ตตำำบบลล \"\"มม่่ววงงกกลลววงง\"\"
สสาารรบบััญญ 1.ขนาดและที่ตั้ง 2.ลักษณะภูมิประเทศ 3.แม่น้ำสำคัญ 4.ภูมิอากาศ 5.ทรัพยากรธรรมชาติ 6.การคมนาคม 7.ประวัติความเป็ นมาของชุมชน 8.โครงสร้างของชุ มชน 9.โครงสร้างด้านเศรษฐกิจ และอาชีพ 10.ความเชื่อ ประเพณี และอาชีพ 11.สถานที่สำคัญ 12.การเปลี่ยนแปลงทางสั งคมและวัฒนธรรม 13.การดำเนิ นงานโครงการการยกระดับ เศรษฐกิจ และสังคมรายตำบลบูรณาการ 14.การพัฒนาสั มมาชี พและสร้างอาชี พใหม่ (การยกระดับสินค้า OTop / อาชีพอื่น) 15.การสร้างและพัฒนา Creative Economy (การยกระดับการท่องเที่ยว) 16. การนำองค์ความรู้ช่วยเหลือชุมชน 17.การส่งเสริมการสร้างสิ่ งแวดล้อม Circular Economy (การเพิ่มรายได้ หมุ นเวียนให้ แก่ชุ มชน)
1.ขนาดและที่ตั้ง ขนาด พื้นที่มีลักษณะลาดเอียงจากทิศตะวันออก ไปทางทิศตะวันตกสู่ ทะเลอันดามันและมีสภาพเป็ นป่ าชายเลน องค์การบริหารส่วน ตำบลม่วงกลวง มีพื้นที่ประมาณ 56.24 ตารางกิโลเมตรหรือโดย เฉลี่ย 35,150 ไร่ แยกเป็ น หมู่ที่ 1 บ้านม่วงกลวง มีพื้นที่ 11,200 ไร่ หมู่ที่ 2 บ้านบางเบน มีพื้นที่ 8,200 ไร่ หมู่ที่ 3 บ้านสำนั ก มีพื้นที่ 9,250 ไร่ หมู่ที่ 4 บ้านอ่าวเคย มีพื้นที่ 6,500 ไร่ พื้นที่ป่ าชายเลนตำบลม่วงกลวง จำนวน 14,375 ไร่ (ข้อมูลจากสถานี พัฒนาทรัพยากรป่ าชายเลนที่ 9 กะเปอร์-ระนอง) ที่ตั้ง องค์การบริหารส่วนตำบลม่วงกลวง ตั้งอยู่ริมถนนเพชรเกษม ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 เลขที่ 100 หมู่ที่ 3 ตำบลม่วงกลวง อำเภอกะเปอร์ จังหวัดระนอง
2.ลักษณะภูมิประเทศ พื้นที่ส่วนใหญ่เป็ นที่ราบริมฝั่ งทะเลอันดามัน สลับ ด้วยภูเขา เป็ นพื้นที่ราบ คิดเป็ นร้อยละ 45 เทือกเขา ร้อย ละ 25 และพื้นน้ำ ร้อยละ 30 อากาศค่อนข้างอบอุ่นและ ชื้น ตำบลม่วงกลวง ประกอบด้วย 4 หมู่บ้าน คือ หมู่ที่ 1 บ้านม่วงกลวง หมู่ที่ 2 บ้านบางเบน หมู่ที่ 3 บ้านสำนั ก และ หมู่ที่ 4 บ้านอ่าวเคย 3.แม่น้ำ ตำบลม่วงกลวงมีห้วย หนอง คลอง บึงที่เกิดจากเทือก เขาทางด้านทิศตะวันออกเป็ นส่วนใหญ่ มีลักษณะเป็ นทาง น้ำสายสั้นๆ ไหลลงสู่ทะเลอันดามันทางด้านทิศตะวันตก ลำน้ำสำคัญได้แก่ ห้วยฝาแฝด คลองม่วงกลวง คลองท่ายาง คลองหลุง คลองลัดโนด คลองชะนูด แต่เป็ นแหล่งน้ำที่กัก เก็บน้ำไม่ได้มากนั กโดยเฉพาะในช่วงหน้ าแล้ง
แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น บ่อน้ำตื้น 2 บ่อ บ่อน้ำบาดาล 8 บ่อ ถังเก็บน้ำ ฝ.99 4 แห่ง ถังเก็บน้ำ ฝ.33 1 แห่ง ทำนบกักเก็บน้ำ 1 แห่ง สระกักเก็บน้ำ 6 สระ ระบบประปาหมู่บ้านแบบผิวดินขนาดใหญ่ขนาด ความจุหอถังสูง 30 ลบ.ซม.หมู่ที่ 11 แห่ง ระบบประปาหมู่บ้านแบบบาดาล หมู่ที่ 2 (สร้างโดยกรมทรัพยากรน้ำ) 1 แห่ง ระบบประปาหมู่บ้านแบบผิวดิน หมู่ที่ 2 (สร้างโดยมูลนิ ธิศุภนิ มิตร) 1แห่ง ระบบประปาหมู่บ้านแบบผิวดิน หมู่ที่ 4 (สร้างโดยกรมอนามัย) 1 แห่ง
44..ภภููมมิิออาากกาาศศ เนื่ องจากตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของภาคใต้ จึงได้ รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวัน ตกเฉียงใต้อย่างเต็มที่ ทำให้มีฝนตกชุกตลอดปี ซึ่งจังหวัดระนองได้ชื่อว่า \"มีฝนตกชุกที่สุดของประเทศ\" หรือเป็ นเมือง \"ฝน แปดแดดสี่ \" สามารถแบ่งฤดูออกเป็ น 3 ฤดู คือ ฤดูร้อน ช่วงระยะเวลาตั้งแต่ เดือน กุมภาพันธ์ – เมษายน ฤดูฝน ช่วงระยะเวลาตั้งแต่เดือน พฤษภาคม – ตุลาคม ช่วงที่มีฝนตกชุก ระหว่างเดือน กรกฎาคม - กันยายน
5.ทรัพยากรธรรมชาติ เนื่ องจากอุทยานแห่งชาติแหลมสน จังหวัดระนอง อยู่ทางภาคใต้ฝั่ ง ตะวันตกได้ รับอิทธิพลจากมรสุ มตะวันตกเฉี ยงใต้จึงทำให้ มีฝนตกชุ กหนา แน่ นกว่าจังหวัดอื่นและตกเกือบทั่วไป ส่วนฤดูหนาวอากาศไม่หนาวจัด เพราะอยู่ไกลจากอิทธิพลของอากาศหนาวพอสมควรแต่บางครั้งอาจมีฝน ตกได้ เนื่ องจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนื อที่พัดผ่านอ่าวไทยเอาฝนมา ตกปริมาณน้ อยกว่าจังหวัดที่อยู่ทางด้านตะวันออกของภาคใต้ 6.คมนาคม จากกรุ งเทพฯ ใช้เส้นทางถนนเพชรเกษมถึงจังหวัดชุมพร ผ่าน อำเภอกระบุรีผ่านอำเภอละอุนถึงจังหวัดระนอง มุ่งหน้ าลงใต้จะเข้าสู่ ตำบลม่วงกลวง อำเภอกะเปอร์ (ระยะทางจาก จ.ระนอง ถึง ต.ม่วงกลวง ประมาณ 50 กม.)
