Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รวมนก

รวมนก

Published by wannipa6803, 2021-12-02 08:50:26

Description: รวมนก

Search

Read the Text Version

สรปุ ผลการดาเนินงาน โครงการค่ายเสรมิ สรา้ งคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ประจาปี การศึกษา 2564 ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอโชคชยั สานกั งานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จงั หวดั นครราชสีมา

ก คำนำ เอกสารสรุปผลโครงการเล่มน้ี จดั ทำข้นึ เพือ่ สรปุ ผลการดำเนนิ งานโครงการส่งเสริมคุณธรรม จรยิ ธรรม นกั ศกึ ษา กศน.อำเภอโชคชัย ของ ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอโชคชัย เพื่อรวบรวม ขอ้ มลู สรปุ ผลการดำเนนิ งาน วธิ กี ารดำเนนิ งาน ปญั หา อุปสรรค ขอ้ เสนอแนะ และแนวทางแก้ไข เพ่อื เป็น ข้อมลู สำหรบั ใช้ในการพฒั นาการดำเนนิ งานในครง้ั ต่อไป คณะผ้จู ัดทำหวังเป็นอยา่ งย่งิ ว่าเอกสารเลม่ น้ี จะเปน็ ประโยชน์ต่อการศกึ ษาคน้ คว้าและเป็นแนวทาง ในการจดั การศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำต่อไป ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอโชคชยั

สารบญั ข เนอ้ื หา หนา้ คำนำ ก สารบญั ข บทที่ 1 บทนำ 1 1. หลักการและเหตผุ ล 2 2. วตั ถุประสงค์ 2 3. เปา้ หมาย 2 4. ผ้รู บั ผดิ ชอบโครงการ 2 5. เครือข่าย 3 6. โครงการทีเ่ กี่ยวข้อง 3 7. ผลลพั ธ์ 3 8. ดชั นีช้ีวดั ผลสำเร็จของโครงการ 3 9. การติดตามและประเมนิ ผล บทที่ 2 เอกสารการศึกษาและรายงานที่เกย่ี วข้อง 4 1. ความหมายของคุณธรรม 5 2. ความหมายของจริยธรรม 8 บทท่ี 3 วิธีการดำเนินงาน 15 บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 20 บทที่ 5 สรปุ ผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 22 บรรณานุกรม ภาคผนวก ตารางวเิ คราะห์ขอ้ มลู โดยใช้โปรแกรม SPSS แบบประเมินโครงการฯ ภาพถ่ายกิจกรรม รายชอื่ ผู้เข้าร่วมโครงการ โครงการส่งเสริมคณุ ธรรม จรยิ ธรรม นักศกึ ษา กศน.อำเภอโชคชยั คณะผจู้ ัดทำ

บทที่ 1 บทนำ 1. หลกั การและเหตผุ ล ปจั จุบนั พบวา่ เยาวชนมีปัญหาทางด้านจิตใจ มีความเสอื่ มในเรือ่ งคุณธรรมและจริยธรรม นบั วนั มี ความรนุ แรงเพ่ิมมากข้ึน จำเป็นต้องมีมาตรการแก้ไขที่ดีพอ เพื่อป้องกันปัญหาที่มีผลกระทบต่อความม่ันคงของ ชาติ ปัญหาสังคม ที่มีเยาวชนเกี่ยวข้องเป็นปัญหาท่ีมีมานาน เน่ืองจากขาดการปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม การ แก้ปัญหาขาดความต่อเน่ืองขาดความเอาใจใส่อย่างจริงจัง เยาวชนเป็นอนาคตและเป็นกำลังอันสำคัญของ ประเทศชาติที่จะช่วยกันพัฒนาบ้านเมืองให้มีความเจริญรุ่งเรืองมีความม่ันคงทุก ๆ ด้าน ท้ังทางด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคม และเทคโนโลยี และด้านอื่น ๆ ด้ังนั้นเยาวชนจึงตอ้ งเป็นผู้ได้รับการอบรม ดูแล และปลูกฝังท้ัง ความรู้ คุณธรรม และจริยธรรม ให้เป็นผู้มีความพร้อม ความสมบูรณ์ เป็นผู้มีความรู้ความสามารถ และ จำเป็นต้องมีการปลูกฝังเยาวชนให้ตระหนัก ท้ังกาย วาจา ใจ ให้เป็นผู้มีจิตใจงดงาม จำเป็นต้องได้รับการฝึกฝน การเรยี นรู้ เพือ่ พฒั นาสุนทรยี ภาพและลักษณะนสิ ยั แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติฉบับปรบั ปรุง (พ.ศ. 2560 – 2574) กำหนดวิสัยทัศน์ใหค้ นไทยไดเ้ รยี นรู้ ตลอดชีวิตอย่างมคี ุณภาพ โดยจุดมุ่งหมายท่ีสำคัญของแผนคือ การมุ่งเน้นการประกันโอกาส และความเสมอภาค ทางการศกึ ษา การพัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษา และการศกึ ษาเพ่ือการมีงานทำและสรา้ งงานได้ภายใต้ บริบท เศรษฐกิจและสังคมของประเทศและของโลกที่ขับเคลอื่ นด้วยนวตั กรรม และความคิดสร้างสรรค์ รวมทง้ั มี ความเป็นพลวัต ภายใต้สังคมแห่งปัญญา สังคมแห่งการเรียนรู้ และการสร้างสภาพแวดล้อมที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ ตามศักยภาพสำหรับประชากรทกุ ช่วงวยั ต้งั แต่เกิดจนตลอดชวี ติ ท่ีประชาชนสามารถแสวงหาความรู้และเรียนรู้ได้ ดว้ ยตนเองอย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต และมีเปา้ หมายของการพัฒนาการศึกษา 5 ประการ ได้แก่ การเข้าถึง ความ เท่าเทียม คุณภาพประสิทธิภาพ และการตอบโจทย์บริบทท่ีเปลี่ยนแปลง ภายใต้บริบทเศรษฐกิจและสังคมของ ประเทศและของโลกที่เป็นพลวัต ซึ่งกำหนดวิสัยทัศน์จุดมุ่งหมาย ความคาดหวัง เป้าหมาย สุดท้ายของแ ผน หลักการ/แนวคิด และยุทธศาสตร์/มาตรการ เพ่ือการบรรลุเป้าหมายให้พลเมืองสามารถแสวงหา ความรู้และ เรยี นรไู้ ดด้ ว้ ยตนเองอยา่ งต่อเน่อื งตลอดชีวติ สำนกั งาน กศน. ไดก้ ำหนดยุทธศาสตร์สร้างอดุ มการณ์ รกั ชาติ ศาสนา กษตั ริย์ และสรา้ งคา่ นยิ ม ทพ่ี ึงประสงค์ โดยมีจุดเน้นการดำเนินงานให้สถานศึกษาส่งเสริมการจัดกิจกรรม เพื่อพัฒนาทักษะชีวิต การสร้าง คุณธรรมจริยธรรม มีจิตอาสา จติ สาธารณะ การตา้ นยาเสพตดิ ซ่ึงมีการจัดกิจกรรมการศกึ ษาและการจดั กจิ กรรม การพฒั นาคณุ ภาพผู้เรยี น โดยผ่านกระบวนการค่ายคณุ ธรรมจรยิ ธรรม อันมีพระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมุข และ เป็นกระบวนการพัฒนาคนและแก้ไขปญั หาสังคม ให้มคี ุณลักษณะอันพึงประสงคส์ บิ เอด็ ประการ และเปน็ กจิ กรรม หนึ่งท่ีจะปลูกฝังใหน้ ักศึกษา กศน. เปน็ ผมู้ คี ณุ ธรรมจริยธรรม มีความกตญั ญูกตเวที มคี วามประพฤตแิ ละปฏิบตั ิตน เปน็ คนดี และดำรงชวี ิตตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง โครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม นกั ศึกษา กศน.อำเภอโชคชยั | กศน.อำเภอโชคชยั ประจำปงี บประมาณ 2564 1

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอโชคชัย ได้ตระหนักถึงความสำคัญ ทีจ่ ะส่งเสริมใหน้ ักศกึ ษา มคี ุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะท่ดี ีเป็นไปตามที่หลักสตู รการศึกษา นอก ระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 กำหนดไว้ มีจิตอาสา เคารพในกฎกติกาบนหลัก ประชาธิปไตย ภูมิใจในท้องถ่ิน เห็นคุณค่าของความเป็นไทย มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ วัฒนธรรม ประเพณีไทย รวมท้ังภูมิปญั ญาไทย สามารถอยู่และทำงานร่วมกบั ผู้อนื่ บนพ้ืนฐานความแตกต่างระหว่างบุคคลในด้านเพศ อายุ เชื้อชาติ ศาสนา ภาษาและวฒั นธรรมประเพณีได้ โดยปราศจากความขัดแย้ง จึงได้จัดโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม นกั ศกึ ษา กศน.อำเภอโชคชัย ขึ้น 2. วตั ถุประสงค์ เพื่อส่งเสรมิ ใหน้ กั ศึกษา กศน.อำเภอโชคชยั มีคุณธรรม จรยิ ธรรม นำหลกั ธรรมไปใชใ้ นการดำรงชีวติ ให้เกดิ ประโยชน์สูงสดุ และมสี ขุ ภาพกายและสุขภาพจิตที่สมบูรณอ์ ยู่ร่วมกับครอบครัว ชมุ ชน และสังคมไดอ้ ยา่ งมี ความสขุ 3. เปา้ หมาย จำนวน 200 คน 3.1 เชิงปรมิ าณ นักศึกษา กศน. อำเภอโชคชยั 3.2 เชงิ คุณภาพ 3.2.1 นักศึกษา กศน.อำเภอโชคชยั มคี ณุ ธรรม จริยธรรม มที ศั นคติทด่ี ีต่อการดำรงชีวติ สามารถแก้ปญั หาชีวติ โดยนำธรรมะ มาประยุกต์ใช้ในชวี ติ ประจำวันอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ เกดิ ทกั ษะในการอยู่ ร่วมกนั ในสงั คม และร้คู ณุ ค่าของหลกั ธรรมในทางศาสนา นำมาปรับใช้ในการดำเนนิ ชีวติ ไดอ้ ยา่ งมคี วามสุข 3.2.2 นักศึกษา กศน.อำเภอโชคชัย มคี วามรคู้ วามเข้าใจในสทิ ธิและหนา้ ทค่ี วามเป็นพลเมือง ไทย ดำเนนิ ชวี ิตตามวิถไี ทยไดอ้ ยา่ งมคี วามสุข 4. ผรู้ ับผิดชอบโครงการ ขวญั เกตุ ครู กศน.ตำบล - นางสาวรจนา ซ่งึ พรหม ครู กศน.ตำบล - นายวตั ชรพล 5. เครือข่าย - วดั ใหม่สระประทมุ ตำบลโชคชยั อำเภอโชคชัย จังหวัดนครราชสีมา - วัดศรีพทุ ธา ตำบลกระโทก อำเภอโชคชยั จงั หวดั นครราชสีมา - วดั บ้านพลับพลา ตำบลพลบั พลา อำเภอโชคชยั จงั หวดั นครราชสมี า - วัดหนองแปลน ตำบลท่าลาดขาว อำเภอโชคชัย จังหวัดนครราชสีมา - วัดหนองปรกึ ตำบลทุ่งอรุณ อำเภอโชคชยั จังหวดั นครราชสีมา - วดั บ้านโจด ตำบลทา่ เยย่ี ม อำเภอโชคชยั จงั หวัดนครราชสมี า โครงการส่งเสรมิ คุณธรรม จรยิ ธรรม นกั ศกึ ษา กศน.อำเภอโชคชยั | กศน.อำเภอโชคชยั ประจำปงี บประมาณ 2564 2

- วดั ดอนพราหมณ์ ตำบลท่าอา่ ง อำเภอโชคชยั จังหวดั นครราชสีมา - วดั ดา่ นเกวียน ตำบลดา่ นเกวยี น อำเภอโชคชัย จังหวดั นครราชสมี า - วัดละลม ตำบลละลมใหม่พฒั นา อำเภอโชคชัย จังหวดั นครราชสีมา 6. โครงการท่ีเก่ยี วข้อง โครงการจัดการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน 7. ผลลพั ธ์ (Outcome) นกั ศึกษา กศน. อำเภอโชคชยั ทเี่ ขา้ รว่ มโครงการฯ มคี ุณธรรม จริยธรรม นำหลกั ธรรมไปใช้ในการ ดำรงชีวติ ใหเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สุด และมีสุขภาพกายและสขุ ภาพจิตท่สี มบูรณ์อยู่ร่วมกับครอบครัว ชุมชน และสังคม ได้อยา่ งมคี วามสขุ 8. ดชั นชี วี้ ดั ผลสำเร็จของโครงการ 8.1 ตวั ชี้วัดผลผลิต ( Outputs ) นกั ศึกษา กศน.อำเภอโชคชัย ทีเ่ ข้ารว่ มโครงการฯ จำนวน 200 คน ตระหนักถึงความสำคัญ ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ความรกั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์ และปฏบิ ัติตนเป็นคนดแี ละดำรงชวี ิตตามหลัก ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง 8.2 ตวั ช้วี ดั ผลลัพธ์ ( Outcomes ) นักศึกษา กศน.อำเภอโชคชยั ทเี่ ข้ารว่ มโครงการฯ ร้อยละ 90 นำหลกั คุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ มท่ีดี มาปรบั ใชใ้ นการทำงาน พฒั นาตนเองให้คิดเป็น ทำเป็น แก้ปัญหาเปน็ ร้สู ิทธแ์ิ ละหน้าท่ขี องตนเองใน ฐานะพลเมอื งไทย และดำรงชวี ิตของตนเองและครอบครวั ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งได้ 9. การประเมินผล - การสงั เกตพฤติกรรมผูเ้ ข้ารว่ มกจิ กรรม - แบบประเมินโครงการ โครงการส่งเสรมิ คุณธรรม จริยธรรม นักศึกษา กศน.อำเภอโชคชัย | กศน.อำเภอโชคชยั ประจำปงี บประมาณ 2564 3

