสร้างของพระราชบัญญัติสุขภาพจติ พ.ศ. ๒๕๕๑หมวดท่ี ๑ คณะกรรมการ สว่ นที่ ๑ คณะกรรมการสุขภาพจติ แหง่ ชาติ ส่วนท่ี ๒ คณะกรรมการสถานบาํ บัดรกั ษาหมวดท่ี ๒ สทิ ธิผู้ปว่ ยหมวดท่ี ๓ การบาํ บดั รกั ษาทางสุขภาพจติ ส่วนท่ี ๑ ผู้ป่วย สว่ นท่ี ๒ ผปู้ ่วยคดี ส่วนที่ ๓ การฟื้นฟูสมรรถภาพหมวดท่ี ๔ การอุทธรณ์หมวดที่ ๕ พนักงานเจ้าหน้าท่ี
ใจความสาํ คญั การนําบุคคลที่“มีภาวะอันตราย”หรอื “มคี วามจําเป็นตอ้ งได้รบั การบาํ บดั รักษา” ใหไ้ ดร้ บั การบําบดั รกั ษา
มาตรา ๑๕
มาตรา ๒๒บคุ คลท่ีต้องได้รับการบําบัดรกั ษาตามมาตรา ๒๒ ใน พ.ร.บ.นี้ ได้แก่ บุคคลท่ีมคี วามผิดปกตทิ างจติ ในกรณีใดกรณีใด กรณีหนง่ึ ดังต่อไปนี้๑. มภี าวะอนั ตราย เช่น ผทู้ ี่มอี าการกา้ วรา้ ว ทํารา้ ยผอู้ ื่น ทาํ ร้ายตนเอง พกอาวธุ ทาํ ลายข้าวของ๒. มคี วามจาํ เป็นตอ้ งได้รับการบาํ บัดรกั ษา
ภาวะอันตราย คือ อนั ตรายทีเ่ กิดข้นึ จากความผิดปกติทางจติ ท่ีแสดงออกมาทางพฤติกรรม อารมณ์ ความคดิ อนั เปน็ เหตใุ หเ้ กดิอันตรายต่อชีวติ รา่ งกาย หรอื ทรัพยส์ ินของตนเองหรอื ผ้อู ่นื
มาตรา ๒๓ ผ้ใู ดพบบคุ คลซงึ่ มีพฤติการณ์ที่นา่ เชื่อวา่ บคุ คลนนั้ มีความผิดปกตทิ างจิต คือมีภาวะอนั ตรายหรือ มีความจําเป็นต้องได้รับการบําบดั รักษา ให้แจ้งตอ่พนกั งานเจ้าหน้าท่ี หรือตํารวจโดยเร็ว
มาตรา ๒๔ เมื่อพนกั งานเจา้ หนา้ ทห่ี รอื ตาํ รวจได้รบั แจ้ง หรอื พบบคุ คลซึ่งมีพฤตกิ ารณท์ ี่น่าเชอ่ื วา่ บคุ คลนน้ั มคี วามผิดปกติทางจติ ใหด้ ําเนินการนําตวั ผนู้ ั้นไปยงั สถานพยาบาล เพื่อรบั การตรวจวินิจฉยั โดยการนําตัวบุคคลดงั กลา่ วไปสถานพยาบาล จะไม่สามารถผูกมดั ร่างกายของบุคลนนั้ ได้ เวน้ แต่ความจําเป็นเพ่อื ปอ้ งกนั การเกดิ อันตรายต่อบคุ คลนั้นเอง บคุ คลอนื่ หรอื ทรัพย์สนิ ของผอู้ ่ืน
Search