7.ประวัติความเป็ นมา ของชุ มชน ตำบลม่วงกลวงในช่วงสมัยรัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์ จักรกรี(พ.ศ.2411-2453) ได้มีผู้คนจำนวนหนึ่ งอพยพมาจาก เมืองถลาง(เกาะภูเก็ต) โดยทางเรือและได้พักอาศั ยอยู่ บริเวณต้นมะม่วงใหญ่ ลำต้นมีลักษณะเป็ นโพรงกลวงอยู่ ริมคลองมีอายุประมาณ100ปี ผู้คนได้ใช้อาศั ยหลับนอน ในโพรงต้นมะม่วงเป็ นบางส่วน และบุคคลที่เหลือก็ได้ สร้างเพิงพักรอบรอบๆต้นมะม่วง ภายหลังถูกพายุล้มไป แล้วประมาณ ปี พ.ศ. 2430 มีหัวหน้ าหมู่บ้านชื่อนายพล นิ ยม และนายเขียว นิ ยมมีหน้ าที่ลาดตะเวนดูแลทางน้ำ สันนิ ษฐานว่าคงจะคอยระวังโจรผู้ร้ายหรือชนต่างด้าวที่ อาศั ยสัญจรทางเรือมีหลักฐานท่าที่จอดเรือเรียกว่าวังเรือ เหวน จนเป็ นที่รู้จักของคนรุ่นหลังต่อมาและมีการขุดพบ ซากเรือ ณ สถานที่ดังกล่าวมีการนำขึ้นมาตั้งบูชา บวงสรวงเป็ นสิริมงคลและเป็ นขวัญกำลังใจตามความเชื่อ ของคนม่วงกลวง จึงเรียกที่อยู่ใหม่ว่า “ บ้านม่วงกลวง “ ต่อมามีจำนวนผู้มาอาศั ยมากขึ้นจนสามารถจัดตั้งเป็ น ตำบลได้ จึงให้ชื่อตำบลนี้ ว่า “ตำบลม่วงกลวง” จนกระทั่งปั จจุบันนี้
88..โโคครรงงสสรร้้าางงชชุุมมชชนน 8.1 ด้านการปกครอง - นายกองค์การบริหารส่วนตำบลม่วงกลวง : นายอุสมาน แซะแดง - ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลม่วงกลวง : นายธีรพงษ์ บุรี - กำนั นตำบลม่วงกลวง : นายสมหมาย ชิดเอื้อ - ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 1 บ้านม่วงกลวง : นายชัยวัฒน์ ณ สุวรรณ - ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 2 บ้านบางเบน : นางสาม๊ะ ม่งเก - ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 3 บ้านสำนั ก : นายสมหมาย ชิดเอื้อ - ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 4 บ้านอ่าวเคย : นายสู้ไหลหมาน กล้าศึ ก 8.2 ด้านประชากร - หมู่ที่ 1 บ้านม่วงกลวง ประชากร 151 ครัวเรือน ชาย 164 คน หญิง 149 คน รวม 313 คน - หมู่ที่ 2 บ้านบางเบน ประชากร 295 ครัวเรือน ชาย 509 คน หญิง 534 คน รวม 1,043 คน - หมู่ที่ 3 บ้านสำนั ก ประชากร 637 ครัวเรือน ชาย 1,107 คน หญิง 1,085 คน รวม 2,192 คน - หมู่ที่ 4 บ้านอ่าวเคย ประชากร 217 ครัวเรือน ชาย 421 คน หญิง 453 คน รวม 874 คน 8.3 ด้านการศึ กษา - โรงเรียนประถมศึ กษา (ElementarySchools) จำนวน 2 แห่ง - โรงเรียนมัธยมศึ กษา (Secondary school) จำนวน 3 แห่ง - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (Child Development Center) จำนวน 2 แห่ง 8.4 ด้านศาสนา - ประชากรส่วนใหญ่นั บถือศาสนาอิสลาม ประมาณ 90 เปอร์เซ็นต์
9.โครงสร้างด้านเศรษฐกิจ และอาชีพ ด้านการเกษตร ด้านการประมง
ด้านการบริการ ด้านปศุสั ตว์
10.ความเชื่อ ประเพณีและพิธีกรรม ศศาาสสนนาาพพุุททธธ ววัันนมมาาฆฆบบููชชาา ววัันนววิิสสาาขขบบููชชาา ววัันนออาาฬฬาาหหบบููชชาา ววัันนเเขข้้าา//ออออกก พพรรรรษษาา ฯฯลลฯฯ ศศาาสสนนาาออิิสสลลาามม กกาารรลละะหหมมาาดด ปปรระะเเพพณณีีถถืืออศศีีลลออดด ((เเดดืืออนนรรออมมฎฎออนน)) ปปรระะเเพพณณีีฮฮาารรีีรราายยออ พพิิธธีีเเขข้้าาสสุุนนััตต ฯฯลลฯฯ
11. สถานที่สำคัญ ม.1 - ศูนย์การเรียนรู้เกษตรผสมผสานบ้านม่วงกลวง (สวนลุงแดง) - จุดชมวิวเขาชาย - โรงเรียนพัฒนศาสน์ วิทยา ม.2 - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้ านบางเบน - มัสยิดกอมารีย๊ะ - อาคารศูนย์หลบภัยสึนามิ - ท่าเทียบเรือประมงพื้นบ้าน - อ่าวท่าหิน ม.3 - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดเราะห์มะห์ - โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลม่วงกลวง - มุสลิมโฮมสเตย์ - กศน.บ้านม่วงกลวง - ระนองรีสอร์ทเอ็นลากูน่ า - โรงเรียนบ้านสำนั ก - มัสยิดเราะห์มะห์ - มัสยิดบ้านท่ายาง - จุดชมวิวเขานารายณ์ (ดอยร้อยวิว) - องค์การบริหารส่วนตำบลม่วงกลวง ม.4 - โรงเรียนบ้านบางเบน - โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบางเบน - วาสนารีสอร์ท - แสงทองรีสอร์ท - อันดามันรีสอร์ท - อุทยานแห่งชาติแหลมสน - หาดอ่าวเคย - มัสยิดนูรุ่ลเอี๊ยะซาล - ท่าเทียบเรือบางเบน
12.การเปลี่ยนแปลงทางสั มคม และวัฒนธรรม ประชากรในตำบลม่วงกลวงแต่ก่อน จะประกอบอาชีพ ค้าขาย ประมง และ เกษตรกรรมเป็ นส่วนใหญ่แต่ใน ปั จจุบัน มีการหันมาทำธุ รกิจการท่องเที่ยวเพิ่มมากขึ้น เช่น การขายทัวร์ท่องเที่ยว 3 เกาะ ได้แก่ เกาะค้างคาว เกาะญี่ปุ่ น และเกาะกำ การทำล่องแพเปี ยกคลองลัดโนด และ มีการทำ โฮมสเตย์ ที่พักเพื่อรองรับนั กท่องเที่ยวที่ต้องการสัมผัสการ วิถีชีวิตชาวประมง