บทที่ 2 เอกสารการศกึ ษาและงานวจิ ัยทเ่ี กี่ยวขอ้ ง ในการจัดทำรายงานคร้งั น้ีได้ทำการศึกษาค้นคว้าเนื้อหาจากเอกสารการศึกษาและงานวจิ ยั ท่ี เกย่ี วขอ้ ง ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. ความหมายชองคุณธรรม 2. ความหมายของจริยธรรม 1. ความหมายของคุณธรรมจรยิ ธรรม คำวา่ “คุณธรรมจรยิ ธรรม” นี้ เปน็ คำที่คนส่วนใหญจ่ ะกลา่ วควบคกู่ ันเสมอ จนทำใหเ้ ขา้ ใจผิด ได้วา่ คำทงั้ สองคำมีความหมายอย่างเดียวกันหรอื มคี วามหมายเหมอื นกนั แท้ท่จี ริงแล้วคำว่า “คุณธรรม” กับคำ วา่ “จรยิ ธรรม” เปน็ คำแยกออกได้ 2 คำ และมีความหมายแตกตา่ งกันคำว่า “ คณุ ” แปลวา่ ความดี เปน็ คำท่มี ี ความหมายเป็นทางนามธรรม สว่ นคำวา่ “จริย” แปลว่า ความประพฤตกิ ริยาทีค่ วรประพฤตเิ ป็นคำท่ีมีความหมาย ทางรปู ธรรม ดังนั้น จึงควรท่ผี ูบ้ ริหารจะต้องทำความเขา้ ใจเกี่ยวกบั ความหมายของคำสองคำนใ้ี หถ้ ่องแทก้ ่อน พจนานุกรมฉบับราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ. 2525 (2538 : 189) ให้ความหมายวา่ “คณุ ธรรม หมายถงึ สภาพคุณงามความดี” พระธรรมปิฎก (ป.อ.ยุตโต ) (2540: 14) ได้กลา่ วว่าคุณธรรมเปน็ ภาพของจิตใจกล่าวคอื คุณสมบตั ิที่เสริมสร้างจิตใจใหด้ ีงาม ใหเ้ ปน็ จิตใจท่ีสงู ประณตี และประเสริฐ เช่น เมตตา คอื ความรกั ปรารถนาดี เป็นมิตร อยากให้ผอู้ ่นื มคี วามสขุ กรุณา คอื ความสงสารอยากชว่ ยเหลอื ผ้อู ่นื มีความสขุ มทุ ิตา คอื ความพลอยยนิ ดีพร้อมท่ีจะสง่ เสรมิ สนับสนนุ ผ้ทู ่ปี ระสบความสำเรจ็ ให้มีความสขุ หรอื กา้ วหน้าในการทำสิง่ ทด่ี ีงาม อเุ บกขา คอื การวางตัววางใจเป็นกลาง เพ่อื รกั ษาธรรมเมอ่ื ผูอ้ ื่นควรจะต้องรบั ผดิ ชอบต่อการ กระทำของเขาตามเหตุและผล จาคะ คือ ความมีน้ำใจเสียสละ เออ้ื เฟ้อื เผอื่ แผ่ ไมเ่ หน็ แก่ตวั วศนิ อนิ ทสระ (2541: 106,113) กล่าวตามหลักจริยศาสตรว์ ่า คณุ ธรรม คอื อปุ นสิ ัยอันดีงามซง่ึ ส่ังสมอยูใ่ นดวงจิต อุปนิสยั อันน้ีได้มาจากความพยายามและความประพฤตติ ิดต่อกนั มาเปน็ เวลานาน คณุ ธรรม สัมพนั ธ์กบั หน้าท่อี ยา่ งมาก เพราะการทำหน้าท่ีจนเปน็ นสิ ัย จะกลายเป็นอุปนสิ ัยอันดีงามทสี่ ัง่ สมในดวงจติ เปน็ บารมมี ีลักษณะอย่างเดียวกันน้ี ถา้ เป็นฝา่ ยชวั่ เรยี กว่า “อาสวะ” คอื กิเลสท่หี มกั หมมในดวงจิต ยอ้ มจติ ให้เศร้า หมองเกรอะกรงั ด้วยความช่ัวนานาประการกลายเป็นสนั ดานช่วั ทำใหแ้ ก้ไขยากสอนยาก กลา่ วโดยสรุป คุณธรรม คอื ความล้ำเลิศแหง่ อปุ นิสยั ซงึ่ เปน็ ผลของการการะทำหนา้ ที่จนกลายเป็นนสิ ัยน่ันเอง พระเมธธี รรมาภรณ์ (ประยรู ธมมจติ โต) (2538: 15-16) กลา่ ววา่ คณุ ธรรมคือคุณสมบตั ิที่ดขี อง โครงการส่งเสรมิ คุณธรรม จริยธรรม นกั ศึกษา กศน.อำเภอโชคชยั | กศน.อำเภอโชคชยั ประจำปงี บประมาณ 2564 4

จิตใจ ถ้าปลกู ฝังเร่อื งคณุ ธรรมได้จะเป็นพ้นื ฐานจรรยาบรรณ จรรยาบรรณน้ีเปน็ เร่ืองพฤติกรรมในการทจี่ ะ พัฒนาต้องตคี วามออกไปว่า พฤติกรรมเหล่านี้มพี ืน้ ฐานจากคุณธรรมขอ้ ใด เช่น เบญจศีลเปน็ จริยธรรม เบญจ ธรรมเปน็ คุณธรรมคอื ความเมตตากรณุ า ถา้ มคี วามเมตตากรณุ าจะมีฐานของศีลข้อที่ 1 เปน็ ต้น ส่วนจริยธรรม พจนานุกรมฉบับราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ.2525 (2538 : 216 ) ใหค้ วามหมายว่า “จริยธรรมหมายถึง ธรรมที่เป็น ขอ้ ประพฤตปิ ฏิบัติ ศลี ธรรม กฎศลี ธรรม” พระเมธีธรรมาภรณ์ (ประยูร ธมมจติ โต) (2535: 81-82) กลา่ วว่าจรยิ ธรรม คอื หลักแห่งความ ประพฤติ หรือแนวทางการปฏิบตั ิ หมายถงึ แนวทางของการปฏบิ ตั ิ หมายถึง แนวทางของการประพฤตปิ ฏิบตั ิจน ใหเ้ ป็นคนดเี พอ่ื ประโยชนส์ ุขของตนเองและสว่ นรวม นอกจากนพี้ ระเมธธี รรมาภรณ์ (ประยรู ธมมจติ โต) (2538: 2) ยงั ใหแ้ นวคิดวา่ จรยิ ธรรมคอื หลกั แหง่ ความประพฤติดีงามสำหรับทกุ คนในสังคม ถ้าเป็นขอ้ ปฏิบตั ิทั่วไป เรยี กว่าจรยิ ธรรม ถ้าเป็นขอ้ ควรประพฤตทิ ี่ มีสาสนาเขา้ มาเกี่ยวขอ้ ง เราเรียกวา่ ศีลธรรม แต่ท้งั นมี้ ไิ ด้หมายความว่า จรยิ าธรรมอิงอยกู่ ับหลกั คำสอนทาง ศาสนาเพยี งอย่างเดยี ว แท้ทีจ่ รงิ นน้ั ยงั หย่ังรากอยบู่ นขนบธรรมเนียมประเพณี แม้นักปราชญ์คนสำคญั เชน่ อริสโตเตลิ คานท์ มหาตมะคานธี กม็ สี ว่ นสร้างจริยธรรมสำหรบั เปน็ แนวทางในการดำรงชีวิตของคนจำนวนหน่ึง จากทัศนะของพระเมธธี รรมภรณ์ดังกล่าวขา้ งตน้ นี้ จะเห็นไดว้ ่าจริยธรรมไมแ่ ยกเดด็ ขาดจาก ศีลธรรม แต่มีความหมายกวา้ งกว่าศลี ธรรม ศีลธรรมเปน็ หลักคำสอนทวี่ า่ ด้วยความประพฤติชอบ ส่วนจริยธรรม หมายถึง หลักแห่งความประพฤติดปี ระพฤตชิ อบอันวางรากฐานอยู่บนหลักคำสอนของศาสนา ปรชั ญาและ ขนบธรรมเนยี มประเพณี ทา่ นผ้นู ้ีมองจริยธรรมในฐานะทเี่ ป็นระบบ อันมศี ลี ธรรมเปน็ สว่ นประกอบสำคญั แตก่ ม็ ี แนวคิดปรชั ญา คา่ นิยม ตลอดจนธรรมเนียมประเพณเี ขา้ มาเก่ยี วขอ้ งด้วยจากที่กล่าวมาทั้งหมดพอสรุปไดว้ ่า คำวา่ คุณธรรม จริยธรรม สองคำนเ้ี ปน็ คำที่มีความหมายเกี่ยวขอ้ งกนั ในด้านคุณงามความดี กล่าวคือ จริยธรรมคือความ ประพฤตทิ ถี่ ูกต้องดงี ามท้ังกายและวาจา สมควรท่ีบุคคลจะประพฤติปฏบิ ัติ เพ่อื ให้ตนเองและคนในสงั คมรอบข้าง มีความสุข สงบ เยอื กเย็น จริยธรรมเป็นเรือ่ งของการฝกึ นสิ ัยท่ีดี โดยกระทำอยา่ งตอ่ เน่อื งสม่ำเสมอจนเปน็ นิสยั ผู้ มคี วามประพฤตดิ ีงามอยา่ งแท้จรงิ จะต้องเป็นผมู้ คี วามรสู้ ึกในดา้ นดอี ยตู่ ลอดเวลา คอื มี “คณุ ธรรม” อยใู่ นจิตใจ หรอื อาจกลา่ วไดว้ า่ จริยธรรมเป็นเร่ืองของการประพฤติปฏิบตั เิ ป็นพฤตกิ รรมภายนอก สว่ นคุณธรรมเปน็ สภาพคุณ งามความดภี ายในจติ ใจ ซง่ึ ทั้งสองส่วนตอ้ งเกย่ี วขอ้ งสมั พันธ์กัน พฤติกรรมของคนที่แสดงออกมาทง้ั ทางกายและ วาจาน้นั ยอ่ มเกยี่ วเนือ่ งสัมพนั ธแ์ ละเป็นไปตามความรูส้ กึ นึกคดิ ทางจติ ใจและสติปญั ญา การพฒั นาคุณธรรม จริยธรรมของบคุ คลจึงตอ้ งพัฒนาทงั้ 3 ดา้ น ควบคูก่ ันไป คอื การพัฒนาดา้ นสติปัญญา ด้านจติ ใจและดา้ น พฤติกรรม 2. ความสำคญั ของคุณธรรมจริยธรรม คุณธรรมจริยธรรมนบั ว่าเปน็ พ้นื ฐานท่ีสำคญั ของคนทกุ คนและทุกวิชาชีพ หากบคุ คลใดหรือ วชิ าชพี ใดไม่มีคุณธรรมจรยิ ธรรมเปน็ หลกั ยดึ เบอื้ งตน้ แล้วก็ยากท่จี ะก้าวไปส่คู วามสำเร็จแหง่ ตนและแห่งวชิ าชพี นั้นๆ ท่ยี ่งิ กว่านนั้ ก็คือการขาดคุณธรรมจรยิ ธรรมทัง้ ในสว่ นบคุ คลและในวิชาชพี อาจมีผลรา้ ยต่อตนเอง สงั คมและ วงการวชิ าชพี ในอนาคตได้อกี ดว้ ย ดงั จะพบเห็นไดจ้ ากการเกิดวกิ ฤติศรัทธาในวิชาชีพหลายแขนงในปจั จุบัน ทง้ั วงการวชิ าชพี ครู แพทย์ ตำรวจ ทหาร นกั การเมืองการปกครอง ฯลฯ จึงมีคำกลา่ ววา่ เราไม่สามารถสร้างครูดีบน พ้นื ฐานของคนไม่ดี และไมส่ ามารถสร้างแพทย์ ตำรวจ ทหารและนักการเมืองท่ดี ี ถ้าบุคคลเหล่าน้นั มพี ้นื ฐานทาง โครงการสง่ เสริมคุณธรรม จริยธรรม นกั ศกึ ษา กศน.อำเภอโชคชยั | กศน.อำเภอโชคชยั ประจำปีงบประมาณ 2564 5

นสิ ยั และความประพฤติทไี่ มด่ ี ดงั พระบรมราโชวาทพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั ภมู พิ ลอดุลยเดชฯ ในพระราช พธิ บี วงสรวงสมเด็จพระมหากษัตรยิ าธริ าช ณ ทอ้ งสนามหลวง เม่ือวนั จนั ทร์ที่ 5 เมษายน พ. ศ. 2525 ไว้ ดังน้ี “.....การจะทำงานใหส้ มั ฤทธิผ์ ลทีพ่ งึ ปรารถนา คือใหเ้ ป็นประโยชน์และเป็นธรรมดว้ ยน้นั จะ อาศยั ความรู้แต่เพียงอยา่ งเดยี วมไิ ด้ จำเป็นตอ้ งอาศยั ความสุจริต ความบริสุทธ์ิใจ และความถกู ตอ้ งเปน็ ธรรม ประกอบดว้ ย เพราะเหตุว่าความรูน้ น้ั เสมอื นเคร่ืองยนต์ท่ที ำให้ยวดยานเคล่อื นท่ไี ปไดป้ ระการเดยี ว ส่วนคณุ ธรรม ดังกลา่ วแลว้ เปน็ เสมอื นหนง่ึ พวงมาลยั หรือหางเสอื ซึง่ เปน็ ปจั จัยท่ีนำทางให้ยวดยานดำเนินไปถกู ทางด้วยความ สวัสดี คอื ปลอดภัย บรรลุจดุ ประสงค์..” จรยิ ธรรมจงึ เป็นสิง่ สำคญั ในสงั คม ที่จะนำความสุขสงบและความและความเจรญิ กา้ วหน้ามาสู่ สังคมนัน้ ๆ เพราะเมอ่ื คนในสังคมมจี รยิ ธรรม จติ ใจกย็ อ่ มสูงส่ง มีความสะอาด และสว่างในจิตใจ จะทำการงานใด ก็ไมก่ อ่ ให้เกดิ ความเดอื ดรอ้ น ไมกอ่ ใหเ้ กิดทกุ ขแ์ ก่ตนเองและผูอ้ ่นื เป็นบคุ คลมคี ุณค่ามีประโยชน์ และสรา้ งสรรค์ คุณงามความดี อันเป็นประโยชน์ต่อบา้ นเมอื งตอ่ ไป วศิน อนิ ทสระ (2541 : 6-9) ได้กลา่ วถงึ ความสำคัญและประโยชน์ของจริยธรรมดังจะกล่าวโดยย่อ ดังน้ี 1. จรยิ ธรรมเปน็ รากฐานอันสำคัญแหง่ ความเจริญรุ่งเรอื ง ความมน่ั คงและความสงบสขุ ของ ปัจเจกชน สังคมและประเทศชาตอิ ยา่ งย่ิง รัฐควรสง่ เสริมประชาชนใหม้ ีจริยธรรมเปน็ อนั ดับแรก เพื่อให้เป็น แกนกลางของการพัฒนาดา้ นอ่นื ๆ ท้งั เศรษฐกิจ การศึกษา การเมอื งการปกครอง ฯลฯ การพัฒนาทข่ี าดจรยิ ธรรม เปน็ หลักยดึ ย่อมเกดิ ผลร้ายมากกวา่ ดี เพราะผมู้ คี วามรแู้ ต่ขาดคุณธรรม ยอ่ มกอ่ ใหเ้ กิดความเส่อื มเสียได้มากกวา่ ผู้ด้อยความรู้ โดยท่านกลา่ ววา่ “ ผูม้ ีความรแู้ ต่ไมร่ วู้ ิธีท่ีจะประพฤติตน ย่อมกอ่ ใหเ้ กิดความเสอ่ื มเสียไดม้ ากกว่า ผู้มคี วามรูน้ อ้ ย ถ้าเปรยี บความรู้เหมือนดนิ จริยธรรมย่อมเปน็ เหมือนนำ้ ดนิ ที่ไมม่ ีน้ำยดึ เหนยี่ วเกาะกมุ ยอ่ มเป็นฝ่นุ ละอองให้ความรำคาญมากกว่าให้ประโยชน์ คนที่มคี วามรู้แตไ่ ม่มีจริยธรรมจงึ มักเป็นคนทก่ี อ่ ความรำคาญหรือ เดือดร้อนให้แกผ่ ู้อนื่ อยู่เนือง ๆ” 2. การพฒั นาบา้ นเมอื ง ต้องพฒั นาจิตใจคนก่อน หรอื อยา่ งนอ้ ยกใ็ ห้พร้อมๆไปกบั การพฒั นา เศรษฐกิจ สังคม การศึกษาวชิ าการอื่น ๆ เพราะการพัฒนาที่ไมม่ จี ริยธรรมเปน็ แกนนำนน้ั จะสูญเปล่าและเกิด ผลเสยี เปน็ อันมากทำให้บคุ คลลุ่มหลงในวตั ถุและอบายมขุ การที่เศรษฐกิจต้องเส่อื มโทรม ประชาชนทกุ ขย์ าก เพราะคนในสังคมละเลยจรยิ ธรรม กอบโกยทรัพยส์ ินเป็นประโยชนส์ ่วนตวั มากเกนิ ไปขาดความเมตตาปราณี แล้งน้ำใจในการดำเนินชีวิตซึง่ กันและกัน 3. จรยิ ธรรม มไิ ด้หมายถงึ การถอื ศลี กินเพล เข้าวดั ฟงั ธรรม จำศลี ภาวนา โดยไม่ชว่ ยเหลอื ทำ ประโยชน์ใหแ้ ก่สังคม แต่จริยธรรมหมายถงึ ความประพฤติ การกระทำและความคิดทถี่ กู ตอ้ งเหมาะสมการทำ หนา้ ทีข่ องตนอย่างถูกต้องสมบูรณ์ เว้นสิ่งควรเวน้ ทำสิง่ ควรทำ ดว้ ยความฉลาดรอบคอบ รเู้ หตุรู้ผลถูกตอ้ งตาม กาลเทศะและบุคคล ดงั น้ันจะเห็นว่าจรยิ ธรรมจึงจำเป็นและมคี ุณค่าสำหรบั ทกุ คนในทุกวชิ าชพี ทกุ สังคม สังคมจะ อยรู่ อดด้วยจรยิ ธรรม 4. การทุจรติ คดโกง การเบยี ดเบยี นกันในรูปแบบตา่ ง ๆ อนั เป็นเหตใุ ห้สงั คมเสอ่ื มโทรม มสี าเหตุ มาจากการขาดจริยธรรมของคนในสังคม ทรัพยากรธรรมชาตใิ นโลกนนี้ า่ จะพอเลย้ี งชาวโลกไปได้อีกนาน ถ้า โครงการสง่ เสริมคุณธรรม จรยิ ธรรม นกั ศึกษา กศน.อำเภอโชคชัย | กศน.อำเภอโชคชัย ประจำปีงบประมาณ 2564 6