13. การดำเนิ นงานโครงการยกระดับเศรษฐกิจ และสั งคมรายตำบลแบบบูรณาการ รายละเอียดการดำเนิ นกิจกรรม โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสั งคมรายตำบล แบบบูรณาการ ( 1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย ) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุ ราษฎร์ธานี 13.1 พื้นที่รับผิดชอบ ตำบลม่วงกลวง อำเภอกะเปอร์ จังหวัดระนอง 13.2 ความต้องการของชุมชน/พื้นที่ที่รับผิดชอบ ตำบลม่วงกลวง เป็ นตำบลหนึ่ งของอำเภอกะเปอร์ จังหวัดระนอง มีเนื้ อที่ 56.24 ตาราง กิโลเมตร หรือ 35,105 ไร่ พื้นที่ส่วนใหญ่เป็ นที่ราบริมฝั่ งทะเลอันดามัน สลับด้วยภูเขา เป็ นพื้นที่ราบ คิดเป็ นร้อยละ 45 เทือกเขา ร้อยละ 25 และพื้นน้ำ ร้อยละ 30 อากาศค่อน ข้างอบอุ่นและชื้น ตำบลม่วงกลวง ประกอบด้วย 4 หมู่บ้าน คือ หมู่ที่ 1 บ้านม่วงกลวง หมู่ที่ 2 บ้านบางเบน หมู่ที่ 3 บ้านสำนั ก และ หมู่ที่ 4 บ้านอ่าวเคย ประชากรส่วนใหญ่ นั บถือศาสนาอิสลาม ประกอบอาชีพประมงชายฝั่ ง เกษตร และรับจ้างตำบลม่วงกลวงมี ทรัพยากรการท่องเที่ยวที่น่ าสนใจและหลากหลาย อาทิเช่น ทะเลอันดามันตอนเหนื อสุด ของประเทศไทย แนวทิวสนริมทะเล ชายหาดที่ทอดยาว ที่อุดมสมบูรณ์ไปด้วยพืช พรรณและสัตว์น้ำชายฝั่ งนานาชนิ ด ภูเขาที่อุดมไปด้วยพันธุ์ไม้นานาชนิ ด และเกาะต่างๆ ที่มีความโดดเด่นในแถบทะเลอันดามันตอนเหนื อสุด โดยเฉพาะ อุทยานแห่งชาติแหลมสน จัดเป็ นอุทยานแห่งชาติประเภทชายฝั่ งที่คงไว้ซึ่งการบริหาร จัดการแบบมีส่ วนร่วมกับชุ มชนเคารพในระบอบวิถีชี วิตดั้ งเดิ มของผู้คนในพื้นถิ่ น นอกจากนี้ ตำบลม่วงกลวงยังมีประเพณี วัฒนธรรม ที่โดดเด่น เป็ นเอกลักษณ์เฉพาะ พื้นที่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกิจกรรมการท่องเที่ยวที่ยังคงสงวนไว้ซึ่งรู ปแบบของการอนุรักษ์ วิถีชีวิต วัฒนธรรม ภูมิปั ญญาท้องถิ่น
การสร้างความเข้มแข็งของคนในชุมชน ภายใต้หลักปรัชญาแนวคิด เศรษฐกิจพอเพียง ในยุคไทยแลนด์เศรษฐกิจดิจิตัล มีความจำเป็ นอย่าง ยิ่ง การปรับสิ่ งที่มีอยู่แล้วในชุมชน ภายใต้วิถีชีวิต วัฒนธรรมความเป็ น อยู่ของคนในชุมชน ให้เกิดเป็ นชุมชนวิถีใหม่ โดยชุมชนน้ อมนำหลัก ปรัชญาแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงไปปฏิบัติ เพื่อเสริมสร้างรายได้ ประชาชนในชุ มชนด้วยการสร้างมูลค่าเพิ่มจากตัวของสิ นค้าและผลิตภัณฑ์ ที่มีในชุมชน รวมถึงการส่งเสริมและพัฒนาไปสู่การเป็ นสินค้า OTOP หรือ SMEs การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว การอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่ ง แวดล้อม รวมทั้งวิถีชีวิตของชาวตำบลม่วงกลวง ให้เป็ นแห่งเรียนรู้ ที่ ดำเนิ นการโดยชุมชนอย่างเป็ นรู ปธรรม โดยบูรณาการร่วมกันระหว่าง ภาครัฐและภาคเอกชน ผู้นำชุมชนในพื้นที่ จะก่อให้เกิดประโยชน์ แก่ ชุ มชนอย่างยั่งยืน จากการลงสำรวจพื้นที่ของกลุ่มวิศวกรสังคมตำบลม่วงกลวง อำเภอ กะเปอร์ จังหวัดระนอง พบว่า ชาวบ้านตำบลม่วงกลวง มีความต้องการให้ มีการพัฒนาชุมชนม่วงกลวง อำเภอกะเปอร์ จังหวัดระนอง ให้เป็ นแหล่ง ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม และแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ภายใต้ กลยุทธ์ พัฒนาแหล่งท่องเที่ยว และกิจกรรมการท่องเที่ยวให้สอดรับกับ แนวทางการอนุรักษ์ความเป็ นอัตลักษณ์ของทะเลอันดามันตอนเหนื อ ที่มี ภูมิทัศน์ สวยงาม สะอาด เชื่อมโยงวิถีชีวิต วัฒนธรรมและ ฟื้ นฟูเรื่องราว ประวัติศาสตร์ ประเพณี ภูมิปั ญญาท้องถิ่น พร้อมทั้งพัฒนาฟื้ นฟู แหล่ง ท่องเที่ยวให้สอดคล้องกับวิถีธรรมชาติ เพื่อสร้างความสนใจและความ ประทับใจให้กับผู้มาเยือน ดังนั้ นโครงการพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ ชุมชน การจัดการท่องเที่ยวเชิงนิ เวศ และส่งเสริมสัมมาชีพชุมชน ตาม หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน ตำบลม่วงกลวง อำเภอกะเปอร์ จังหวัดระนอง มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาสินค้า และ ผลิตภัณฑ์ ส่งเสริมการสร้างมูลค่าเพิ่มของสินค้า ผลิตภัณฑ์ OTOP ยก ระดับครัวเรือนยากจน ให้มีสัมมาชีพสามารถนำความรู้ไปประกอบอาชัพ เสริมได้ การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวให้เป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิ เวศ และ การอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม รวมทั้งวิถีชีวิตของชาวตำบลม่วง กลวง ให้เป็ นแห่งเรียนรู้ อันจะนำไปสู่การสร้างรายได้แก่ชุมชน กระตุ้น เศรษฐกิจ เกิดการพัฒนาจากชุมชน ช่วยยกระดับชีวิตความเป็ นอยู่ของ ชุ มชนอย่างยั่งยืนสื บไป
13.3 ชื่อโครงการ/กิจกรรมในการดำเนิ นการ (เน้ นกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาสัมมาชีพ และสร้างอาชีพใหม่(การยกระดับสินค้าOTOP/อาชีพอื่นๆ) การสร้างและพัฒนา Creative Economy (การยกระดับการท่องเที่ยว) การนำองค์ความรู้ไปช่วยบริการชุมชน (Health Care/ เทคโนโลยีด้านต่างๆ) และการส่งเสริมด้านสิ่ งแวดล้อม/Circular Economy (การเพิ่มรายได้ หมุนเวียนให้แก่ชุมชน) ให้แก่ชุมชน) โครงการพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ชุมชน การจัดการท่อง เที่ยวเชิงนิ เวศ และส่งเสริมสัมมาชีพชุมชน ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สู่การพัฒนา อย่างยั่งยืน ตำบลม่วงกลวง อำเภอกะเปอร์ จังหวัดระนอง 1 วัตถุประสงค์ของโครงการ/กิจกรรมในการดำเนิ นการ 1) เพื่อพัฒนาและยกระดับคุณภาพสินค้า ผลิตภัณฑ์ตำบลม่วงกลวง สู่มาตรฐานผลิตภัณฑ์ ชุมชน (OTOP) 2) เพื่อศึ กษาศั กยภาพและพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิ เวศ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน ตำบล ม่วงกลวง อำเภอกะเปอร์ จังหวัดระนอง 3) เพื่อพัฒนาทักษะ และส่งเสริมสัมมาชีพของประชาชนในชุมชน โดยยึดหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง 4) เพื่อยกระดับครัวเรือนยากจน ให้มีสัมมาชีพสามารถนำความรู้ไปประกอบอาชัพเสริมได้ 5) เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมชุมชนในการอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม รวมทั้งวิถีชีวิตของชาว ตำบลม่วงกลวง ให้เป็ นแห่งเรียนรู้ 6) เพื่อศึ กษาวิถีชีวิต วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ ประเพณี ภูมิปั ญญาท้องถิ่น และจัดทำ ประวัติศาสตร์ชุมชน ตำบลม่วงกลวง อำเภอกะเปอร์ จังหวัดระนอง
2 ประเภทกิจกรรมที่จะเข้าไปดำเนิ น การในพื้นที่ 1) การพัฒนาสัมมาชีพและสร้างอาชีพใหม่ (การยกระดับ สินค้า OTOP/อาชีพอื่นๆ) คิดเป็ นร้อยละ 30 ของกิจกรรมทั้งหมด 2) การสร้างและพัฒนา Creative Economy (การยกระดับการท่องเที่ยว) คิดเป็ นร้อยละ 35 ของกิจกรรมทั้งหมด 3) การนำองค์ความรู้ไปช่วยบริการชุมชน (Health Care/เทคโนโลยีด้าน ต่างๆ) คิดเป็ นร้อยละ 15 ของกิจกรรมทั้งหมด 4) การส่งเสริมด้านสิ่ งแวดล้อม/Circular Economy (การเพิ่มรายได้ หมุนเวียนให้แก่ชุมชน) ให้แก่ชุมชน คิดเป็ นร้อยละ 20 ของกิจกรรมทั้งหมด 3 รู ปแบบกิจกรรมที่จะเข้าไปดำเนิ นการในพื้นที่ โครงการ พัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ชุมชน การจัดการท่องเที่ยวเชิงนิ เวศ และ ส่งเสริมสัมมาชีพชุมชน ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สู่การ พัฒนาอย่างยั่งยืน ตำบลม่วงกลวง อำเภอกะเปอร์ จังหวัดระนอง 1) การจ้างงานตามภารกิจต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย จำนวน 20 อัตรา งบประมาณ 2,640,000 บาท 2) การวิเคราะห์ข้อมูลศั กยภาพตำบล การกำกับ ติดตามและประเมินผล ระดับ National System Integrator งบประมาณ 25,800 บาท 3) การวิเคราะห์ข้อมูลศั กยภาพตำบล การกำกับ ติดตามและประเมินผล ระดับ Regional System Integrator งบประมาณ 34,400 บาท 4) การสนั บสนุนการดำเนิ นกิจกรรมของโครงการรายตำบล (ระดับ System Integrator) งบประมาณ 43,000 บาท 5) พัฒนารู ปแบบผลิตภัณฑ์และยกระดับคุณภาพสินค้า ผลิตภัณฑ์ตำบลม่วงกลวง สู่ มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (OTOP) งบประมาณ 234,300 บาท 6) ศึ กษาศั กยภาพและพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิ เวศ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน ตำบล ม่วงกลวง อำเภอกะเปอร์ จังหวัดระนอง งบประมาณ 302,400 บาท 7) พัฒนาทักษะ และส่งเสริมสัมมาชีพของประชาชนในชุมชน โดยยึดหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง งบประมาณ 126,200 บาท 8) ศึ กษาประวัติศาสตร์ชุมชน วิถีชีวิต วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ ประเพณี ภูมิปั ญญาท้อง ถิ่น และสร้างการมีส่วนร่วมชุมชนในการอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม ของตำบลม่วง กลวง ให้เป็ นแห่งเรียนรู้ งบประมาณ 137,100 บาท
4. ผลผลิตและผลลัพธ์ของโครงการ/กิจกรรมในการดำเนิ น การ(อธิบายถึงผลผลิตและผลลัพธ์ที่ เกี่ยวข้องกับการยกระดั บสิ นค้า OTOP /การยกระดับการท่องเที่ยวการบริการชุมชน หรือการเพิ่มราย ได้รู ปแบบอื่นให้แก่ชุมชน ที่มีความชัดเจน ทั้งในเชิงปริมาณและ เชิงคุณภาพ) 1) เชิงปริมาณ 1.1) จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ (ผู้รับการถ่ายทอดความรู้) ประกอบด้วย ผู้รับการถ่ายทอด หรือกลุ่มวิสาหกิจ เพื่อพัฒนารู ปแบบผลิตภัณฑ์และยกระดับคุณภาพ สินค้า ผลิตภัณฑ์ตำบลม่วงกลวง สู่มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (OTOP) จำนวน 60 คน ประชาชน ชุมชนตำบลม่วงกลวง อำเภอกะเปอร์ จังหวัดระนอง จำนวน 190 คน 1.2) สินค้า/ผลิตภัณฑ์ชุมชน ที่พัฒนารู ปแบบผลิตภัณฑ์และยกระดับคุณภาพสินค้า สู่ มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (OTOP) ทั้งหมด 3 ผลิตภัณฑ์ ประกอบด้วย ผลิตภัณฑ์จากปลา ปู และพริก ผลิตภัณฑ์จากน้ำผึ้ง และผลิตภัณฑ์จากผ้ามัดย้อม 1.3) หนั งสือประวัติศาสตร์ชุมชน ภายใต้วิถีชีวิต วัฒนาธรรม ประเพณี ชุมชนตำบลม่วง กลวง อำเภอกะเปอร์ จังหวัดระนอง จำนวน 1 ชุด (หมายเหตุ : 1 คน สามารถรับการถ่ายทอดได้มากกว่า 1 เรื่อง) จำนวนครั้งที่ดำเนิ นโครงการ/กิจกรรม 10 ครั้ง ผู้เข้าร่วมโครงการอยู่ในกระบวนการครบถ้วนตั้งแต่เริ่มต้นจนถึงสิ้นสุด อย่างน้ อย 80% 2) เชิงคุณภาพ 2.1) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในกระบวนการจัดโครงการ/กิจกรรม ร้อยละ 80 2.2) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถนำความรู้ไปสู่การปฏิบัติ ได้ ร้อยละ 80 2.3) ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถต่อยอด และถ่ายทอดองค์ความรู้ที่ได้รับการ ถ่ายทอดให้ กับชุ มชนได้ 2.4) มีผลิตภัณฑ์ชุมชน และมีแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิ เวศ เพิ่มขึ้น ร้อยละ 70 2.5) มีแหล่งการเรียนรู้ทางการเกษตรอินทรีย์เกษตรยุคดิจิทัล ของชุมชนตำบลม่วง กลวง สามารถนำความรู้ไปสู่การปฏิบัติได้ ร้อยละ 70