ชาวโลกช่วยกนั ละทงิ้ ความละโมบโลภมาก แล้วมามชี ีวติ อยู่อย่างเรียบง่าย ชว่ ยกันสรา้ งสรรค์สงั คม ยดึ เอา จรยิ ธรรมเปน็ ทางดำเนนิ ชีวติ ไม่ใช่ยดึ เอาลาภยศความมหี นา้ มตี าในสังคมเปน็ จดุ หมาย ถ้าสง่ิ นั้นจะเกดิ ขึน้ กถ็ อื เปน็ เพียงผลพลอยได้และนำมาใช้เป็นเคร่ืองมอื ในการประพฤติธรรม เชน่ อาศัยลาภผลเปน็ เครอื่ งมือในการ บำเพ็ญสาธารณประโยชน์อาศยั ยศและความมีหนา้ มเี กยี รติในสังคมเป็นเคร่ืองมอื ในการจงู ใจคนผ้เู คารพนบั ถอื เข้าหาธรรม 5. จริยธรรมสอนให้เราเลกิ ดูหมนิ่ กดขี่คนจน ให้เอาใจใสด่ แู ลเอ้ืออาทรต่อผู้สงู อายุ ซง่ึ เป็นบุพการี ของชาติ สอนให้เราถ่อมตวั เพือ่ เข้าหากันไดด้ กี ับคนทั้งหลาย และไม่วางตวั โอหังอวดดหี รือกา้ วรา้ วผูอ้ น่ื สอนให้เรา ลดทิฐิมานะลงให้มาก ๆ เพ่ือจะได้มองเห็นสงิ่ ตา่ ง ๆ ตามความจริง ไมห่ ลงสำคญั ตัวว่ารู้ดกี วา่ มีความสามารถกว่า ใคร ผู้นำท่มี ีจรยิ ธรรมสูงย่อมเปน็ ท่ีเคารพกราบไหว้ของทง้ั หลายได้อย่างสนทิ ใจ เราควรเลอื กผู้นำที่สามารถนำ ความสงบสุขทางใจมาสูม่ วลชนไดด้ ว้ ย เพอ่ื สนั ติสุขจะเกดิ ข้ึนทั้งภายในและภายนอก ความแข็งแกรง่ ทางกำลงั กาย กำลังทรพั ยแ์ ละอาวธุ นั้น ถ้าปราศจากความแขง็ แกร่งทางจริยธรรมเสียแล้ว บคุ คลหรือประเทศชาติจะมน่ั คงอยูไ่ ด้ ไม่นาน สงั คมทเ่ี จริญมน่ั คงตอ้ งมีจรยิ ธรรมเปน็ แกนกลาง เหมอื นถนนท่ีมนั่ คงหรอื ตกึ ทแ่ี ขง็ แรง เขาใชค้ อนกรีต เสริมเหล็กแม้เหลก็ จะไมป่ รากฏออกมาใหเ้ ห็นภายนอก แต่มคี วามสำคัญอยูภ่ ายในนายช่างยอ่ มรูด้ ี ทำนองเดยี วกนั กบั บัณฑิตยอ่ มมองเหน็ อยา่ งแจ่มแจง้ ว่าจริยธรรมมคี วามสำคัญในสงั คมเพยี งใด จากขอ้ ความท่กี ลา่ วมาทงั้ หมดน้ี พอสรุปไดว้ ่าคุณธรรมจรยิ ธรรมเป็นรากฐานสำคัญในการพฒั นาคน ปญั หาของสังคมไทยที่ประสบพบเห็นอย่ทู กุ วนั นี้เกิดจาก “คน” ปัญหาเร่ิมตน้ ที่ “คน” และมผี ลกระทบถงึ “คน” การแก้ปัญหาสงั คมไทยจึงต้องแก้ดว้ ย “การพัฒนาคน” เพอ่ื ใหค้ นมปี ญั ญา มีความร้มู ีคุณธรรมและมีทักษะในการ แกป้ ญั หาชีวิต ปญั หาจงึ อยู่ทีว่ ่าเราจะพฒั นาคนอย่างไรเพ่อื ใหค้ นมีชีวิตท่ดี งี ามสามารถใช้ความรู้และแกป้ ัญหาได้ สร้างสรรค์ได้ ปฏบิ ัติตอ่ เทคโนโลยอี ยา่ งถูกต้อง อยูใ่ นระบบการแขง่ ขันทางเศรษฐกิจได้ บรโิ ภคผลผลติ ด้วยปัญญา รู้อะไรดี อะไรชั่ว มีทศั นคตทิ างจรยิ ธรรมท่เี หมาะสม ฯลฯ ทง้ั หมดนีเ้ ปน็ คุณสมบตั ิของคนทมี่ ีคุณธรรม การจัดการ ศึกษาคงต้องยดึ หลกั สำคัญคอื “ใหค้ วามรู้คู่คุณธรรม” สังคมไทยจงึ จะมีสมาชกิ ของสังคมที่เป็นทั้งคนเกง่ และคนดี ดงั คำกลอนของอำไพ สจุ ริตกลุ (2534 : 186) กล่าวไว้ ดงั น้ี เมือ่ ความรู้ยอดเยี่ยมสงู เทยี มเมฆ แต่คุณธรรมตำ่ เฉกยอดหญ้าน่ัน อาจเสกสร้างมิจฉาสารพัน ด้วยจิตอันไร้อายในโลกา แม้คุณธรรมเยย่ี มถึงเทียมเมฆ แต่ความรู้ตำ่ เฉกเพยี งยอดหญ้า ยอ่ มเปน็ เหยอ่ื ทรชนจนระอา ด้วยปญั ญาอ่อนดอ้ ยนา่ น้อยใจ หากความรู้สงู ลำ้ คุณธรรมเลิศ แสนประเสริฐกอปรกิ ิจวินิจฉยั จะพัฒนาประชาราษฎรท์ ัง้ ชาตไิ ทย ตอ้ งฝึกใหค้ วามร้คู คู่ ณุ ธรรม อำไพ สจุ รติ กลุ (2534: 186) คณุ ธรรมพ้นื ฐานของผู้นำ “....ในฐานะท่เี ปน็ ครอู าจารย์ หัวหนา้ งาน จำเป็นตอ้ งมีความสุจริต ยุติธรรม ทำตัวให้เปน็ ตวั อยา่ ง เป็นท่พี ึง่ ของผอู้ ย่ใู ต้บังคับบัญชา โครงการสง่ เสรมิ คุณธรรม จรยิ ธรรม นกั ศกึ ษา กศน.อำเภอโชคชัย | กศน.อำเภอโชคชยั ประจำปีงบประมาณ 2564 7

ไม่ยอมแพพ้ า่ ยต่อความโลภ ความลืมตัว ความรษิ ยา ความแตกร้าว ต้องมงุ่ มนั่ ในประโยชนอ์ ันรงุ่ เรืองไพศาล ของส่วนรวมเป็นเปา้ หมาย จึงจะไดช้ อื่ ว่าประสบความสำเรจ็ และมชี ่อื เสยี งเกยี รติคณุ ทุกประการ ดังท่ีปรารถนา.........” พระบรมราโชวาท พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวภมู ิพลอดุลยเดชมหาราช โครงการสง่ เสรมิ คณุ ธรรม จริยธรรม นกั ศึกษา กศน.อำเภอโชคชัย | กศน.อำเภอโชคชัย ประจำปงี บประมาณ 2564 8

บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน การดำเนินงานโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม นักศึกษา กศน.อำเภอโชคชัย คณะทำงานได้ ดำเนนิ งาน ดังน้ี 1. สำรวจกลุ่มเป้าหมาย ประชาชนในอำเภอโชคชยั จงั หวัดนครราชสีมา จำนวน 200 คน 2. ประชุม/ชแี้ จงวางแผนการดำเนินงานแก่บคุ ลากร กศน.อำเภอโชคชัย เพื่อกำหนดรูปแบบและ วางแผนการดำเนนิ งาน ในวนั ที่ 19 พฤษภาคม 2564 ณ กศน.อำเภอโชคชัย อำเภอโชคชยั จังหวัดนครราชสีมา 3. จัดเตรียมเอกสาร/วัสดุอุปกรณ์ และประสานสถานที่ เพ่อื เตรยี มความพร้อมด้านเอกสารวสั ดุ อุปกรณ์ และสถานที่ ในวันท่ี มิถุนายน – กรกฎาคม 2564 ณ กศน.อำเภอโชคชัย อำเภอโชคชัย จังหวัด นครราชสมี า 4. ดำเนินการจัดโครงการค่ายเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม นักศึกษา กศน.อำเภอโชคชัย โดยมคี ณะวทิ ยากรให้ความรู้ ดังนี้ 1. อริ ยิ าบถ 4 และมารยาทชาวพุทธ มารยาท หมายถึงกิริยาวาจาท่ีถือว่าเรียบร้อย มารยาทชาวพุทธจึงหมายถึง กิริยาวาจาที่ชาวพุทธ ประพฤติปฏิบัติที่ถือว่าเรียบร้อย เนื่องจากคนไทยส่วนใหญ่นับถือพระพุทธศาสนาในการกล่าวถึงมารยาทชาว พุทธจึงเก่ียวโยงกับมารยาทไทยโดยทั่วๆ ไปด้วย ส่วนมารยาทต่างชาติเป็นวัฒนธรรมของคนต่างชาติย่อมมีการ แสดงออกในด้นต่างๆ แตกต่างจากมารยาทไทย เชน่ การแสดงความเคารพ การทักทาย การแสดงคามยนิ ดีโดย การจบั มอื เป็นต้น - มกี ริ ิยา วาจาสุภาพ เรยี บรอ้ ย ออ่ นโยน - แต่งกายดว้ ยเสื้อผา้ ท่เี หมาะสมแก่วยั สภุ าพและเหมาะสมกับโอกาสและสถานที่ - มอี ิรยิ าบถอยใู่ นทา่ ธรรมดาไมฝ่ นื แตส่ ุภาพและไมแ่ ข็งกระด้าง - การแสดงมารยาท ไม่ชา้ จนอดื อาด และไม่เรว็ จนลุกลีล้ กุ ลน การแสดงออกทางท่าทางกิริยาท่าทางและทางวาจาจะเกิดความตั้งใจเป็นหลักการตั้งใจดีไว้ก่อนย่อมจะ สง่ ผลถึงการประพฤติให้ถูกตอ้ งและเหมาะสมไปด้วย ซึง่ หลกั สำคัญอยา่ งหน่ึงของพระพุธศาสนาก็คอื เรอื่ งของการ ฝึกใจให้ตั้งม่ัน เพ่ือให้ส่งผลถึงการปฏิบัติในท่ีสุดมารยาทชาวไทยแลมารยาทชาวพุทธเป็นสิ่งที่คู่กัน ส่วนท่ีจะ กลา่ วถงึ ไดแ้ ก่ การนง่ั การยืน การ ตามลำดับ 1.1 การนั่ง น้ีท่านไม่จำกัด น่ังได้ตามสบาย ชอบขัดสมาธิหรือพับเพียบ หรือท่าใดท่าหน่ึงท่ีพอ เหน็ ว่า เหมาะสม พอสบาย ทำได้ แต่ตามแบบที่พูดเป็นกลาง ๆ ไวว้ า่ เขา้ สู่ท่สี งัด นั่งขดั สมาธิ ตั้งกายใหต้ รง ดำรง จติ ให้มั่น การตั้งกายให้ตรงนัน้ สังเกตดูด้วยการทดลองสดู ลมหายใจเข้าออก เอาพอหายใจสบาย ๆ ถา้ คนหลงั งอ หลงั โกง บังคบั ใหต้ รงเป๋งย่อมไม่ได้ ตอ้ งให้เหยียดพอดเี ท่าท่จี ะเหยียดได้ โครงการส่งเสรมิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม นักศึกษา กศน.อำเภอโชคชัย | กศน.อำเภอโชคชัย ประจำปีงบประมาณ 2564 9

1.2 นอน ท่านว่าควรนอนตะแคงขวา แบบสีหไสยาสน์ แต่ถ้านอนไม่ได้เพราะเหตุใดก็ตาม จะ นอนท่าใดก็ได้ ตามแต่ทีจ่ ะเหน็ ว่าสบาย 1.3 ยืน ยนื ไมม่ หี ลายทา่ เอากนั แค่ยืนได้ ก็แค่ยืนกันแบบสบาย ๆ 1.4 การเดนิ การเดินนี้มีความสำคัญมาก เดนิ นีท้ า่ นเรยี กว่า \"จงกรม\" ท่านสอนใหเ้ ดิน หลายอย่าง 1) เดนิ นบั กา้ ว ทเ่ี ทา้ ก้าวไป 2) เดินกำหนดร้กู ารก้าวไปและถอยกลับ รพู้ ร้อมท้งั การแกวง่ แขนและยกขาว่า ก้าวเท้า ซ้ายหรือเทา้ ขวา แกว่งแขนซ้ายหรอื แขนขวา ก้าวไปขา้ งหน้า หรอื ขา้ งหลงั เปน็ ตน้ 3) เดนิ กำหนดอารมณ์สมาธิ คือกำหนดนิมิตสมาธิตามอารมณ์กรรมฐานทีเ่ จริญอยู่ โดย เดนิ ไปตามปกตธิ รรมดา การเดินปฏิบัติ ท่านเรียกว่า เดินจงกรม คือเดินควบคุมสติให้รู้ว่า ก้าวไปหรือถอยกลับ ใหม่ ๆ ทา่ นให้ฝกึ นับก้าว วา่ เดินไปไดก้ ่ีกา้ วจึงถึงท่ีหมาย ตอ่ มาให้กำหนดรู้ว่า เราเดินด้วยเท้าซา้ ยหรือเท้าขวาให้กำหนดรู้ ไว้ เพือ่ รักษาสมาธิ ตอ่ ไปกเ็ ดินกำหนดอารมณ์กรรมฐาน ถา้ เป็นกรรมฐานทีม่ ีรูป กก็ ำหนดรูปกรรมฐานไปพร้อมกัน กรรมฐานกองใด ได้สมาธใิ นขณะเดิน กรรมฐานกองน้นั สมาธไิ มม่ ีเสือ่ ม วิธเี ดนิ ตอนแรก ๆ ควรเดนิ ช้า ๆ เพราะจิตยังไม่ชนิ ต่อเม่อื ชินแล้ว ให้เดินตามปกติแลว้ กำหนดรู้ ไปด้วย เมื่อใดถ้าเดินเป็นปกติ รู้การก้าวไปและถอยกลับได้จิตไม่เคลื่อน และรักษาอารมณ์สมาธิ หรือนิมิต กรรมฐานได้เปน็ ปกติ ทงั้ เดินในท่ฝี กึ หรือเดินในธรุ กจิ กช็ ือ่ วา่ ท่านเป็นนกั ปฏบิ ัตทิ ี่เข้าระดบั แลว้ 2. พุทธประวตั ิและศาสนพธิ ี 2.1 พุทธประวตั ิ พระประวัตขิ องพระบรมศาสดา สกลุ กำเนิดและปฐมวัย กอ่ นพุทธศักราช ๘๐ ปี พระนางสริ ิมายา ราชธิดาของกษัตรยิ ์โกลิยวงคผ์ ู้ครองกรงุ เทวทหะ พระ มเหสขี องพระเจ้าสุทโธทนะ กษตั รยิ ผ์ ้คู รองกรงุ กบิลพัสด์ุ ทรงประสตู พิ ระโอรส เม่อื วนั ศกุ ร์ ขนึ้ ๑๕ คำ่ เดอื น ๖ ปี จอ ณ สวนลุมพินีวนั ซงึ่ ตงั้ อยรู่ ะหวา่ งกรงุ กบิลพสั ด์กุ ับกรุงเทวทหะ (ปจั จุบนั คอื ตำบลรมุ มนิ เด ประเทศเนปาล) หลงั จากประสูติ อสตี ดาบส เป็นมหาฤษีอยู่ ณ เชิงเขาหมิ พานตเ์ ป็นที่เคารพของราชสกุลได้รับ ทราบข่าวการ ประสูตรของพระกุมารจึงเดนิ ทางมาเย่ียม และไดท้ ำนายวา่ ถา้ พระกมุ ารอยคู่ รองฆราวาสจะไดเ้ ป็นจักรพรรดิ ถ้า ออกบวชจะได้เปน็ ศาสดาเอกของโลก ๕ วนั หลังประสูติพระเจ้าสุทโธทนะพร้อมทง้ั พระนางสริ ิมหามายา พระ ประยรู ญาตไิ ดจ้ ัดพิธขี นานพระนามพระราชกุมารว่า สทิ ธัตถะ โดยเชญิ พราหมณ์ ๑๐๘ คนมาเลี้ยง แล้วไดค้ ัดเลอื ก เอาพราหมณ์ช้นั ยอด ๘ คนให้เป็นผู้ทำนายลกั ษณะพระกมุ าร เมื่อประสูติได้ ๗ วัน พระมารดาก็เสดจ็ ทวิ งคต พระ เจา้ สุทโธทนะ จงึ มอบให้พระนางประชาบดีซง่ึ เป็นพระขนษิ ฐาของพระนางสริ ิมหามายาเปน็ ผู้เลีย้ งดู เมอ่ื เจา้ ชาย สิทธัตถะพระชนมายุ 8 พรรษาไดท้ รงศกึ ษาในสำนกั ครูวิศวะมิตร พระองคท์ รงศึกษาได้อยา่ งรวดเร็ว มคี วามจำดี เลิศ และทรงพระปรชี าสามารถในการกีฬา ข่มี ้า ฟนั ดาบ และยงิ ธนู โครงการสง่ เสริมคณุ ธรรม จรยิ ธรรม นักศึกษา กศน.อำเภอโชคชยั | กศน.อำเภอโชคชัย ประจำปงี บประมาณ 2564 10

อภเิ ศกสมรส วัยหนุ่ม พระราชบิดาไมต่ อ้ งการใหเ้ จ้าชายสทิ ธัตถะทรงออกบวช พระองคท์ รงพอพระทัยท่จี ะให้ เจ้าชายสิทธัตถะเปน็ องค์จักรพรรดิ จึงใชค้ วาพยายามทกุ วิถที างเมอ่ื เจ้าชายสทิ ธัตถะพระชนมายไุ ด้ ๑๖ พรรษา พระราชบดิ าได้โปรดให้สร้างปราสาท ๓ หลงั ใหป้ ระทับใน ๓ ฤดู และทรงสขู่ อพระนางโสธราพมิ พา พระราชธดิ า ของพระเจา้ สปุ ปพทุ ธะ แหง่ กรุงเทวทหะ อยู่ในตระกูลโกลิยวงคใ์ หอ้ ภิเษกดว้ ย เจา้ ชายสทิ ธัตถะได้เสวยสุขสมบตั ิ จนพระชนมายุ ๒๙ พรรษา พระนางยโสาธารากป็ ระสูตพิ ระโอรส ทรงพระนามวา่ ราหลุ ออกบรรพชา เสดจ็ ออกบรรพชา เจ้าชายสิทธัตถะทรงเบ่อื หน่ายในโลกียวิสยั ถึงแม้ว่าพระองค์จะทรงสมบรู ณ์ ดว้ ยทรัพยส์ มบัติอยา่ งเหลือลน้ พระองคก์ ็ยงั คงตรติ รองถงึ ชวี ติ คน ฝกั ใฝพ่ ระทัยคดิ ค้นหาวิธที างดับทกุ ข์ทมี่ นุษย์ เรามีมากมาย พระองค์คิดวา่ ถ้ายงั อยูใ่ นเพศฆราวาส พระองค์คงหาทางแก้ทุกข์ อันเกดิ จากความแก่ ความเจ็บ ความตายไมไ่ ดแ้ น่ พระองค์จึงตดั สินใจเสดจ็ ออกบวช โดยพระองค์ทรงม้ากัณฐกะ สแู่ ม่น้ำอโนมา ณ ทน่ี ี้พระองค์ ทรงอธิษฐานเพศเปน็ บรรพชิตและมอบหมายเครื่องประดับและม้ากณั ฐกะให้นายฉันนะนำกลับไปยังกรุงกบลิ พัสดุ์ เขา้ ศึกษาในสำนกั ดาบส การแสวงหาธรรม ระยะแรกหลงั จากทรงออกบวชแลว้ เจ้าชายสิทธัตถะได้ทรงศึกษาในสำนกั อาฬารดาบส ที่กรงุ ราชคฤห์ อาณาจกั รมคธเมื่อสำเรจ็ การศึกษาจากสำนักนแี้ ล้วพระองค์ทรงเห็นวา่ ไม่ใช่หนทางใน การหลดุ พ้นจากทกุ ข์ตามท่ีพระองค์ได้ทรงมุง่ หวังไวพ้ ระองค์จึงลาอาฬารดาบสและอุททกดาบสเดินทางไปแถบ แม่นำ้ คยา ในตำบลอุรุเวลาเสนานิคมแห่งกรงุ ราชคฤห์ อาณาจกั รมคธ บำเพ็ญทุกรกิรยิ า การบำเพ็ญทุกรกริ ิยา เมือ่ พระองค์ทรงเปลยี่ นพระทยั ทจ่ี ะคดิ ค้นคว้าแสวงหาความรู้ด้วยพระองค์ เองแทนทจ่ี ะทรงเล่าเรียนในสำนกั อาจารย์แล้วพระองค์เร่ิมด้วยการทรมานพระวรกายตามวิธกี ารของโยคี เรียกว่า การบำเพ็ญทกุ รกิรยิ า บรเิ วณแมน่ ำ้ เนรญั ชรานั้น พระมหาบรุ ุษไดท้ รงบำเพ็ญทุกรกิรยิ าเป็นเวลา ๖ ปี พระองค์ก็ ยงั คงมิได้ค้นหาทางหลดุ พ้นจากทุกขไ์ ด้ พระองคท์ รงเลกิ การบำเพ็ญทกุ รกิริยา แลว้ กลับมาเสวยพระกระยาหาร เพือ่ บำรงุ พระวรกายใหแ้ ข็งแรง จะได้มีกำลังในการคิดค้นพบวิธีใหม่ ในขณะท่ีพระมหาบุรษุ ไดท้ รงบำเพ็ญทกุ ร กริ ิยานน้ั ได้มีปญั จวคั คีย์มาคอยปรนนิบัติรบั ใช้ดว้ ยความหวงั ว่า พระมหาบรุ ุษไดต้ รัสรู้แลว้ พวกตนจะได้รบั การ ถ่ายทอดบ้าง และเม่อื พระมหาบรุ ษุ ลม้ เลกิ การบำเพ็ญทุกรกริ ยิ า ปญั จวัคคยี ก์ ไ็ ด้ชวนกนั ละท้ิงมหาบรุ ุษไปท้ังหมด เปน็ ผลทำให้พระมหาบรุ ุษได้อยู่ตามลำพงั ในทส่ี งบเงยี บ ปราศจากส่งิ รบกวนทงั้ ปวง ปัญจวัคคไี ปอย่ทู ป่ี ่าอิสิปตน มฤคทายวนั กรุงพาราณสี พระองคไ์ ด้ทรงตง้ั พระสตแิ ละเดนิ ทางกายกลาง คือ การปฏิบตั ิในความพอเหมาะ พอควร ตรสั รู้ ตรสั รู้ ตอนเช้าวนั เพญ็ เดอื น ๖ ปรี ะกา กอ่ นพทุ ธศักราช ๔๕ นางสุชาดาไดน้ ำข้าวมธุปายาสเพอ่ื ไปบวงสรวงเทวดา ครนั้ เหน็ พระมหาบรุ ษุ ประทบั ทีโ่ คนตน้ ไทรด้วยอาการสงบ นางคดิ ว่าเป็นเทวดา จงึ ถวายทอด ขา้ วมธปุ ายาสแล้วเสด็จไปรมิ ฝั่งแม่นำ้ เนรญั ชรา ตอนเย็นวนั นน้ั เองพระองค์ไดก้ ลบั มายงั ตน้ โพธ์ิทีป่ ระทบั พบคน หาบหญา้ ช่อื โสตถิยะ คนหาบหญา้ ไดถ้ วายหญ้าให้พระองคป์ ลู าด ณ ใตต้ ้นโพธิ์ แล้วขน้ึ ประทบั หันพระพกั ตร์ไป ทางทิศตะวนั ออก และไดต้ ง้ั จติ อธิษฐานวา่ แม้เลือดในกายของเราจะเหือดแหง้ ไปเหลอื แตห่ นงั เอ็น กระดูก กต็ าม ถา้ ยงั ไม่พบธรรมวเิ ศษแลว้ จะไมย่ อมหยดุ ความเพยี รเป็นอันขาด เมอื่ ทรงตัง้ จิตอธิษฐานแล้ว พระองคก์ ็ทรงสำรวม โครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม นกั ศกึ ษา กศน.อำเภอโชคชยั | กศน.อำเภอโชคชัย ประจำปงี บประมาณ 2564 11