13.4 งบประมาณการดำเนิ นการ
14. การพัฒนาสัมมาชีพ และสร้างอาชีพใหม่ (การยกระดับสินค้า OTOP / อาชีพอื่น) กิจกรรมพัฒนาสัมมาชีพ และสร้างอาชีพใหม่ ตามที่ประเมินได้ ในพื้นที่ตำบลม่วงกลวงมีการเลี้ยงผึ้งเป็ นอาชีพเดิมอยู่แล้ว ซึ่งเป็ นก ลุ่มชาวบ้านกลุ่มเล็ก ๆที่มีถ้าจะตั้งกลุ่มขึ้นมาเรียกว่า “กลุ่มเลี้ยงผึ้งโพรง” ซึ่งจะได้น้ำผึ้ง ตามฤดูกาล เมื่อได้ผลผลิตจาการเลี้ยงผึ้งนั้ นก็จะเป็ นการนำน้ำผึ้งมาวางขายกันในชุมชน ทั้งนี้ การทำแพ็คเกจหรือลักษณะผลิตภัณฑ์เป็ นการใส่ขวดแก้วที่ชาวบ้านหาได้ในพื้นที่ของ ตำบลและมีเพียงผลิตภัณฑ์น้ำผึ้งที่ได้จากการเลี้ยงเท่านั้ นไม่ได้มีการสร้างหรือแปรรู ป เป็ นผลิตภัณฑ์อื่นเพิ่มเติมชาวบ้านจึงขาดความรู้ในการออกแบบแพ็คแกจผลิตภัณฑ์ให้น่ า สนใจ และการนำน้ำผึ้งมาแปรรู ปเป็ นผลิตภัณฑ์อื่นเราจึงได้เชิญวิทยากรที่เชี่ยวชาญเฉพาะ ด้านนี้ มาให้ความรู้เกี่ยวกับด้านเทคโนโลยีการเกษตรการเลี้ยงผึ้งโพรงให้ได้คุณภาพที่ดี ขึ้น แนวทางที่ดีและสอนการทำแพคเกจที่มีรู ปแบบน่ าสนใจและรองรับของตลาดได้มีการ ออกแบบผลิตภัณฑ์ต่างๆจากน้ำผึ้งให้เป็ นผลิตภัณฑ์ที่น่ าสนใจและเป็ นที่ต้องการของกลุ่ม ตลาดซึ่งเป็ นที่สนใจของกลุ่มชาวบ้านที่สนใจจะทำผลิตภัณฑ์จากน้ำผึ้งโพรงและจะมีการ ทำการขายโดยการใช้ เพจในโลกโซเซียล เช่น เฟสบุ๊ค ไลน์ โดยการถ่ายรู ปผลิตภัณฑ์ ลงในโซเซียลโดยถ่ายจากผลิตภัณฑ์จริงสร้างการขายน้ำผึ้งและผลิตภัณฑ์จากน้ำผึ้งโพรง เพื่อให้ผู้ที่สนใจได้เข้าถึงการขายผลิตภัณฑ์น้ำผึ้งของตำบลม่วงกลวง ผลลัพธ์ที่ได้ คือ การถ่ายทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรมการเลี้ยงผึ้งและการนำน้ำผึ้ง มาแปรรู ปเป็ นสบู่เหลวให้กับชุมชน และสามารถเพิ่มรายได้และสร้างคุณค่าในรู ปแบบ ใหม่ของผลิตภัณฑ์
14.2 กิจกรรมพัฒนาผลิตภัณฑ์ปลาเค็มฝั งทรายไร้แดด การยกระดับผลิตภัณฑ์ปลาเค็มฝั งทรายไร้แดดให้ได้ มาตรฐานผลิตภัณฑ์ ตามที่ประเมินได้ ปลาเค็มฝั งทรายไร้แดดถือเป็ นอาชีพหนึ่ งที่สร้างรายได้ให้แก่ชาว บ้านในตำบลม่วงกลวงซึ่งการทำผลิตภัณฑ์ปลาเค็มฝั งทรายไร้แดดนั้ นเกิดขึ้นมา เพื่อสร้าง รายได้ใช้ในการดำเนิ นชีวิต โดยการทำผลิตภัณฑ์ปลาเค็มฝั งทรายนั้ นต้องห่อปลาเค็มกับ กระสอบมัดเชือกให้หนาแน่ นโดยฝั งในดินทรายที่สะอาดทำให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ ไม่สม่ำเสมอและบรรจุภัณฑ์ที่ใช้ในการบรรจุเพื่อการจำหน่ ายนั้ น ยังไม่ได้คุณภาพ เก็บ ผลิตภัณฑ์ในระยะยาวไม่ได้ เนื่ องจากชาวบ้านนั้ นขาดความรู้ทางด้านการถนอมอาหาร และการทำบรรจุภัณฑ์ จึงต้องมีการจัดกิจกรรม การยกระดับผลิตภัณฑ์ปลาเค็มให้ได้รับ มาตฐานผลิตภัณฑ์ เพื่อให้ชาวบ้านได้รับความรู้ และเป็ นแนวทางยกระดับของผลิตภัณฑ์ ปลาเค็มฝั งทรายไร้แดดให้มีมาตรฐาน และมีคุณภาพที่ดีขึ้น มีความทันสมัย ในการจัดทำ กิจกรรมดังกล่าวนี้ ผู้ดำเนิ นงานได้เชิญวิทยากร ที่มีความรอบรู้ทางด้าน ผลิตภัณฑ์ ปลาเค็ม ฝั งทรายไร้แดด บรรจุภัณฑ์ และการจำหน่ ายผลิตภัณฑ์ เช่น การสร้างเพจ การกระจาย ข่าว การทำบรรจุภัณฑ์มาให้ความรู้แก่ชาวบ้าน ซึ่งในการดำเนิ นงานมีชาวบ้านที่สนใจเข้า ร่วมเป็ นจำนวนมาก และจาการประเมินนั้ นถือว่าชาวบ้านมีความสนใจ และมีความรู้ความ เข้าใจมากขึ้น ผลลัพธ์ที่ได้ คือ ได้รับผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพที่ดีขึ้นมีบรรจุภัณฑ์ที่ทันสมัยและเป็ นที่ รู้จักมากขึ้น ทำให้ชาวบ้านในพื้นที่หันมาให้ความสนใจในการทำผลิตภัณฑ์ปลาเค็มฝั ง ทรายไร้แดดทำให้การว่างงานลดน้ อยลงทั้งนี้ คนในชุมชนยังมีรายได้ที่เพิ่มมากขึ้น
14.3 กิจกรรมพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้ามัดย้อมจากวัสดุธรรมชาติ การออกแบบเพื่อต่อยอดผลิตภัณฑ์ผ้ามัดย้อมจากวัสดุ ธรรมชาติ ตามที่ประเมินได้ ผ้ามัดย้อมเป็ นอีกอาชีพหนึ่ งที่ชาวบ้านตำบลม่วงกลวงเลือกยึดถือ เป็ นอาชีพในการสร้างรายได้เสริม โดยการทำผ้ามัดย้อมของชาวบ้านนั้ นส่วนมากจะ เป็ นเพียงการตัดเย็บเป็ นกระเป๋ าเพื่อเป็ นสินค้าวางจำหน่ าย โดยมีการรวมกลุ่มของชาว บ้าน กลุ่มหนึ่ งที่ชื่นชอบให้การตัดเย็บและสนใจในการทำผ้ามัดย้อมซึ่งตอนนี้ ผ้ามัดย้อม เป็ นอีกหนึ่ งผลิตภัณฑ์ที่สร้างรายได้ในแก่ชาวบ้านในชุมชน การทำผ้ามัดย้อมของชาว บ้านนั้ นจะเห็นได้ว่ายังไม่มีการทำบรรจุภัณฑ์ และ การพัฒนารู ปแบบ และเทคนิ คนั้ น ยัง ไม่สะท้อนให้เห็นถึง วิธีการ และเอกลักษณ์เฉพาะที่น่ าสนใจเนื่ องจากชาวบ้านยัง ขาดความรู้ทางด้านลักษณะพิเศษในเรื่องของสีสัน และลวดลาย ความทันสมัย และ ผลิตภัณฑ์นั้ น ในการจัดทำกิจกรรมดังกล่าวนี้ ผู้ดำเนิ นงานจึงได้เชิญวิทยากร ที่มีความรู้ ทางด้านนี้ มาโดยเฉพาะเพื่อมาส่งเสริมความรู้ใช้ให้เป็ นแรงขับเคลื่อนสู่ การสร้างสรรค์ งานและเหมาะสมและตรงใจ ทันสมัย ตรงความต้องการของผู้คน และยังมีการสอนเรื่อง การนำผลิตภัณฑ์ออกจำหน่ ายโดยการสร้างเพจในโลกโซเซียล เช่น เฟสบุ้ค ไลน์ โดย การถ่ายรู ปผลิตภัณฑ์ลงในโซเซียล โดยถ่ายจากจริงผลิตภัณฑ์ ผลลัพธ์ที่ได้ คือ ส่งเสริมจุดขายการสร้างคอลเล็คชั่นใหม่ เพื่อให้ชุมชนมีรายได้ที่เพิ่ม ขึ้น
14.4 พัฒนาบรรจุภัณฑ์ และดูแลการตลาด 14.5 อบรมพัฒนาสัมมาชีพหลักสูตรการทำเครื่องแกง และไตปลาแห้ง พร้อมบรรจุสำเร็จรู ป กำหนดการอบรม
ตามที่ประเมินได้ เครื่องแกง และไตปลา เป็ นหนึ่ งในวัตถุดิบที่มีไว้ติดครัวเรือน ซึ่งประชาชนส่วนใหญ่ตำบลม่วงกลวง นิ ยมมีไว้ติดบ้าน เนื่ องจากหาซื้อได้ง่าย และ ง่ายต่อการประกอบอาหาร และชาวตำบลม่วงกลวงมีความสามารถในการทำเครื่อง แกงในครัวเรือน อาทิเช่น เครื่องแกงส้ม เครื่องแกงเขียวหวาน เครื่องแกงกะทิ เป็ นต้น ในตำบลม่วงกลวงสามารถหาวัตถุดิบในการทำเครื่องแกง และไตปลาได้ ง่าย เนื่ องจากเป็ นพื้นที่ตำบลม่วงกลวงเป็ นที่ติดทะเล ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบ อาชีพประมง จึงสามารถหาไตปลาได้ง่าย และบริเวณครัวเรือนมีพื้นที่ในการปลูกพืช ผักสวนครัว วิศวกรสังคม ตำบลม่วงกลวง จึงเล็งเห็นว่าชาวบ้านสามารถประกอบ อาชีพการทำเครื่องแกง และไตปลาแห้งได้ แต่ขาดความรู้ในการยืดอายุ จึงการ วางแผนจัดกิจกรรมอบรมความรู้เพื่อถนอมอาหาร และเพิ่มมูลค่าให้แก่เครื่องแกง และไตปลาแห้ง โดยได้เชิญวิทยากรที่มีความรู้ทางด้านการทำเครื่องแกง และ ไตปลาแห้ง มาให้ความรู้ เพื่อยกระดับความรู้ในการถนอมอาหาร สร้างความน่ า สนใจ และ ให้ดูทันสมัย เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค และเพิ่มมูลค่า ให้กับเครื่องแกงและไตปลาแห้ง ทั้งนี้ ตำบลม่วงกลวงได้สำรวจความต้องการของครัว เรือนยากจน 15 ครัวเรือน ให้สอดคล้องกับระบบกลไกเพื่อใช้ในการขับเคลื่อน โครงการต่าง ๆ ตามจุดประสงค์และเป้ าหมายสู่ตำบลความพอเพียงและยั่งยืนต่อไป ได้แก่หลักสูตรส่งเสริมอาชีพการทำขนมไทย ส่งเสริมอาชีพการทำเครื่องแกงและ อาหารแปรรู ปพร้อมทาน ผลลัพธ์ที่ได้รับ คือ ชาวบ้านมีความรู้ รายได้ ที่เพิ่มมากขึ้น และสามารถยืดอายุใน การเก็บครื่องแกง และไตปลาแห้งได้อย่างมีประสิทธิภาพ
กำหนดการอบรม ส่ งเสริมอาชี พการทำขนมไทย ตามที่ประเมินได้การทำขนมไทยถือเป็ นอีกอาชีพหนึ่ งที่ประชาชนตำบล ม่วงกลวงเลือกเพื่อหารายได้ในการดำเนิ นชีวิตซึ่งชาวตำบลม่วงกลวงมีความ สามารถในการทำขนมไทยหลายประเภทอาทิเช่นขนมไทยประเภทต้มขนม ไทยประเภทนึ่ งขนมไทยประเภทกวนและสามารถทำการขายให้แก่คนใน ชุมชนปั จจุบันเราเห็นได้ว่าขนมไทยนั้ นมีการแปรรู ปที่หลากหลายน่ ารับ ประทานมากยิ่งขึ้นไม่ว่าจะเป็ นสีสันรู ปแบบแต่ทั้งนี้ ก็ยังคงความเป็ นไทยอยู่ วิศวกรสั งคมตำบลม่วงกลวงจึงเล็งเห็ นว่าชาวบ้านสามารถประกอบอาชี พการ ทำขนมเป็ นส่วนมากทั้งนี้ ตำบลม่วงกลวงได้สำรวจความต้องการของครัวเรือน ยากจน15ครัวเรือนให้สอดคล้องกับระบบกลไกเพื่อใช้ในการขับเคลื่อน โครงการต่าง ๆตามจุดประสงค์และเป้ าหมายสู่ตำบลความพอเพียงและ ยั่งยืนต่อไปได้ แก่หลักสู ตรส่ งเสริมอาชี พการทำขนมไทยส่ งเสริมอาชี พการ ทำเครื่องแกงและอาหารแปรรู ปพร้อมทาน ผลลัพธ์ที่ได้รับ คือ ชาวบ้านมีรายได้ ความรู้ และยกระดับขนมไทย ให้ตรงความต้องการมากขึ้น
เป้ าหมายของการพัฒนาสัมมาชีพ และสร้างอาชีพใหม่ (การยกระดับสินค้า OTOP / อาชีพอื่น) 1. ช่วยให้เกิดการจัดการทรัพยากรอย่างเป็ นระบบ 2. ช่วยให้สามารถวิเคราะห์ วิสาหกิจชุมชนและสถาบันการเงินชุมชน 3. ช่วยในการสร้างสัมมาอาชีพในพื้นที่ และสร้างรายได้ที่ยั่งยืน 4. ส่งเสริมเกษตรพอเพียงและอาหารปลอดภัย 5. ช่วยพัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์ให้ได้มาตรฐานและตรงตามความ ต้องการของตลาด 6. ช่วยจัดการวิสาหกิจชุมชน 7. ฝึ กอบรมทักษะอาหาร
15. การสร้างและพัฒนา Creative Economy (การยกระดับการท่องเที่ยว) กิจกรรมการสร้างและพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว 15.1 พัฒนาแหล่งท่องเที่ยว - พัฒนาท่าเทียบเรือบางเบน ตามที่ประเมินได้ ท่าเทียบเรือบ้านบางเบนอยู่ใกล้กับอุทยานแหลมสน มี ลักษณะชายฝั่ งจมตัวทำให้ชายฝั่ งตลอดแนวแคบ มีลำน้ำสายสั้นขนาดเล็ก จำนวนมาก โดยไหลจากที่สูงตอนในของแผ่นดินไหลออกสู่ทะเลอันดามัน ประกอบไปด้วย คลองของ คลองลัดโนด คลองชะนูด คลองบางเบน คลองกล้วย คลองนาพรุ ใหญ่ คลองกำพวน และคลองปูดำซึ่งแม่น้ำลำคลองเหล่านี้ ได้พัดพา ตะกอนดินมาทับถมตามปากแม่น้ำและชายฝั่ ง ทำให้ลักษณะชายฝั่ งบริเวณปาก แม่น้ำ ลำคลองถูกปกคลุมด้วยป่ าชายเลย ดังนั้ นจึงได้นำวิทยากรที่มีความ สามารถมาจัดการอบรมและพัฒนาท่าเทียบเรือบางเบน ผลลัพธ์ที่ได้ คือ การเตรียมความพร้อมรับมือกับนั กท่องเที่ยวที่กำลังจะเข้ามา หลังจากหมดโควิดหรือโควิดเบาบางลง
-พัฒนาแหล่งท่องเที่ยว อ่าวกะเปอร์ (ป่ าชายเลน) ตามที่ประเมินได้ สภาพภูมิประเทศมีห้วย บึงน้ำ ลำคลอง ที่เกิดจากเทือกเขา ทางด้านทิศตะวันออกเป็ นส่วนใหญ่ มีลักษณะเป็ นทางน้ำสายสั้น ๆ ไหลลงสู่ ทะเลอันดามันทางด้านทิศตะวันตก ลำน้ำสำคัญได้แก่ห้วยฝาแฝดคลอง ม่วง กลวง คลองท่ายาง คลองหลุง คลองลัดโนด คลองชะนูด แต่เป็ นแหล่งน้ำที่กัก เก็บน้ำไม่ได้มากนั กโดยเฉพาะในช่วงหน้ าแล้ง ทางด้านทิศตะวันออกเป็ น ลักษณะของป่ าบกและป่ าเบญจพรรณส่วนที่อยู่ทิศตะวันตกติดกับทะเลอันดามัน มีสภาพป่ าอีกชนิ ดหนึ่ งเรียกว่า ป่ าชายเลน เป็ นป่ าที่มีสภาพทางนิ เวศน์ วิทยาที่ สำคัญมากเป็ นที่อยู่อาศั ยของสัตว์น้ำวัยอ่อนมีไม้ที่สำคัญ ได้แก่ โกงกาง ปรง ถั่ว ตะบูน ประสัก และอื่น ๆ ด้วยภูมิประเทศดังกล่าว ทำให้ม่วงหลวงมีศั กยภาพใน การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน เป็ นการท่องเที่ยวที่สอดคล้องกับธรรมชาติและ วิถีชีวิตของชุมชน เช่น อุทยานแห่งชาติแหลมสนเกาะต่างๆในทะเลตลอดจน ชายฝั่ งที่อุดมสมบูรณ์ไปด้วยป่ าชายเลนและวิถีชาวประมง ผลลัพธ์ที่ได้ คือ เพิ่มรายได้ให้กับชุมชน โดยให้คนในชุมชนนำสินค้า Otop มา จำหน่ ายให้แก่นั กท่องเที่ยว
15.2 การอบรมสำรวจแหล่งท่องเที่ยว กำหนดการอบรม
15.3ทำสื่ อ ประชาสัมพันธ์ เป้ าหมายของกิจกรรมการสร้างและพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว 1. พัฒนาชุมชนให้มีสมรรถนะในการจัดการสูง 2. ช่วยให้เกิดการจัดการทรัพยากรอย่างเป็ นระบบ 3.ช่วยพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวในตำบลให้เป็ นที่ดึงดูดของนั กท่องเที่ยว 4. ช่วยจัดการวิสาหกิจชุมชน 5. ช่วยประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยว
16. การนำองค์ความรู้ไปช่วยบริการชุมชน (Health care /เทคโนโลยีด้านต่างๆ) กลไกการทำงานในตำบลม่วงกลวง 1.มีวัตถุประสงค์เพื่อยกระดับเศรษฐกิจโดยการนำเครื่องมือมาใช้ในชุมชน เช่น การ จัดทำนาฬิ กาชีวิตจัดทำไทม์ไลน์ ชีวิต สำรวจข้อมูลพื้นฐาน จปฐ. วิถีชีวิต ได้เข้าถึงชีวิต ประจำวันของชาวบ้านเพื่อการแก้ปั ญหาให้ตรงจุดและรู้จักความเป็ นอยู่ของชาวบ้าน ตำบลปั งหวาน 2.ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมตามศาสตร์ที่มีอยู่สร้างสัมมาชีพช่วยบริการชุมชน เพื่อ แก้ไขปั ญหาความยากจน 15 ครัวเรือนในพื้นที่ตำบลม่วงกลวง 3. สร้างหลักสูตรสัมมาชีพจากสาขาวิชาต่างๆเพื่อแก้ไขปั ญหาความยากจนในตำบล ปั งหวาน 4. ชุมชนม่วงกลวงได้สำรวจความต้องการของครัวเรือนยากจน 15 ครัวเรือน ให้ สอดคล้องกับระบบกลไกเพื่อใช้ในการขับเคลื่อนโครงการต่าง ๆ ตามจุดประสงค์และ เป้ าหมายสู่ตำบลความพอเพียงและยั่งยืนต่อไป
กิจกรรมที่ดำเนิ นการ ในตำบลม่วงกลวง 1.การยกระดับผลิตภัณฑ์ปลาเค็มฝั งทรายไร้แดดให้ได้มาตรฐานผลิตภัณฑ์ 2.การออกแบบเพื่อต่อยอดผลิตภัณฑ์ผ้ามัดย้อมจากวัสดุธรรมชาติ 3.การแปรรู ปผลิตภัณฑ์น้ำผึ้งโพรงเพื่อพัฒนาอาชีพที่ยั่งยืนโดยการการ แปรรู ปเพื่อสร้างเสริมรายได้ให้ชุมชน 4. ส่งเสริมอาชีพการทำขนมไทย 5.ส่งเสริมอาชีพการทำเครื่องแกงและไตปลาแห้งพร้อมบรรจุสำเร็จรู ป 6.ท่าเทียบเรือบางเบน 7.พัฒนาแหล่งท่องเที่ยว อ่าวกะเปอร์ (ป่ าชายเลน) 8.ลงพื้นที่สำรวจ แหล่งหญ้าทะเล สาหร่ายทะเล และร่วมกิจกรรมปลูกป่ า ชายเลน (บริเวณอ่าวกะเปอร์) 9.การทำเกษตรอินทรีย์ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 10. การสร้างศูนย์การเรียนรู้ในพื้นที่ตำบลม่วงกลวง
17. การส่งเสริมด้านสิ่ ง แวดล้อมCircular Economy (การเพิ่มรายได้ หมุ นเวียนให้ แก่ชุ มชน) กิจกรรมส่งเสริมด้านสิ่ งแวดล้อม 17.1 กิจกรรมศึ กษาประวัติศาสตร์ชุมชน วิถีชีวิต วัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปั ญญาท้องถิ่น(ทำเป็ นรู ปเล่ม)หนั งสือ ประวัติศาสตร์ชุมชนหนั งสือประกอบด้วย 1. ขนาดและที่ ตั้ง 2.ลักษณะภูมิประเทศ 3.แม่น้ำสำคัญ 4.ภูมิอากาศ 5.ทรัพยากรธรรมชาติ 6.การคมนาคม 7.ประวัติความเป็ นมาของชมชน 8.โครงสร้างของชุมชน 9.โครงสร้างด้านเศรษฐกิจและอาชีพ 10.ความเชื่อ ประเพณี และอาชีพ 11.สถานที่สำคัญ 12.การเปลี่ยนแปลงทางสั งคมและวัฒนธรรม 13.การดำเนิ นงานโครงการยกระดับเศรษฐกิจ และสังคม รายตำบลแบบบูรณาการ 14. การพัฒนาสัมมาชีพ และสร้างอาชีพใหม่ (การยกระดับสินค้า OTOP / อาชีพอื่น) 15.การสร้างและพัฒนา Creative Economy (การยกระดับการท่องเที่ยว)ไป 16. การนำองค์ความรู้ไปช่วยบริการชุมชน (Health care /เทคโนโลยีด้านต่างๆ) 17. การส่งเสริมด้านสิ่ งแวดล้อม/ Circular Economy
17.2 กิจกรรมสร้างการมีส่วนร่วมใน การอนุรักษ์สิ่ งแวดล้อม ลงพื้นที่สำรวจ แหล่งหญ้าทะเล สาหร่ายทะเล และร่วม กิจกรรมปลูกป่ าชายเลน (บริเวณอ่าวกะเปอร์) ตามที่ประเมินได้ ในตำบลม่วงกลวง มีแหล่งหญ้าทะเลถือ เป็ นทรัพยากรที่ได้รับการยอมรับว่าเป็ นระบบนิ เวศที่มีความ สำคัญมาก ในปั จจุบันแหล่งหญ้าทะเล เป็ นแหล่งที่อยู่อาศั ยและ แหล่งอาหารอันอุดมสมบูรณ์ของสัตว์ทะเลและสัตว์น้ำ เศรษฐกิจ อันได้แก่ กุ้ง หอย ปู และปลา หญ้าทะเลยังเป็ นอาหารสำคัญของ พะยูนและเต่าทะเล เป็ นแหล่งวางไข่ แหล่งอนุบาลตัวอ่อน และที่ อยู่อาศั ยของปลา กุ้ง หมึก ปูม้า หอยชนิ ดต่างๆ ไส้เดือนทะเล ตลอดจนสัตว์เล็กๆ นานาชนิ ด และเป็ นแหล่งอาหาร แหล่งทำมา หากินที่สำคัญของชุมชนชายฝั่ งทะเล สาหร่ายทะเล เป็ นพืชชั้นต่ำ ไม่มีระบบท่อลำเลียงอาหาร จากรากสู่ลำต้นและใบแบบพืชชั้นสูง เช่น หญ้าทะเล แต่จะใช้วิธี ดูดซับน้ำและแร่ธาตุจากน้ำทะเลสู่เซลล์ต่าง ๆ โดยตรง พืชกลุ่ม นี้ ไม่มีดอกและผล แต่แพร่กระจายพันธุ์ด้วยการสร้างสปอร์และ แบ่งตัว สาหร่ายทะเลมีลักษณะมากมาย หลายแบบ ตั้งแต่แบบ ที่เป็ นแพลงก์ตอนลอยไปมาในน้ำซึ่งมีขนาดเล็กมากมองไม่เห็น ด้วยตาเปล่า บางชนิ ดเป็ นเซลล์เดี่ยว บางชนิ ดจับตัวกันเป็ นกลุ่ม เซลล์ หรือเป็ นสาย จนถึงชนิ ดที่เป็ นต้นดูคล้ายพืชชั้นสูง การปลูกป่ าชายเลน ในตำบลม่วงกลวงส่วนใหญ่มีป่ าชายเลนเป็ น ระบบนิ เวศที่ประกอบด้วยพืชและสัตว์นานาชนิ ด ดำรงชีวิตร่วมกันใน สภาพแวดล้อมที่เป็ นดินเลน น้ำกร่อย ป่ าชายเลนประกอบด้วยพันธุ์ไม้ หลายชนิ ดหลายตระกูล และเป็ นพันธุ์ไม้ไม่ผลัด ส่วนใหญ่ประกอบ ด้วยพันธุ์ไม้สกุลโกงกาง เป็ นไม้สำคัญและมีไม้ตระกูลอื่นบ้าง ผลลัพธ์ที่ได้คือ ได้รู้ถึงระบบนิ เวศของหญ้าทะเล สาหร่ายทะเล ยัง เป็ นแหล่งเชื่อมต่อระหว่างระบบนิ เวศ จากป่ าชายเลนกับแนวปะการัง เข้าด้วยกัน และยังเป็ นแหล่งที่อยู่อาศั ยของสัตว์นานาชนิ ด
17.3 กิจกรรมเกษตรอินทรีย์ ตามหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตามที่ประเมินได้ การทำการเกษตรด้วยกรรมวิธีทางธรรมชาติ โดยที่ พื้นที่ที่ทำเกษตรนั้ น ต้องไม่มีสารพิษ หรือสารเคมีตกค้างและหลีกเลี่ยงจาก การปนเปื้ อนของสารเคมีทั้งทางดิน ทางน้ำ และทางอากาศ เพื่อความ สมบูรณ์ทางชีวภาพในระบบนิ เวศน์ และฟื้ นฟูสิ่ งแวดล้อมให้เป็ นไปตาม สมดุลของธรรมชาติให้มากที่สุด โดยไม่ใช้สารเคมีสังเคราะห์ หรือสิ่ งที่ได้ มาจากการตัดต่อพันธุ กรรม และมุ่งเน้ นการใช้ปั จจัยการผลิตที่มีแผนการ จัดการอย่างเป็ นระบบในการผลิตภายใต้มาตรฐานการผลิตเกษตรอินทรีย์ ให้ได้ผลผลิตสูง อุดมด้วยคุณค่าทางอาหารและปลอดสารพิษ ทั้งยังช่วยลด ต้นทุนการผลิต ผลลัพธ์ที่ได้ คือ สามารถประยุกต์ใช้วัตถุดิบจากธรรมชาติเพื่อคุณภาพชีวิต และสนั บสนุนแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
17.4 กิจกรรมสร้าง ศูนย์เรียนรู้ในพื้นที่ ตามที่ประเมินได้ ในตำบลม่วงกลวงได้จัดให้การสร้างและพัฒนาชุมชนแห่ง การเรียนรู้ เป็ นการจัดให้มีการศึ กษาที่เกื้อหนุนให้บุคคลใน ชุมชนสามารถ เรียนรู้ได้อย่างต่อเนื่ อง ตลอดชีวิต โดยการกระจายโอกาสทางการศึ กษาให้ทั่ว ถึง ภายใต้สิ่ งที่มีอยู่ในสังคมรอบ ๆ ตัว ทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต เช่น จาก ประสบการณ์ของวิทยากรหรือ ปราชญ์ชาวบ้าน จากศูนย์เรียนรู้ ฯลฯ โดยมุ่ง หวังให้เกิดการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง ดังนั้ นการสร้างแหล่งเรียนรู้ที่หลาก หลายในชุมชนจึงเป็ นอีกสิ่ งหนึ่ งที่จะก่อประโยชน์ ต่อกระบวนการเรียนรู้ที่ทำให้ ผลลัพธ์ที่ได้ คือ ใช้เป็ นแหล่งค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมทั้งที่มีในตําราเรียน และที่ไม่มีในตําราเรียน เป็ นศูนย์กลางในการรวบรวมหลักฐานทาง ประวัติศาสตร์ ศิ ลปวัฒนธรรม โบราณสถาน โบราณวัตถุ ไม่ให้ลบเลือนสําห รับสืบต่อไปยังชนรุ่นหลัง ตลอดถึงใช้เป็ นศูนย์กลางในการดําเนิ นกิจกรรมอื่น ๆ อาทิ เป็ นศูนย์จัดจําหน่ ายผลิตภัณฑ์ชุมชน เป็ นจุดรวบรวมผลผลิต พื้นที่รวม กลุ่มทํากิจกรรมของแม่บ้าน
กำหนดการอบรม กิจกรรมที่ 1 พัฒนาศูนย์การเรียนรู้การเกษตรตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอ เพียง ระหว่างวันที่ 9-11 ตุลาคม 2564 ณ หมู่ 1 ตำบลม่วงกลวง อำเภอกะเปอร์ จังหวัดระนอง 9 ตุลาคม 2564 เป้ าหมายของการจัดกิจกรรมส่งเสริมด้านสิ่ งแวดล้อม 1.พัฒนาชุ มชนให้ มีสมรรถนะในการจัดการสู ง 2. ช่วยให้เกิดการจัดการทรัพยากรอย่างเป็ นระบบ 3. ช่วยในการสร้างสัมมาอาชีพในพื้นที่ 4. ช่วยจัดการวิสาหกิจชุมชน 5. ฝึ กอบรมทักษะอาชีพ
กำหนดการอบรม 10 ตุลาคม 2564 11 ตุลาคม 2564 เป้ าหมายของการจัดกิจกรรมส่งเสริมด้านสิ่ งแวดล้อม 1.พัฒนาชุ มชนให้ มีสมรรถนะในการจัดการสู ง 2. ช่วยให้เกิดการจัดการทรัพยากรอย่างเป็ นระบบ 3. ช่วยในการสร้างสัมมาอาชีพในพื้นที่ 4. ช่วยจัดการวิสาหกิจชุมชน 5. ฝึ กอบรมทักษะอาชีพ
Search