จติ ให้สงบแน่วแน่ พระองค์เร่ิมบำเพญ็ เพียรทางจติ และในที่สุดทรงชนะความลงั เลพระทัย ทรงบรรลคุ วามสำเรจ็ เมือ่ พระองคท์ รงรู้เหน็ อย่างน้ี จิตก็พ้นจากกเิ ลสท้ังปวง พระองค์ก็ตรัสรเู้ ป็นพระสมั มาสมั พุทธเจ้า เม่อื พระชนมายุ 35 พรรษา ในวันเพญ็ เดอื น ๖ ปรี ะกาธรรมสูงส่งที่พระพทุ ธเจา้ ตรสั รู้นั้น คือ อริยสัจ ทุกข์ สมุทัย นโิ รธ และ มรรค ประกาศพระศาสนาครัง้ แรก การแสดงปฐมเทศนา วันข้ึน ๑๔ ค่ำ เดอื นอาสาฬหะ (เดือน ๘) ณ ป่าอิสปิ ตนมฤคทายวัน พระพุทธเจา้ เสดจ็ ไปหาปญั จวัคคีย์ พระองค์ได้ทรงแสดงธรรมในวนั ข้ึน ๑๕ คำ่ เดือน ๘ เรียกวา่ ธรรมจักกัปวตั น สตู ร ในขณะท่ีทรงแสดงธรรมนัน้ ท่านโกณฑญั ญะได้ธรรมจกั ษุ คอื พระโสดาบัน ได้ทลู ขออุปสมบทในพระธรรม วนิ ยั ของสัมมสมั พุทธเจา้ เรยี กการบวชคร้งั นวี้ ่า \"เอหภิ กิ ขอุ ุปสัมปทา\" พระอัญญาโกณฑญั ญะ จึงเปน็ พระภกิ ษรุ ูป แรกในพุทธศาสนา การประกาศพระพทุ ธศาสนา เมอื่ พระองค์ มสี าวกเปน็ พระอรหันต์ ๖๐ องค์ และก็ไดอ้ อกพรรษาแลว้ ทรงพจิ ารณาเหน็ สมควร วา่ จะออกไปประกาศศาสนา ให้เป็นท่แี พร่หลายได้แล้ว พระองค์จงึ เรียกประชมุ สาวกทงั้ หมดแล้วตรสั วา่ \"ภิกษุ ท้งั หลาย เราไดพ้ อ้ นจากบ่วงทั้งปวงทงั้ ชนดิ ทีเ่ ป็นทิพย์ และชนดิ ทเ่ี ป็นของมนษุ ย์แลว้ แมท้ ่านทั้งหลายก็ เชน่ เดียวกนั เราท้ังหลายจงพากันจารกิ ไปยงั ชนบททง้ั หลาย เพ่ือประโยชนแ์ ละความสุขแกม่ หาชนเถิด อย่าไป รวมกันทางเดยี วถึงสองรูปเลย จงแสดงธรรมใหง้ ามทัง้ ในเบ้ืองต้น ท่ามกลาง และท่สี ุด พร้อมทง้ั อรรถ พร้อมทั้ง พยญั ชนะ เถิด จงประกาศพรหมจรรย์อันบริสุทธ์ิบริบูรณส์ ิน้ เชิง สตั ว์ทง้ั หลายทมี่ กี ิเลสเบาบางนน้ั มอี ยู่ เพราะโทษ ทไ่ี มไ่ ดฟ้ ังธรรม ย่อมจะเสือ่ มจากคุณทจี่ ะพงึ ได้ถึง ผู้รทู้ วั่ ถึงธรรมคงจกั มีอยู่ แม้ตวั เราก็จะไปยงั อรุ เุ วลาเสนานิคม เพอ่ื แสดงธรรมเชน่ กนั \" พระองคท์ รงส่งสาวกออกประกาศศาสนาพร้อมกนั ทเี ดยี ว ๖๐ องค์ ไป ๖๐ สาย คือ ไป กันทกุ สารทศิ ทีเดียว แม้พระองคเ์ องก็ไปเหมือนกัน ไมใ่ ชแ่ ตส่ าวกอยา่ งเดยี วเท่านน้ั นบั วา่ เปน็ ตัวอย่างทดี่ ขี อง บคุ คลทจี่ ะเป็นผนู้ ำทีเดยี ว สาวกทงั้ ๖๐ องคเ์ มื่อได้รบั พุทธบัญชาเช่นนัน้ ก็แยกยา้ ยกันไปประกาศศาสนาตามจังหวดั อำเภอ และตำบลต่างๆ ทำให้กุลบุตรในดินแดนถ่ินฐานต่าง ๆ เหล่านั้น หันมาสนใจมากเล่ือมใสมากข้ึน บางคนขอบวช แต่สาวกเหล่านั้นยังให้บวชเองไม่ได้ จึงต้องพากุลบุตรเหล่าน้ันมาเฝ้าพระพุทธเจ้าเพ่ือให้พระองค์บวชให้ทำให้ ได้รับความลำบากในการเดินทางมาก ฉะนั้นพระพุทธเจ้าจึงทรงอนญุ าตให้สาวกเหล่าน้ันอุปสมบทกุลบุตรได้โดย โกนผมและหนวดเคราเสยี ก่อน แล้วจึงให้นุ่งห่มผ้ายอ้ มดว้ ยนำ้ ฝาด น่ังคุกเข่าพนมมือกราบภิกษแุ ล้วเปล่งว่าจาว่า \"ขา้ พเจ้าขอถงึ พระพทุ ธเจ้าเป็นสรณะ ขา้ พเจา้ ขอถงึ พระธรรมเปน็ สรณะ ข้าพเจ้าขอถึงพระสงฆเ์ ปน็ สรณะ\" รวม ๓ ครั้ง การอปุ สมบทนเ้ี รยี กว่า \"ตสิ รณคมนปู สัมปทา\" คือ อปุ สมบทโดยวธิ ใี ห้ปฏิญญาณตนเป็นผู้ถึงสรณคมน์ ทรงปรนิ ิพาน การเสดจ็ ปรนิ ิพพาน หลงั จากพระพุทธเจ้าแสดงปัจฉิมโอวาท ซึง่ วันน้นั ตรงกบั วันเพญ็ เดือน วสิ าขะ (เดอื น ๖) ในยามสุดทา้ ยของวันนนั้ ณ ปา่ ไม้สาละ(สาลวนั อุทยาน) ของกษตั รยิ ์มลั ละ กรงุ กสุ ินารา พระองคไ์ ด้ประทับใตต้ ้นสาละคู่ หลังจากตรสั โอวาทให้แก่พระอริยสงฆ์แลว้ พระองค์มิได้ตรสั อะไรอีกแลว้ เสด็จ ปรินิพพาน ดว้ ยพระอาการสงบ ซง่ึ เปน็ ทน่ี ่าอัศจรรยน์ ักที่วนั ประสตู ิ วนั ตรัสรู้ และวันปรนิ ิพพานของพระพุทธเจ้า ตรงกัน คือ วันเพญ็ เดอื น ๖ 2.2 ศาสนพธิ ี โครงการสง่ เสริมคุณธรรม จรยิ ธรรม นักศกึ ษา กศน.อำเภอโชคชัย | กศน.อำเภอโชคชยั ประจำปงี บประมาณ 2564 12

2.2.1 พธิ ีกรรมและงานพธิ ี ศาสนพิธี หมายถึง ระเบียบแบบแผนหรือแบบอย่างที่พึงปฏิบัติในศาสนาเม่ือนำมาใช้ในพระพุทธศาสนา จึงหมายถึงระเบียบแบบแผนหรือแบบอย่างท่ีพึงปฏิบัติในพระพุทธศาสนาศาสนพิธีเป็นสง่ิ ท่ีมีอยู่ในทุกศาสนาซ่ึง แตกต่างกันไปตามลักษณะความเช่ือของศาสนาหรือลัทธนิ ั้นๆ เป็นส่ิงที่เกิดข้ึนภายหลังศาสนา โดยศาสนาต่าง ๆ จะเกดิ ข้ึนมาก่อนแล้วพิธกี รรมตา่ งๆ จึงเกดิ ขน้ึ แม้จะไม่ใช่ส่ิงที่เป็นแก่นสารของศาสนาแตท่ ่านผู้รู้ก็เปรียบพิธีกรรม หรือศาสนพิธีวา่ เป็นดังเปลือกต้นไม้ซ่ึงคอยห่อหมุ้ แก่นของต้นไม้คือเน้ือแท้ของศาสนาไว้โดยทง้ั สองส่วนนจ้ี ะต้อง อาศัยกันและกัน กล่าวคือ หากไม่มีแก่นแท้ของศาสนาศาสนพิธีก็อยู่ได้ไม่นาน หรือหากมีเฉพาะแก่นของศาสนา แตไ่ มม่ ีศาสนพิธีแก่นแทข้ องศาสนากอ็ ยไู่ ด้ไม่นานเชน่ เดียวกบั ต้นไม้ทม่ี แี ตเ่ ปลือกไมม่ แี ก่นหรอื มแี ต่แก่นไม่มีเปลอื ก ฉะนั้น ศาสนพธิ ีของพระพทุ ธศาสนาก็เช่นกันเป็นสิ่งทีช่ ่วยหล่อเลี้ยงแกน่ แท้ของพระพทุ ธศาสนาไวเ้ หมือนเปลือก ของต้นไม้คอยปกป้องแก่นไม้ไว้ แต่อย่างไรก็ดี การทำพิธีต่างๆของพระพุทธศาสนาในปัจจุบันได้มีจุดหักเหที่จะ กลายเปน็ แก่นแทข้ องพระพุทธศาสนาโดยไปยดึ เอาว่าศาสนพธิ ีนั้นคอื แกน่ ของพระพุทธศาสนา และยดึ ถืออยอู่ ยา่ ง น้ันอย่างแนบแน่นดังน้ันจึงควรศึกษาทำความเข้าใจเก่ียวกับพิธีให้ถ่องแท้ตามหลักการของพระพุทธศาสนา เพ่อื จะได้ปฏบิ ัตไิ ดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งตรงตามจุดมุ่งหมาย 2.2.2 คุณค่าของศาสนพธิ ี ในการประกอบศาสนพิธีทกุ ครงั้ ควรคำนงึ ถงึ คณุ ค่าและประโยชน์ของพิธนี ้นั ๆมากกวา่ จะไปยดึ ติดอย่กู บั ขั้นตอนหรือ ส่วนประกอบเลก็ นอ้ ยท่ไี มเ่ กี่ยวข้อง คุณค่าและประโยชนข์ องศาสนพิธีมีดงั นี้ 1. ศาสนพธิ ีเปน็ เหมอื นเปลอื กท่หี ่อหุ้มสาระของพระพทุ ธศาสนาเอาไวใ้ หป้ ลอดภัยและนำมาใช้ ได้เป็นประโยชนแ์ ก่บคุ คล สังคม ประเทศชาติได้อยา่ งยาวนาน 2. ศาสนพธิ ีเป็นเหมอื นเคร่อื งมอื ท่ีทำให้คนมารวมกนั ทำใหเ้ กิดความสมัครสมานสามัคคีระหวา่ ง คนในชมุ ชน สงั คมและในประเทศ 3. ศาสนพิธเี ป็นเครอ่ื งมอื ในการจดั สรรสภาพแวดล้อม ให้คนได้มีโอกาสเข้ามาใกล้ชิดกับศาสนา และไดเ้ รียนรูส้ าระของพระพทุ ธศาสนา ท้งั ทางตรงและทางออ้ ม 4. ศาสนพิธีเปน็ เครอื่ งหมายที่แสดงออกซึง่ ความเปน็ ชาตทิ ม่ี ีวฒั นธรรมประเพณี และ ขนบธรรมเนียมอนั ดงี าม เพราะวฒั นธรรมประเพณแี ละขนบธรรมอันดงี ามเหลา่ น้ลี ว้ นแล้วแต่อิงอาศัยอยู่กับ แนวคิดทางศาสนา และศาสนพธิ ที ั้งสน้ิ 3. โทษของยาเสพตดิ โทษและพษิ ภัยของยาเสพติด เนอื่ งด้วยพิษภยั หรือโทษของสารเสพติดที่เกดิ แกผ่ ้หู ลงผิดไปเสพสารเหลา่ น้เี ข้า ซ่ึงเปน็ โทษที่มองไม่ เห็นชัด เปรียบเสมือนเป็นฆาตกรเงียบ ที่ทำลายชีวิตบุคคลเหล่านั้นลงไปทุกวัน ก่อปัญหาอาชญากรรม ปัญหา สุขภาพ ก่อความเส่ือมโทรมให้แก่สังคมและบ้านเมืองอย่างร้ายแรง เพราะสารเสพย์ติดทุกประเภทท่ีมีฤทธ์ิเป็น อนั ตรายต่อร่างกายในระบบประสาท สมอง ซ่ึงเปรียบเสมือนศูนย์บัญชาการของร่างกายและชีวิตมนุษย์ การติด สารเสพติดเหลา่ น้ันจงึ ไม่มีประโยชน์อะไรเกดิ ขึ้นแกร่ ่างกายเลย แต่กลบั จะเกิดโรคและพิษร้ายตา่ งๆ จนอาจทำให้ เสียชีวติ หรอื เกิดโทษและอนั ตรายตอ่ ครอบครวั เพ่อื นบ้าน สังคม และชุมชนตา่ งๆ ตอ่ ไปไดอ้ ีกมาก 3.1 โทษทางร่างกาย และจิตใจ โครงการส่งเสริมคณุ ธรรม จริยธรรม นักศึกษา กศน.อำเภอโชคชยั | กศน.อำเภอโชคชยั ประจำปงี บประมาณ 2564 13

1) สารเสพติดจะให้โทษโดยทำใหก้ ารปฏิบตั ิหน้าที่ ของอวัยวะสว่ นตา่ งๆ ของร่างกายเสื่อมโทรม พิษภัยของสารเสพย์ติดจะทำลายประสาท สมอง ทำให้สมรรถภาพเส่ือมลง มีอารมณ์ จิตใจไม่ปกติ เกิดการ เปลี่ยนแปลงไดง้ ่าย เช่น วติ กกงั วล เลื่อนลอยหรอื ฟ้งุ ซา่ น ทำงานไม่ได้ อยใู่ นภาวะมึนเมาตลอดเวลา อาจเปน็ โรค จิตได้งา่ ย 2) ด้านบุคลิกภาพจะเสียหมด ขาดความสนใจในตนเองท้ังความประพฤติความสะอาดและ สตสิ ัมปชญั ญะ มีอากัปกิริยาแปลกๆ เปล่ยี นไปจากเดมิ 3) สภาพร่างกายของผู้เสพจะอ่อนเพลีย ซูบซีด หมดเรี่ยวแรง ขาดความกระปรี้กระเปร่าและ เกียจคร้าน เฉ่ือยชา เพราะกินไม่ได้ นอนไม่หลับ ปล่อยเน้ือ ปล่อยตัวสกปรก ความเคล่ือนไหวของร่างกายและ กลา้ มเนอ้ื ต่างๆ ผดิ ปกติ 4) ทำลายสุขภาพของผู้ติดสารเสพติดให้ทรุดโทรมทุกขณะ เพราะระบบอวัยวะต่าง ๆ ของ รา่ งกายถูกพษิ ยาทำให้เสื่อมลง น้ำหนักตวั ลด ผิวคล้ำซีด เลือดจางผอมลงทุกวนั 5) เกดิ โรคภัยไข้เจบ็ ได้งา่ ย เพราะความต้านทานโรคนอ้ ยกว่าปกติ ทำใหเ้ กดิ โรคหรอื เจ็บไขไ้ ด้ง่าย และเมอ่ื เกดิ แลว้ จะมีความรุนแรงมาก รกั ษาหายไดย้ าก 6) อาจประสบอุบัตเิ หตไุ ด้ง่าย สาเหตเุ พราะระบบการควบคมุ กล้ามเนอ้ื และประสาทบกพร่อง ใจลอย ทำงานดว้ ยความประมาท และเสีย่ งต่ออบุ ัติเหตตุ ลอดเวลา 7) เกิดโทษที่รนุ แรงมาก คือ จะเกิดอาการคลุม้ คล่งั ถึงขน้ั อาละวาด เม่ือหิวยาเสพติดและหายา ไม่ทนั เริ่มด้วยอาการนอนไมห่ ลับ น้ำตาไหล เหงอ่ื ออก ท้องเดิน อาเจียน กล้ามเน้ือกระตุก กระวนกระวาย และ ในทส่ี ดุ จะมีอาการเหมือนคนบ้า เป็นบอ่ เกดิ แห่งอาชญากรรม 3.2 โทษพิษภัยตอ่ ครอบครัว 1) ความรบั ผดิ ชอบต่อครอบครวั และญาตพิ ี่น้องจะหมดสน้ิ ไป ไม่สนใจทจ่ี ะดูแลครอบครัว 2) ทำให้สูญเสียทรัพย์สิน เงินทอง ที่จะต้องหามาซื้อสารเสพติด จนจะไม่มีใช้จ่ายอย่างอ่ืน และ ต้องเสียเงนิ รักษาตวั เอง 3) ทำงานไมไ่ ดข้ าดหลักประกนั ของครอบครัว และนายจ้างหมดความไวว้ างใจ 4) สญู เสียสมรรถภาพในการหาเลี้ยงครอบครัว นำความหายนะมาสู่ครอบครัวและญาตพิ นี่ ้อง 5) ทำลายความหวงั ของพอ่ แมแ่ ละทกุ คนในครอบครัว ทำใหว้ งศ์ตระกลู เสอ่ื มเสีย 3.3 โทษต่อสงั คม 1) เกิดปัญหาทางด้านอาชญากรรม สูญเสียแรงงาน สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในการปราบปรามและ การบำบดั รักษา 3.4 โทษต่อประเทศไทย 1) ทำลายเศรษฐกิจของชาติ โครงการส่งเสริมคณุ ธรรม จริยธรรม นกั ศึกษา กศน.อำเภอโชคชัย | กศน.อำเภอโชคชยั ประจำปงี บประมาณ 2564 14

4. การดำรงชวี ติ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 4.1 พระราชดำรัสเรอ่ื งเศรษฐกิจพอเพียง “ เศรษฐกจิ พอเพียง เป็นเสมอื นรากฐานของชวี ิต รากฐานความม่ันคงของแผน่ ดิน เปรียบเสมอื น เสาเข็มทถ่ี กู ตรอกรองรบั บ้านเรอื นตัวอาคารไว้นัน่ เอง สง่ิ ก่อสรา้ งจะม่ันคงได้กอ็ ยูท่ เี่ สาเขม็ แต่คนสว่ นมากมองไม่ เหน็ เสาเขม็ และลืมเสาเขม็ เสยี ดว้ ยซำ้ ไป..” พระราชดำรัส พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ วั จากวารสารชยั พฒั นา 4.2 เศรษฐกิจพอเพียง “เศรษฐกจิ พอเพียง” เปน็ ปรัชญาที่พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวทรงมพี ระราชดำรัสช้ีแนะแนว ทางการดำเนินชวี ิตแก่พสกนกิ รชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า 25 ปี ตั้งแต่ก่อนเกดิ วิกฤตกิ ารณ์ทางเศรษฐกิจ และ เมอ่ื ภายหลังไดท้ รงเนน้ ยำ้ แนวทางการแกไ้ ข เพือ่ ให้รอดพ้น และสามารถดำรงอยู่ไดอ้ ยา่ งมั่นคง และยั่งยืน ภายใต้ กระแสโลกาภิวัตน์ และความเปล่ียนแปลงตา่ งๆ 4.3 ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง “เศรษฐกิจพอพยี ง” เปน็ ปรชั ญาชี้ถงึ แนวทางการดำรงอยู่และปฏบิ ัติตนของประชาชนในทุก ระดับ ตั้งแต่ ครอบครวั ระดับชุมชนจนถึงระดบั รัฐ ในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดำเนินไปในทางสาย กลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกจิ เพือ่ ใหก้ ้าวทันต่อโลกยุคโลกาภวิ ตั น์ ความพอเพียง หมายถงึ ความพอประมาณ ความมเี หตุผล รวมถึงความจำเปน็ ท่ีจะตอ้ งมีระบบ ภูมคิ มุ้ กันในตวั ทด่ี พี อสมควรตอ่ การมผี ลกระทบใดๆ อันเกดิ จากความเปลยี่ นแปลงท้งั ภายนอกและภายใน ทง้ั นี้ จะตอ้ งอาศยั ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวงั อย่างย่ิงในการนำวชิ าการต่างๆมาใช้ในการ วางแผน และการดำเนินการทกุ ข้ันตอน และขณะเดียวกนั จะต้องเสรมิ สรา้ งพ้นื ฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะ เจ้าหนา้ ท่ีของรัฐ นักทฤษฏี และนักธุรกิจในทกุ ระดบั ใหม้ ีความสำนกึ ในคุณธรรม ความซ่อื สตั ย์สจุ ริต และให้มี ความรอบรู้ท่ีเหมาะสม ดำเนนิ ชีวิตด้วยความอดทน ความเพยี ร มีสติปญั ญา และความรอบคอบ เพ่ือให้สมดุล และ พรอ้ มต่อการรองรบั การเปลีย่ นแปลงอยา่ งรวดเรว็ และกว้างขวางท้งั ด้านวตั ถุ สงั คม ส่ิงแวดล้อม และวัฒนธรรม จากโลกภายนอกไดอ้ ยา่ งดี 4.4 การดำรงชีวิตตามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง หลัก : การพึ่งตนเอง • ใชเ้ งนิ ทนุ ตัวเอง • ใช้แรงตัวเอง • ใช้อปุ กรณ์เครอ่ื งมอื ตวั เอง • ทำบญั ชคี รัวเรอื นและใช้บญั ชีประเมินผลปรับปรงุ ตนเอง • วเิ คราะหป์ ัญหาและแก้ไขปัญหาตวั เอง หลกั : ความพอมีพอกิน 15 • เรียนรู้ (ฝกึ ) อาชพี ทางการเกษตรอยา่ งหลากหลาย • ปลกู – เล้ยี งทุกอย่างท่ีกนิ ได้ โครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม นกั ศกึ ษา กศน.อำเภอโชคชยั | กศน.อำเภอโชคชยั ประจำปีงบประมาณ 2564

• กนิ ทุกอยา่ งทป่ี ลกู หรือเล้ียงได้ • เผื่อแผ่เก้อื กลู ต่อเพื่อนบ้าน หลัก : พอมีพอใช้ (เงิน) • ลดรายจ่ายด้วยการปลกู – เลยี้ ง กนิ เอง (ประหยดั เงนิ ) • เพ่มิ รายได้ดว้ ยการปลูก – เลยี้ ง ส่งิ ที่ขายได้ง่าย • ไมเ่ ลน่ การพนนั – หวยเบอร์ • ไมใ่ ช้จา่ ยกบั ส่ิงที่ฟมุ่ เฟอื ย (สรุ า – เบียร์ – บหุ รี่ – เคร่ืองด่ืมราคาแพง ฯลฯ) • ออมเงินอยา่ งตอ่ เนอื่ ง หลัก : ความรจู้ ักพอประมาณ (นกน้อยทำรังนอ้ ยแตพ่ อตัว) • ทำส่ิงต่างๆ ให้พอเหมาะกบั เงินทุน/แรงงาน หรอื ศักยภาพของตวั เอง (อย่าทำเกนิ ตัว) • ไมจ่ ัดงานบญุ แขง่ ขนั กนั (แตง่ งาน – บวช ฯลฯ) • ไม่สร้างบ้านแข่งขันกนั • ไมซ่ ือ้ รถ/ซอื้ ส่ิงของอวดรำ่ อวดรวยแข่งขันกนั • พอใจในสงิ่ ทตี่ วั เองมอี ยู่ (สนั โดษ) หลัก : ความมภี ูมคิ มุ้ กนั • พิจารณาเรือ่ งของเหตุและผลในทุกเร่อื งจนเปน็ พืน้ ฐานของจติ • ปฏิเสธคำชักชวนไปในทางที่เสย่ี ง/เสียหนมุ่ นวล • ทำอาชีพการเกษตรแบบผสมผสานเชิงเกษตรอินทรยี ์ • ฝกึ ไม่ตามใจตัวเอง • ต้องออมเงิน ออมดิน (ปรบั ปรุงดิน) ออมน้ำ (เก็บนำ้ ) ออมมติ ร (ผกู มติ ร) หลัก : ความมีคณุ ธรรม • ไม่โลภเอาแตป่ ระโยชน์ส่วนตวั • ไม่ลกั ขโมย • ปลกู เมตตาจิตให้กับตวั เอง (ไม่พยาบาทจองเวร/ไม่เบียดเบียน/ให้อภัย) • รับผลประโยชนต์ ามสิทธขิ องตัวเอง • ความนอบน้อมถอ่ มตน • สำรวมตนอยใู่ นกรอบของศลี 5 หรือคำสอนในศาสนาต่างๆ (เหตุด)ี โครงการส่งเสรมิ คุณธรรม จรยิ ธรรม นกั ศึกษา กศน.อำเภอโชคชยั | กศน.อำเภอโชคชยั ประจำปีงบประมาณ 2564 16

บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล การวิเคราะห์ข้อมูลคร้ังน้ี มีวัตถุประสงค์เพ่ือประเมินผลกิจกรรม โครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม นกั ศึกษา กศน.อำเภอโชคชัยนักศึกษา กศน.อำเภอโชคชยั จากผ้ตู อบแบบประเมิน จำนวน 200 คน เครื่องมือท่ี ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบประเมินโครงการ ได้นำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลในแบบตารางความถ่ี คา่ เฉลีย่ และค่าเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (Standard deviation) ซ่ึงใชโ้ ปรแกรม SPSS เพ่ือวิเคราะหค์ า่ สถติ ิทั้งหมด ดัง มรี ายละเอียดต่อไปน้ี ตอนท่ี 1 ข้อมลู สว่ นตวั ของผตู้ อบแบบประเมินโครงการ โดยการแจกแจงความถ่แี ละค่าร้อยละของตัวแปร ตอนที่ 2 ผลการประเมนิ กจิ กรรมโครงการ โดยการแจกแจงค่าเฉลี่ย ค่าเบ่ยี งเบนมาตรฐาน ตอนที่ 3 ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะอน่ื ๆ ตอนท่ี 1 วเิ คราะหข์ ้อมลู สว่ นตวั ของผ้ตู อบแบบประเมนิ โครงการ โดยการแจกแจงความถแี่ ละค่าร้อยละของ ตวั แปร ข้อมูลส่วนตัวของผู้ตอบแบบประเมินโครงการ ท่ีเข้าร่วมกิจกรรมตาม โครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม นกั ศึกษา กศน.อำเภอโชคชัย โดยการแจกแจงความถแี่ ละคา่ รอ้ ยละของตวั แปร ดังตารางท่ี 1 ตารางท่ี 1 จำนวน และค่าร้อยละ ของผู้ตอบแบบประเมินโครงการ จำแนกตามเพศ อายุ ระดับการศึกษา และอาชพี (N=200) ขอ้ มลู ส่วนตวั จำนวน ร้อยละ 1. เพศ ชาย 110 55.00* 90 45.00 หญงิ รวม 200 100 2. อายุ 15 – 29 ปี 100 50.00* 30 – 49 ปี 70 35.00 มากกวา่ 50 ปีขึ้นไป 30 15.00 รวม 200 100 3. ระดบั ประถม 20 10.00 การศกึ ษา มัธยมศึกษาตอนตน้ 95 47.50* มัธยมศึกษาตอนปลาย 85 42.50 รวม 200 100 โครงการสง่ เสรมิ คุณธรรม จริยธรรม นกั ศกึ ษา กศน.อำเภอโชคชยั | กศน.อำเภอโชคชัย ประจำปีงบประมาณ 2564 17

4. อาชพี ข้อมูลส่วนตัว จำนวน ร้อยละ เกษตรกร 100 50.00* ค้าขาย - รับราชการ - - พนักงานของรัฐ รฐั วสิ าหกจิ - - ธุรกิจสว่ นตัว - - รับจ้าง 80 - วา่ งงาน 20 40.00 รวม 200 10.00 100 หมายเหตุ : * หมายถึง ข้อมลู สว่ นใหญ่ จากตารางที่ 1 พบวา่ ผู้ตอบแบบประเมินโครงการ จำนวน 200 คน ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย จำนวน 110 คน คิดเป็นร้อยละ 55.00 เพศหญิง จำนวน 90 คน คิดเป็นร้อยละ 45.00 ส่วนใหญ่มี อายุ15-29 ปี จำนวน 100 คน คิดเป็นร้อยละ 50.00 รองลงมา คือ อายุ 30-49 ปี จำนวน 70 คน คิดเป็นร้อยละ 35.00 และ อายุ มากกว่า 50 ปีขึ้นไป จำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 15.00 ส่วนใหญ่ศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 95 คน คิดเป็นร้อยละ 47.50 รองลงมา คือ มัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 85 คน คิดเป็นร้อยละ 42.50 ประถมศกึ ษา จำนวน 20 คน คดิ เป็นร้อยละ 10.00 สำหรับอาชีพสว่ นใหญ่ คือ เกษตรกร จำนวน 100 คน คิด เป็นร้อยละ 50.00 รองลงมา คือ รบั จ้าง จำนวน 80 คน คิดเป็นร้อยละ 40.00 และว่างงาน จำนวน 20 คน คิด เปน็ ร้อยละ 10.00 ตอนท่ี 2 วเิ คราะหผ์ ลการประเมนิ กิจกรรม โครงการส่งเสริมคณุ ธรรม จริยธรรม นักศึกษา กศน.อำเภอโชคชัย โดยการแจกแจงค่าเฉลีย่ ค่าเบีย่ งเบนมาตรฐาน การจำแนกระดบั ผลการประเมินโครงการ แบบมาตรฐานประมาณคา่ (Rating Scale) มี 5 ระดบั ดังนี้ 5 คะแนน คอื ระดับผลการประเมินมากท่สี ุด 4 คะแนน คือ ระดับผลการประเมนิ มาก 3 คะแนน คือ ระดับผลการประเมินปานกลาง 2 คะแนน คอื ระดบั ผลการประเมนิ น้อย 1 คะแนน คอื ระดับผลการประเมินนอ้ ยทส่ี ุด โครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม นกั ศึกษา กศน.อำเภอโชคชยั | กศน.อำเภอโชคชัย ประจำปงี บประมาณ 2564 18

N คือ จำนวนผูต้ อบแบบประเมิน X̅ คอื ระดบั คา่ เฉล่ียผลการประเมนิ S.D. (Standard deviation) คือ ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน คา่ เฉลย่ี ระดบั ผลการประเมินของผ้ตู อบแบบประเมินโครงการ ค่าเฉลี่ย 4.50 – 5.00 คะแนน หมายถงึ มีผลการประเมนิ อยใู่ นระดบั มากที่สดุ คา่ เฉลี่ย 3.50 – 4.49 คะแนน หมายถงึ มีผลการประเมินอยใู่ นระดบั มาก คา่ เฉลยี่ 2.50 – 3.49 คะแนน หมายถึง มีผลการประเมินอยู่ในระดับปานกลาง คา่ เฉลยี่ 1.50 – 2.49 คะแนน หมายถึง มีผลการประเมินอยใู่ นระดบั นอ้ ย คา่ เฉลีย่ 1.00 – 1.49 คะแนน หมายถงึ มีผลการประเมินอยู่ในระดับนอ้ ยท่ีสดุ ตารางที่ 2.1 ค่าเฉล่ีย คา่ เบยี่ งเบนมาตรฐาน และระดบั ผลการประเมนิ กิจกรรม โครงการ ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม นักศึกษา กศน.อำเภอโชคชัย ของผตู้ อบแบบประเมินโครงการ ในภาพรวมและ รายดา้ น รายการ N = 200 ระดบั ผลการประเมนิ X̅ S.D. 1. ด้านหลักสูตร 4.50 0.58 มากที่สดุ 2. ด้านวิทยากร 4.55 0.60 มากท่สี ุด 3. ดา้ นสถานที่ ระยะเวลา และความพงึ พอใจ 4.45 0.63 มาก รวม 4.50 0.60 มากทส่ี ดุ จากตารางท่ี 2.1 พบว่า โครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม นักศึกษา กศน.อำเภอโชคชัย มีผลการ ประเมินโครงการในภาพรวม อยู่ในระดับมากที่สดุ (X̅=4.50) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบวา่ ด้านวิทยากร มี ผลการประเมินโครงการ อยู่ในระดับมากที่สุด (X̅=4.55) รองลงมาคือ ด้านหลักสูตร อยู่ในระดับมาก (X̅=4.50) และด้านสถานที่ ระยะเวลา และความพึงพอใจ อยู่ในระดับมาก (X̅=4.45) ตามลำดบั โครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม นักศึกษา กศน.อำเภอโชคชยั | กศน.อำเภอโชคชยั ประจำปงี บประมาณ 2564 19

ตารางท่ี 2.2 คา่ เฉลย่ี ค่าเบย่ี งเบนมาตรฐาน และระดับผลการประเมินกจิ กรรม โครงการส่งเสรมิ คณุ ธรรม จริยธรรม นักศึกษา กศน.อำเภอโชคชยั ของผู้ตอบแบบประเมนิ โครงการ ด้านหลักสตู ร รายการ N = 200 ระดับผลการประเมนิ X̅ S.D. ดา้ นหลกั สูตร 1. กจิ กรรมสอดคล้องกบั วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.40 0.61 มาก 2. การจัดกิจกรรมสง่ เสริมให้ผรู้ ว่ มกจิ กรรมสามารถ คิดเป็น 4.88 0.33 มากท่สี ุด ทำเปน็ แกป้ ญั หาเป็น 3. ผู้รว่ มกจิ กรรมมสี ว่ นร่วมในการแสดงความคดิ เห็นตอ่ การ 4.42 0.49 มาก จดั โครงการ 4. ผู้ร่วมกจิ กรรมสามารถนำความรูไ้ ปปรบั ใชใ้ น 4.30 0.87 มาก ชีวิตประจำวนั ได้ รวม 4.50 0.58 มากทีส่ ดุ จากตารางท่ี 2.2 พบว่า โครงการส่งเสริมคุณธรรม จรยิ ธรรม นกั ศึกษา กศน.อำเภอโชคชยั ในดา้ น หลักสตู ร มผี ลการประเมินอยู่ในระดับมากท่ีสดุ (X̅=4.50) เม่อื พจิ ารณาเปน็ รายข้อพบว่า การจัดกิจกรรม ส่งเสริมให้ผ้รู ่วมกจิ กรรมสามารถ คิดเปน็ ทำเป็น แกป้ ญั หาเปน็ มีผลการประเมินอย่ใู นระดับมากทีส่ ุด (X̅=4.88) รองลงมาคือ ผ้รู ่วมกิจกรรมมีสว่ นร่วมในการแสดงความคดิ เห็นต่อการจัดโครงการ มีผลการประเมนิ อยูใ่ นระดับ มาก (X̅=4.42) กิจกรรมสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการ มผี ลการประเมนิ อยูใ่ นระดบั มาก (X̅=4.40) ผู้ ร่วมกิจกรรมสามารถนำความร้ไู ปปรับใช้ในชวี ิตประจำวนั ได้ มีผลการประเมินอยู่ในระดับมาก (X̅=4.30) ตามลำดับ ตารางท่ี 2.3 คา่ เฉลีย่ คา่ เบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับผลการประเมินกิจกรรม โครงการส่งเสริม คุณธรรม จรยิ ธรรม นกั ศึกษา กศน.อำเภอโชคชยั ของผู้ตอบแบบประเมินโครงการ ดา้ นวิทยากร รายการ N = 200 ระดบั ผลการประเมนิ X̅ S.D. ด้านวทิ ยากร 5. วิทยากรมคี วามรูค้ วามสามารถในการถา่ ยทอดองค์ความรู้ 4.20 0.81 มาก 6. วิทยากรมเี ทคนิค วธิ ีการในการจัดการถ่ายทอดองคค์ วามรู้ 4.55 0.71 มากทสี่ ุด 7. วทิ ยากรมกี ารใช้สอ่ื ที่สอดคลอ้ งและเหมาะสมกับกิจกรรม 4.63 0.48 มากทส่ี ุด 8. บคุ ลิกภาพของวทิ ยากร 4.80 0.40 มากท่สี ุด รวม 4.55 0.60 มากทสี่ ุด โครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม นกั ศึกษา กศน.อำเภอโชคชยั | กศน.อำเภอโชคชยั ประจำปงี บประมาณ 2564 20

จากตารางท่ี 2.3 พบว่า โครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม นักศึกษา กศน.อำเภอโชคชัย ในด้าน วิทยากร มีผลการประเมินอยู่ในระดับมากท่ีสุด (X̅=4.55) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า บุคลิกภาพของ วิทยากร มีผลการประเมินอยู่ในระดับมากท่ีสุด (X̅=4.80) รองลงมา คือ วิทยากรมีการใช้ส่ือท่ีสอดคล้องและ เหมาะสมกับกิจกรรม มีผลการประเมินอยู่ในระดับมากท่ีสุด (X̅=4.63) วิทยากรมีเทคนิค วิธีการในการจัดการ ถ่ายทอดองค์ความรู้มีผลการประเมินอยู่ในระดับมากท่ีสุด (X̅=4.55) และวทิ ยากรมีความรู้ความสามารถในการ ถ่ายทอดองค์ความรู้ มผี ลการประเมนิ อยใู่ นระดบั มาก (X̅=4.20) ตามลำดับ ตารางท่ี 2.4 คา่ เฉลี่ย ค่าเบีย่ งเบนมาตรฐาน และระดับผลการประเมนิ กิจกรรมโครงการส่งเสริม คุณธรรม จริยธรรม นักศึกษา กศน.อำเภอโชคชัย ของผตู้ อบแบบประเมินโครงการ ด้านสถานที่ ระยะเวลา และความพงึ พอใจ รายการ N = 200 ระดับผลการประเมิน X̅ S.D. ดา้ นสถานท่ี ระยะเวลา และความพึงพอใจ 9. สถานท่ีในการจดั กจิ กรรมเหมาะสม 4.23 0.77 มาก 10. ระยะเวลาในการจดั กจิ กรรมเหมาะสม 4.61 0.49 มากทสี่ ดุ 11. ความพึงพอใจในภาพรวมของผู้ร่วมกจิ กรรมตอ่ การเขา้ 4.48 0.50 มาก รว่ มกจิ กรรม 12. ประโยชน์ที่ได้รบั จากการเขา้ รว่ มกจิ กรรมตามหลกั สตู ร 4.47 0.75 มาก รวม 4.45 0.63 มาก จากตารางท่ี 2.4 พบว่าโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม นักศึกษา กศน.อำเภอโชคชัย ใน ด้านสถานที่ ระยะเวลา และความพึงพอใจ มผี ลการประเมินอยูใ่ นระดับมาก (X̅=4.45) เม่ือพิจารณาเป็นราย ข้อพบว่า ระยะเวลาในการจดั กิจกรรมเหมาะสม มีผลการประเมินอยู่ในระดับมากที่สุด (X̅=4.61) รองลงมา คือ ความพึงพอใจในภาพรวมของผ้รู ่วมกิจกรรมต่อการเข้าร่วมกิจกรรม มีผลการประเมินอยใู่ นระดบั มาก (X̅=4.48) ประโยชน์ท่ีได้รับจากการเข้าร่วมกิจกรรมตามหลักสูตร มีผลการประเมินอยู่ในระดับมาก (X̅=4.47) สถานที่ใน การจดั กจิ กรรมเหมาะสม มีผลการประเมนิ อยู่ในระดับมาก (X̅=4.23) ตามลำดบั ตอนท่ี 3 ความคดิ เห็นและข้อเสนอแนะอนื่ ๆ อยากใหเ้ พม่ิ ระยะเวลาในการจดั และเปลย่ี นสถานท่ีเพอ่ื ความน่าสนใจมากข้ึน โครงการส่งเสรมิ คณุ ธรรม จริยธรรม นักศึกษา กศน.อำเภอโชคชยั | กศน.อำเภอโชคชยั ประจำปีงบประมาณ 2564 21

โครงการสง่ เสรมิ คุณธรรม จรยิ ธรรม นกั ศึกษา กศน.อำเภอโชคชัย | กศน.อำเภอโชคชัย ประจำปงี บประมาณ 2564 22

บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ สรุปผล ผลการวิเคราะห์ สามารถสรปุ ได้ดงั น้ี ตอนที่ 1 วเิ คราะห์ขอ้ มูลสว่ นตัวของผูต้ อบแบบประเมนิ โครงการ ตอนท่ี 2 วเิ คราะหผ์ ลการประเมนิ กจิ กรรมโครงการ ตอนที่ 3 วิเคราะห์ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะอนื่ ๆ ตอนที่ 1 วิเคราะห์ข้อมูลสว่ นตัวของผู้ตอบแบบประเมินในภาพรวม จากตารางที่ 1 พบวา่ ผู้ตอบแบบประเมินโครงการ จำนวน 200 คน ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย จำนวน 110 คน คิดเป็นร้อยละ 55.00 เพศหญิง จำนวน 90 คน คิดเป็นร้อยละ 45.00 ส่วนใหญ่มี อายุ15-29 ปี จำนวน 100 คน คิดเป็นร้อยละ 50.00 รองลงมา คือ อายุ 30-49 ปี จำนวน 70 คน คิดเป็นร้อยละ 35.00 และ อายุ มากกว่า 50 ปีข้ึนไป จำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 15.00 ส่วนใหญ่ศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 95 คน คิดเป็นร้อยละ 47.50 รองลงมา คือ มัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 85 คน คิดเป็นร้อยละ 42.50 ประถมศึกษา จำนวน 20 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 10.00 สำหรับอาชีพสว่ นใหญ่ คือ เกษตรกร จำนวน 100 คน คิด เป็นร้อยละ 50.00 รองลงมา คือ รับจ้าง จำนวน 80 คน คิดเป็นร้อยละ 40.00 และว่างงาน จำนวน 20 คน คิด เปน็ ร้อยละ 10.00 ตอนท่ี 2 วเิ คราะหผ์ ลการประเมนิ กจิ กรรม โครงการส่งเสรมิ คณุ ธรรม จริยธรรม นักศกึ ษา กศน.อำเภอโชคชยั จากตารางที่ 2.1 พบวา่ โครงการสง่ เสริมคุณธรรม จรยิ ธรรม นักศึกษา กศน.อำเภอโชคชยั มีผลการ ประเมนิ โครงการในภาพรวม อยใู่ นระดบั มากทีส่ ุด (X̅=4.50) เมอ่ื พิจารณาเปน็ รายด้านพบวา่ ด้านวทิ ยากร มี ผลการประเมินโครงการ อยใู่ นระดับมากที่สุด (X̅=4.55) รองลงมาคอื ด้านหลักสูตร อยู่ในระดบั มาก (X̅=4.50) และดา้ นสถานที่ ระยะเวลา และความพึงพอใจ อย่ใู นระดบั มาก (X̅=4.45) ตามลำดบั จากตารางที่ 2.2 พบว่า โครงการสง่ เสริมคุณธรรม จรยิ ธรรม นักศกึ ษา กศน.อำเภอโชคชัย ในดา้ น หลักสตู ร มีผลการประเมนิ อยใู่ นระดับมากที่สุด (X̅=4.50) เม่ือพิจารณาเปน็ รายข้อพบวา่ การจัดกจิ กรรม ส่งเสรมิ ให้ผ้รู ว่ มกิจกรรมสามารถ คิดเปน็ ทำเป็น แก้ปัญหาเป็น มีผลการประเมินอยใู่ นระดบั มากทีส่ ดุ (X̅=4.88) รองลงมาคือ ผรู้ ว่ มกจิ กรรมมีสว่ นร่วมในการแสดงความคดิ เหน็ ต่อการจดั โครงการ มีผลการประเมนิ อย่ใู นระดับ มาก (X̅=4.42) กจิ กรรมสอดคล้องกบั วัตถปุ ระสงค์ของโครงการ มีผลการประเมนิ อยใู่ นระดับมาก (X̅=4.40) ผู้ รว่ มกิจกรรมสามารถนำความรไู้ ปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้ มผี ลการประเมินอยใู่ นระดับมาก (X̅=4.30) ตามลำดับ โครงการสง่ เสรมิ คุณธรรม จรยิ ธรรม นกั ศึกษา กศน.อำเภอโชคชยั | กศน.อำเภอโชคชัย ประจำปีงบประมาณ 2564 23

จากตารางที่ 2.3 พบว่า โครงการสง่ เสรมิ คุณธรรม จริยธรรม นกั ศึกษา กศน.อำเภอโชคชัย ในด้าน วทิ ยากร มผี ลการประเมนิ อยใู่ นระดบั มากทีส่ ดุ (X̅=4.55) เมือ่ พจิ ารณาเปน็ รายข้อพบวา่ บุคลกิ ภาพของ วิทยากร มีผลการประเมนิ อยูใ่ นระดับมากที่สุด (X̅=4.80) รองลงมา คอื วิทยากรมีการใช้สอ่ื ที่สอดคลอ้ งและ เหมาะสมกบั กจิ กรรม มีผลการประเมินอยูใ่ นระดับมากทสี่ ุด (X̅=4.63) วทิ ยากรมเี ทคนิค วิธีการในการจดั การ ถ่ายทอดองค์ความรู้มผี ลการประเมนิ อยู่ในระดบั มากทส่ี ดุ (X̅=4.55) และวิทยากรมีความรคู้ วามสามารถในการ ถา่ ยทอดองค์ความรู้ มผี ลการประเมินอยูใ่ นระดบั มาก (X̅=4.20) ตามลำดับ จากตารางท่ี 2.4 พบว่าโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม นักศึกษา กศน.อำเภอโชคชัย ในด้าน สถานท่ี ระยะเวลา และความพึงพอใจ มีผลการประเมินอยู่ในระดับมาก (X̅=4.45) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ระยะเวลาในการจัดกิจกรรมเหมาะสม มีผลการประเมินอยู่ในระดับมากที่สุด (X̅=4.61) รองลงมา คือ ความพึงพอใจในภาพรวมของผู้รว่ มกิจกรรมต่อการเข้าร่วมกิจกรรม มีผลการประเมินอยูใ่ นระดบั มาก (X̅=4.48) ประโยชน์ท่ีได้รับจากการเข้าร่วมกิจกรรมตามหลักสูตร มีผลการประเมินอยู่ในระดับมาก (X̅=4.47) สถานที่ใน การจดั กจิ กรรมเหมาะสม มีผลการประเมินอยู่ในระดบั มาก (X̅=4.23) ตามลำดับ อภิปรายผล จากการสรปุ ผลการดำเนนิ โครงการส่งเสรมิ คุณธรรม จริยธรรม นักศกึ ษา กศน.อำเภอโชคชัย ในคร้ังนี้ พบว่า สามารถดำเนนิ โครงการได้ประสบผลสำเรจ็ บรรลตุ ามวัตถปุ ระสงค์ของโครงการ ผู้ตอบแบบประเมนิ สว่ น ใหญ่ มคี วามพึงพอใจในภาพรวมตอ่ การจัดโครงการดังกลา่ วในทกุ ด้าน อยูใ่ นระดับ มากที่สดุ โดยมีคา่ เฉล่ีย (X̅=4.50) เม่อื แยกเปน็ รายข้อพบว่า การจัดกจิ กรรมส่งเสรมิ ใหผ้ ู้ร่วมกจิ กรรมสามารถ คิดเป็น ทำเปน็ แกป้ ญั หาเปน็ มีผลการประเมนิ อย่ใู นระดับมากที่สดุ (X̅=4.88) ทงั้ น้ี เน่อื งจาก ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตาม อธั ยาศยั อำเภอโชคชยั ไดด้ ำเนนิ การตาม สำนกั งาน กศน. ทไี่ ดก้ ำหนดยุทธศาสตร์สรา้ งอุดมการณ์ รกั ชาติ ศาสนา กษัตริย์ และสรา้ งค่านยิ มทพี่ งึ ประสงค์ โดยมจี ุดเนน้ การดำเนนิ งานใหส้ ถานศกึ ษาส่งเสรมิ การจดั กจิ กรรม เพื่อพัฒนาทกั ษะชีวิต การสรา้ ง คุณธรรมจริยธรรม มีจติ อาสา จิตสาธารณะ การตา้ นภัยยาเสพตดิ ซึ่งมีการจดั กจิ กรรมการศกึ ษาและการจดั กจิ กรรมการพฒั นาคณุ ภาพผู้เรียน โดยผ่านกระบวนการคา่ ยคุณธรรมจริยธรรม อันมพี ระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมขุ และ เป็นกระบวนการพฒั นาคนและแกไ้ ขปญั หาสงั คม ใหม้ คี ณุ ลกั ษณะอัน พึงประสงค์สบิ เอ็ดประการ และเป็นกิจกรรมหน่งึ ทจ่ี ะปลูกฝังให้นักศึกษา กศน. เป็นผู้มีคุณธรรมจรยิ ธรรม มี ความกตญั ญูกตเวที มีความประพฤติและปฏบิ ัติตนเปน็ คนดี และดำรงชวี ิตตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง สามารถส่งเสริมให้นกั ศกึ ษา กศน.อำเภอโชคชัย มคี ณุ ธรรม จริยธรรม นำหลกั ธรรมไปใชใ้ น การ ดำรงชวี ติ ให้เกิดประโยชนส์ ูงสุด มสี ุขภาพท้งั กายและจิตใจท่ีสมบรู ณ์อยูร่ ว่ มกบั สงั คมได้อย่างมีความสขุ คดิ เป็น ทำเปน็ และแกป้ ญั หาเปน็ โครงการสง่ เสรมิ คณุ ธรรม จริยธรรม นกั ศึกษา กศน.อำเภอโชคชัย | กศน.อำเภอโชคชยั ประจำปงี บประมาณ 2564 24

ขอ้ เสนอแนะในการพัฒนาครัง้ ต่อไป เพิม่ จำนวนกลมุ่ เป้าหมาย ใหค้ รอบคลุมทุกอาชพี ช่วงอายุ เพื่อนำความรทู้ ไ่ี ด้จากการเข้าร่วมโครงการ ไป พัฒนาชมุ ชน และนำไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั ได้ โครงการสง่ เสรมิ คณุ ธรรม จริยธรรม นักศึกษา กศน.อำเภอโชคชัย | กศน.อำเภอโชคชัย ประจำปีงบประมาณ 2564 25

บรรณานกุ รม มตชิ น ออนไลน์. (2559). ยาเสพตดิ . [ออนไลน์]. เข้าถึงไดจ้ าก http://www.nmt.ac.th/product/web/1/d5.html ลานพุทธศาสนา. (2560). อิริยาบถของนักปฏบิ ัติ [ออนไลน]์ . เข้าถงึ ไดจ้ าก http://www.larnbuddhism.com/grammathan/iriyabot.html สำนกั พทุ ธศาสนา. (2558). พทุ ธประวัติ [ออนไลน์]. เข้าถงึ ได้จาก https://www.onab.go.th/th/content/category/detail/id/72/iid/4857 โครงการส่งเสรมิ คุณธรรม จริยธรรม นกั ศกึ ษา กศน.อำเภอโชคชัย | กศน.อำเภอโชคชัย ประจำปีงบประมาณ 2564 26

ภาคผนวก



ตารางวเิ คราะห์ผลขอ้ มลู โครงการค่ายเสริมสรา้ งคณุ ธรรม จรยิ ธรรม โดยใช้โปรแกรม SPSS อายุ Frequency Percent Valid Percent Cumulative Percent Valid อายุ 15 - 29 ปี 100 50.0 50.0 50.0 85.0 อายุ 30 - 49 ปี 70 35.0 35.0 100.0 อายุมากกว่า 50 ปี 30 15.0 15.0 Total 200 100.0 100.0 ระดับการศึกษา Frequency Percent Valid Percent Cumulative Percent Valid ประถมศึกษา 20 10.0 10.0 10.0 57.5 มัธยมศกึ ษาตอนตน้ 95 47.5 47.5 100.0 มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 85 42.5 42.5 Total 200 100.0 100.0 เพศ Cumulative Frequency Percent Valid Percent Percent Valid ชาย 110 55.0 55.0 55.0 หญงิ 90 45.0 45.0 100.0 Total 200 100.0 100.0 อาชีพ Cumulative Frequency Percent Valid Percent Percent Valid เกษตรกร 100 50.0 50.0 50.0 รบั จ้าง 80 40.0 40.0 90.0 ว่างงาน 20 10.0 10.0 100.0 Total 200 100.0 100.0

ขอ้ 1 กิจกรรมสอดคลอ้ งกบั วตั ถุประสงคข์ องโครงการ Cumulative Frequency Percent Valid Percent Percent Valid ปานกลาง 13 6.5 6.5 6.5 มาก 95 47.5 47.5 54.0 มากที่สุด 92 46.0 46.0 100.0 Total 200 100.0 100.0 ข้อ 2 การจัดกจิ กรรมส่งเสริมใหผ้ ูร้ ว่ มกจิ กรรมสามารถ คดิ เปน็ ทำเป็น แก้ปัญหาเป็น Cumulative Frequency Percent Valid Percent Percent Valid มาก 25 12.5 12.5 12.5 มากทีส่ ุด 175 87.5 87.5 100.0 Total 200 100.0 100.0 ข้อ 3 ผรู้ ่วมกิจกรรมมสี ่วนรว่ มในการแสดงความคิดเหน็ ต่อการจดั โครงการ Cumulative Frequency Percent Valid Percent Percent Valid มาก 117 58.5 58.5 58.5 มากที่สดุ 83 41.5 41.5 100.0 Total 200 100.0 100.0 ข้อ 4 ผ้รู ่วมกิจกรรมสามารถนำความรู้ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้ Cumulative Frequency Percent Valid Percent Percent Valid ปานกลาง 55 27.5 27.5 27.5 มาก 31 15.5 15.5 43.0 มากทส่ี ดุ 114 57.0 57.0 100.0 Total 200 100.0 100.0

ขอ้ 5 วิทยากรมีความรคู้ วามสามารถในการถ่ายทอดองค์ความรู้ Cumulative Frequency Percent Valid Percent Percent Valid ปานกลาง 49 24.5 24.5 24.5 มาก 63 31.5 31.5 56.0 มากที่สุด 88 44.0 44.0 100.0 Total 200 100.0 100.0 ขอ้ 6 วิทยากรมีเทคนคิ วธิ ีการในการจดั การถ่ายทอดองคค์ วามรู้ Cumulative Frequency Percent Valid Percent Percent Valid ปานกลาง 26 13.0 13.0 13.0 มาก 38 19.0 19.0 32.0 มากทส่ี ดุ 136 68.0 68.0 100.0 Total 200 100.0 100.0 ข้อ 7 วิทยากรมีการใช้สื่อที่สอดคล้องและเหมาะสมกับกิจกรรม Cumulative Frequency Percent Valid Percent Percent Valid มาก 74 37.0 37.0 37.0 มากทสี่ ุด 126 63.0 63.0 100.0 Total 200 100.0 100.0 ขอ้ 8 วิทยากรมีการใชส้ ื่อทีส่ อดคล้องและเหมาะสมกบั กิจกรรม Cumulative Frequency Percent Valid Percent Percent Valid มาก 41 20.5 20.5 20.5 มากท่ีสดุ 159 79.5 79.5 100.0 Total 200 100.0 100.0

ขอ้ 9 สถานท่ีในการจดั กิจกรรมเหมาะสม Cumulative Percent Frequency Percent Valid Percent 21.0 Valid ปานกลาง 42 21.0 21.0 56.0 100.0 มาก 70 35.0 35.0 มากทีส่ ดุ 88 44.0 44.0 Total 200 100.0 100.0 ข้อ 10 ระยะเวลาในการจัดกจิ กรรมเหมาะสม Cumulative Frequency Percent Valid Percent Percent Valid มาก 78 39.0 39.0 39.0 มากทส่ี ุด 122 61.0 61.0 100.0 Total 200 100.0 100.0 ข้อ 11 ความพึงพอใจในภาพรวมของผรู้ ่วมกจิ กรรมตอ่ การเข้าร่วมกิจกรรม Cumulative Frequency Percent Valid Percent Percent Valid มาก 104 52.0 52.0 52.0 มากทสี่ ดุ 96 48.0 48.0 100.0 Total 200 100.0 100.0 ข้อ 12 ประโยชน์ที่ได้รับจากการเขา้ รว่ มกิจกรรมตามหลกั สตู ร Cumulative Frequency Percent Valid Percent Percent Valid ปานกลาง 31 15.5 15.5 15.5 มาก 45 22.5 22.5 38.0 มากที่สดุ 124 62.0 62.0 100.0 Total 200 100.0 100.0

ข้อ 1 กจิ กรรมสอดคล้องกับ N Descriptive Statistics วตั ถุประสงคข์ องโครงการ 200 Range Minimum Maximum Mean Std. Deviation Variance ข้อ 2 การจัดกิจกรรมสง่ เสรมิ ให้ 200 2.00 3.00 5.00 4.40 0.61 0.37 ผ้รู ่วมกิจกรรมสามารถ คิดเป็น 1.00 4.00 5.00 4.88 0.33 0.11 ทำเปน็ แกป้ ญั หาเปน็ 200 ข้อ 3 ผรู้ ่วมกจิ กรรมมสี ่วนรว่ ม 1.00 4.00 5.00 4.42 0.49 0.24 ในการแสดงความคดิ เหน็ ตอ่ การ 200 จัดโครงการ 2.00 3.00 5.00 4.30 0.87 0.76 ขอ้ 4 ผู้รว่ มกจิ กรรมสามารถนำ 200 ความรู้ไปปรบั ใช้ใน 2.00 3.00 5.00 4.20 0.81 0.65 ชีวติ ประจำวนั ได้ 200 ข้อ 5 วิทยากรมีความรู้ 2.00 3.00 5.00 4.55 0.71 0.51 ความสามารถในการถา่ ยทอด 200 องค์ความรู้ 1.00 4.00 5.00 4.63 0.48 0.23 ขอ้ 6 วิทยากรมเี ทคนคิ วธิ กี าร 200 ในการจัดการถ่ายทอดองค์ 1.00 4.00 5.00 4.80 0.40 0.16 ความรู้ 200 ข้อ 7 วิทยากรมีการใช้สือ่ ที่ 200 2.00 3.00 5.00 4.23 0.77 0.60 สอดคลอ้ งและเหมาะสมกับ 200 1.00 4.00 5.00 4.61 0.49 0.24 กิจกรรม 1.00 4.00 5.00 4.48 0.50 0.25 ขอ้ 8 วิทยากรมีการใช้ส่อื ท่ี 200 สอดคลอ้ งและเหมาะสมกบั 200 2.00 3.00 5.00 4.47 0.75 0.56 กิจกรรม ข้อ 9 สถานที่ในการจัดกจิ กรรม เหมาะสม ขอ้ 10 ระยะเวลาในการจดั กจิ กรรมเหมาะสม ขอ้ 11 ความพึงพอใจใน ภาพรวมของผู้รว่ มกิจกรรมต่อ การเขา้ รว่ มกจิ กรรม ขอ้ 12 ประโยชน์ทไี่ ด้รบั จากการ เขา้ ร่วมกิจกรรมตามหลักสตู ร Valid N (listwise)

ข้อ 1 กิจกรรมสอดคลอ้ งกับ N Descriptive Statistics Maximum Mean Std. Deviation วตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ 110 Range Minimum 5.00 4.38 0.61 ขอ้ 2 การจดั กิจกรรมส่งเสรมิ ใหผ้ รู้ ่วม 110 2.00 3.00 0.32 กิจกรรมสามารถ คิดเปน็ ทำเป็น แกป้ ญั หาเป็น 110 1.00 4.00 5.00 4.88 0.49 ขอ้ 3 ผรู้ ่วมกิจกรรมมสี ่วนรว่ มในการ 110 0.88 แสดงความคิดเหน็ ต่อการจดั โครงการ 110 1.00 4.00 5.00 4.40 0.80 ขอ้ 4 ผู้ร่วมกิจกรรมสามารถนำ 110 2.00 3.00 5.00 4.27 0.71 ความร้ไู ปปรบั ใช้ในชวี ติ ประจำวันได้ 110 2.00 3.00 5.00 4.18 0.49 ข้อ 5 วทิ ยากรมีความรคู้ วามสามารถ 110 2.00 3.00 5.00 4.55 0.40 ในการถา่ ยทอดองคค์ วามรู้ 110 1.00 4.00 5.00 4.63 0.78 ข้อ 6 วทิ ยากรมเี ทคนิค วธิ ีการใน 110 1.00 4.00 5.00 4.80 0.49 การจดั การถา่ ยทอดองคค์ วามรู้ 110 2.00 3.00 5.00 4.22 0.50 ข้อ 7 วทิ ยากรมกี ารใช้สอ่ื ทีส่ อดคล้อง 110 1.00 4.00 5.00 4.59 0.75 และเหมาะสมกับกิจกรรม 110 1.00 4.00 5.00 4.49 ขอ้ 8 วทิ ยากรมีการใช้ส่อื ที่สอดคลอ้ ง 2.00 3.00 5.00 4.47 และเหมาะสมกับกิจกรรม ข้อ 9 สถานที่ในการจัดกิจกรรม เหมาะสม ขอ้ 10 ระยะเวลาในการจดั กจิ กรรม เหมาะสม ขอ้ 11 ความพงึ พอใจในภาพรวมของ ผ้รู ่วมกจิ กรรมตอ่ การเขา้ รว่ มกจิ กรรม ข้อ 12 ประโยชนท์ ี่ได้รบั จากการเขา้ ร่วมกิจกรรมตามหลกั สูตร Valid N (listwise)

ภาพกิจกรรม โครงการส่งเสรมิ คุณธรรม จรยิ ธรรม นักศกึ ษา กศน.อำเภอโชคชยั วดั ใหมส่ ระประทุม ตำบลโชคชยั อำเภอโชคชยั จงั หวัดนครราชสมี า

โครงการส่งเสรมิ คณุ ธรรม จริยธรรม นักศกึ ษา กศน.อำเภอโชคชัย วดั ศรีพทุ ธา ตำบลกระโทก อำเภอโชคชัย จงั หวัดนครราชสีมา

โครงการสง่ เสริม คณุ ธรรม จรยิ ธรรม นกั ศกึ ษา กศน.อำเภอโชคชยั วัดบา้ นโจด ตำบลท่าเยย่ี ม อำเภอโชคชัย จังหวดั นครราชสมี า

โครงการส่งเสรมิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม นักศกึ ษา กศน.อำเภอโชคชยั วัดดอนพราหมณ์ ตำบลท่าอ่าง อำเภอโชคชัย จังหวัดนครราชสีมา

โครงการสง่ เสริม คุณธรรม จริยธรรม นกั ศกึ ษา กศน.อำเภอโชคชยั วดั ด่านเกวยี น ตำบลดา่ นเกวยี น อำเภอโชคชัย จังหวัดนครราชสมี า

โครงการสง่ เสริม คุณธรรม จรยิ ธรรม นักศกึ ษา กศน.อำเภอโชคชัย วดั ละลม ตำบลละลมใหม่พัฒนา อำเภอโชคชยั จังหวดั นครราชสมี า

สรปุ ผลการดาเนินงาน โครงการค่ายเสรมิ สรา้ งคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ประจาปี การศึกษา 2564 ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอโชคชยั สานกั งานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จงั หวดั นครราชสีมา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook