เอกสารประกอบการสอนรายวชิ า การพฒั นาทกั ษะการอ่าน วนิดา พรมเขต ศษ.ม.(หลกั สตู รและการสอน กลุม่ การสอนวิชาภาษาไทย) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอดุ รธานี 2559
ก คำนำ เอกสารประกอบการสอนเล่มน้ีจัดทาข้ึนเพ่ือใช้ประกอบการสอนในรายวิชา TC03102 การพัฒนาทักษะการอ่าน สาหรับนักศึกษาหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี เนื้อหาในเล่มแบ่งเป็น 6 บท ประกอบด้วย บทที่ 1 การอา่ นเบ้ืองต้น บทที่ 2 การอ่านจับใจความสาคัญ บทที่ 3 การอ่านวิเคราะห์ บทท่ี 4 การอ่านตีความ บทท่ี 5 การอา่ นอยา่ งมีวจิ ารณญาณ และบทท่ี 6 การอา่ นงานเขยี นเบือ้ งต้น ผู้จัดทาขอขอบคุณเจ้าของตารา หนังสือ และงานเขียนทุกชิ้นที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าและ อา้ งอิง หวังว่าเอกสารประกอบการสอนนี้จะเป็นประโยชน์ และสามารถใช้เป็นแนวทางการอ่านในใจ สาหรบั นกั ศกึ ษาทีล่ งทะเบียนเรยี น และผสู้ นใจทั่วไป วนิดา พรมเขต สงิ หาคม 2559
ค สารบัญ หน้า คานา......................................................................................................................................... ก สารบัญ ..................................................................................................................................... ค สารบัญภาพ .............................................................................................................................. ช สารบญั ตาราง .......................................................................................................................... ฌ แผนบรหิ ารการสอนประจารายวชิ า........................................................................................... ฎ แผนบรหิ ารการสอนประจาบทที่ 1 ............................................................................................ 1 บทที่ 1 การอ่านเบ้อื งต้น ........................................................................................................... 3 ความหมายของการอ่าน ...................................................................................................... 4 ประโยชน์ของการอ่าน......................................................................................................... 4 องค์ประกอบของการอา่ น ...................................................................................................5 ปจั จัยทีส่ ่งผลต่อประสิทธภิ าพในการอ่าน............................................................................6 วธิ กี ารอ่าน ..........................................................................................................................7 ลกั ษณะของนกั อ่านท่ีดี .......................................................................................................8 จดุ ประสงค์ของการอ่าน......................................................................................................9 ขนั้ ตอนของการอ่าน..........................................................................................................11 ประเภทของการอ่าน.........................................................................................................12 สรุป ..................................................................................................................................14 คาถามทา้ ยบทที่ 1 ............................................................................................................15 เอกสารอ้างอิง ................................................................................................................... 17 แผนบรหิ ารการสอนประจาบทที่ 2 .......................................................................................... 19 บทที่ 2 การอ่านจับใจความสาคัญ........................................................................................... 21 ความหมายของการอ่านจบั ใจความสาคัญ.........................................................................21 ประเภทของการอ่านจับใจความสาคัญ..............................................................................22 - การจบั ใจความสาคัญท่ีปรากฏในย่อหน้า ................................................................22 - การจับใจความสาคัญดว้ ยการสรุปความ ..................................................................26 เทคนิคการอ่านจับใจความสาคัญ ......................................................................................27
ง สารบัญ (ต่อ) หน้า สรุป.................................................................................................................................. 29 คาถามทา้ ยบทท่ี 2............................................................................................................ 30 เอกสารอ้างองิ ................................................................................................................... 33 แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 3 .......................................................................................... 35 บทที่ 3 การอา่ นวเิ คราะห์........................................................................................................ 37 ความหมายของการอา่ นวเิ คราะห์ ..................................................................................... 37 หลักการอ่านวิเคราะห์ ...................................................................................................... 38 ประเดน็ ทใ่ี ชใ้ นการอ่านวิเคราะห์ ...................................................................................... 42 - พจิ ารณารูปแบบของงานเขียน กลวิธีในการเขียนและการใชภ้ าษา ........................... 42 - พจิ ารณาเนอื้ เรื่อง ..................................................................................................... 43 - พิจารณาจุดประสงค์ของผูเ้ ขียน................................................................................ 43 - พจิ ารณาประวตั ิของผเู้ ขียน....................................................................................... 43 ตวั อย่างการอ่านวเิ คราะห์................................................................................................. 44 สรุป.................................................................................................................................. 54 คาถามท้ายบทท่ี 3............................................................................................................ 55 เอกสารอา้ งอิง................................................................................................................... 57 แผนบรหิ ารการสอนประจาบทที่ 4 .......................................................................................... 59 บทที่ 4 การอา่ นตีความ........................................................................................................... 61 ความหมายของการอ่านตีความ ........................................................................................ 61 ลักษณะทว่ั ไปของการตีความ............................................................................................ 62 วธิ กี ารอ่านตคี วาม............................................................................................................. 63 โวหารภาพพจน์ ................................................................................................................ 69 ข้อปฏิบัตใิ นการอ่านตคี วาม.............................................................................................. 72 ข้ันตอนในการอ่านตีความ................................................................................................. 72 ตัวอยา่ งการอ่านตีความ.................................................................................................... 73 สรุป.................................................................................................................................. 78
จ สารบญั (ตอ่ ) หน้า คาถามท้ายบทท่ี 4 ............................................................................................................79 เอกสารอ้างอิง ................................................................................................................... 81 แผนบริหารการสอนประจาบทท่ี 5 .......................................................................................... 83 บทที่ 5 การอา่ นอยา่ งมวี จิ ารณญาณ ....................................................................................... 85 ความหมายของการอ่านอย่างมีวจิ ารณญาณ .....................................................................85 หลกั การอ่านอย่างมวี ิจารณญาณ .....................................................................................86 ประเด็นในการพิจารณาบทอ่าน ........................................................................................87 พฤติกรรมการอ่านอย่างมวี ิจารณญาณ..............................................................................88 ข้อเสนอแนะการฝึกอา่ นอยา่ งมวี ิจารณญาณ.....................................................................89 ตัวอย่างการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ .................................................................................90 สรุป ..................................................................................................................................94 คาถามทา้ ยบทท่ี 5 ............................................................................................................95 เอกสารอ้างองิ ...................................................................................................................97 แผนบรหิ ารการสอนประจาบทที่ 6 .......................................................................................... 99 บทที่ 6 การอา่ นงานเขียนเบื้องต้น.........................................................................................101 ประเภทของการเขยี น .....................................................................................................101 การอ่านงานเขยี นแต่ละประเภท .....................................................................................102 - บทความ .................................................................................................................102 - ขา่ ว.........................................................................................................................110 - สารคดี ....................................................................................................................114 - เร่อื งสั้น...................................................................................................................120 - ร้อยกรอง ................................................................................................................128 สรปุ ................................................................................................................................131 คาถามท้ายบทท่ี 6 ..........................................................................................................132 เอกสารอ้างองิ ................................................................................................................ 133 บรรณานุกรม......................................................................................................................... 135
ช สารบญั ภาพ หน้า ภาพท่ี 1-1 องค์ประกอบของการอ่าน ......................................................................................... 6 ภาพที่ 6-1 การเขียนขา่ วรปู แบบพีระมดิ หัวกลับ ....................................................................111
ฌ สารบัญตาราง หน้า ตารางที่ 1-1 ข้อแตกต่างระหว่างการอา่ นออกเสยี งและอ่านในใจ.............................................. 13
ฎ แผนบรหิ ารการสอนประจารายวชิ าการพัฒนาทกั ษะการอา่ น รหสั วชิ า TC03102 3(3-0-6) รายวิชา การพัฒนาทักษะการอ่าน (Reading Skill Development) คาอธิบายรายวิชา ศึกษาหลักการอ่าน การอ่านท่ัวไป การอ่านจับใจความ การอ่านวิเคราะห์ การอ่านตีความ การอ่านประเมินคา่ และการอา่ นอย่างมีวจิ ารณญาณ ฝึกพัฒนาทกั ษะการอ่านในรปู แบบต่างๆ วัตถุประสงคท์ ่ัวไป ในการเรยี นการสอน รายวชิ าการพัฒนาทักษะการอา่ น มีวัตถปุ ระสงคเ์ พื่อให้ผู้เรยี นเกิด ความสามารถ ดงั นี้ 1. มีความรู้ ความเข้าใจ เก่ียวกบั หลักการอา่ นเบ้ืองตน้ 2. มีความรู้ ความเข้าใจ เก่ียวกับการอ่านจับใจความสาคัญ และสามารถอ่านจับใจความ สาคญั ได้ 3. มีความรู้ ความเข้าใจ เกยี่ วกบั การอา่ นวเิ คราะห์ และสามารถอ่านวเิ คราะห์ได้ 4. มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการอา่ นตีความ และสามารถอา่ นตีความได้ 5. มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ และสามารถอ่านอย่างมี วิจารณญาณได้ 6. มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับงานเขียนประเภทต่างๆ และสามารถจาแนกความแตกต่าง ของงานเขยี นได้ เนื้อหา 6 ช่ัวโมง บทที่ 1 การอ่านเบ้ืองตน้ ความหมายของการอ่าน ประโยชน์ของการอา่ น องคป์ ระกอบของการอ่าน ปัจจยั ทส่ี ่งผลตอ่ ประสิทธภิ าพในการอ่าน วธิ ีการอ่าน
ฏ 9 ชั่วโมง 9 ชวั่ โมง ลกั ษณะของนักอ่านท่ีดี 9 ชว่ั โมง จดุ ประสงค์ของการอ่าน ขนั้ ตอนของการอ่าน ประเภทของการอ่าน คาถามทา้ ยบทท่ี 1 เอกสารอ้างอิง บทท่ี 2 การอ่านจบั ใจความสาคัญ ความหมายของการอ่านจบั ใจความสาคญั ประเภทของการอา่ นจบั ใจความสาคญั - การจบั ใจความสาคญั ท่ีปรากฏในยอ่ หน้า - การจบั ใจความสาคัญด้วยการสรปุ ความ เทคนิคการอ่านจับใจความสาคัญ คาถามทา้ ยบทท่ี 2 เอกสารอ้างองิ บทที่ 3 การอ่านวเิ คราะห์ ความหมายของการอ่านวิเคราะห์ หลกั การอ่านวเิ คราะห์ ประเด็นทใี่ ชใ้ นการอ่านวเิ คราะห์ - พจิ ารณารปู แบบของงานเขยี น กลวิธีในการเขียนและการใชภ้ าษา - พิจารณาเน้ือเรือ่ ง - พิจารณาจุดประสงค์ของผ้เู ขียน - พจิ ารณาประวตั ขิ องผเู้ ขียน คาถามท้ายบทท่ี 3 เอกสารอ้างองิ บทที่ 4 การอ่านตคี วาม ความหมายของการอา่ นตคี วาม ลกั ษณะทั่วไปของการตีความ วิธกี ารอ่านตีความ โวหารภาพพจน์
ฐ ขอ้ ปฏบิ ตั ใิ นการอ่านตีความ ข้นั ตอนในการอา่ นตีความ คาถามทา้ ยบทท่ี 4 เอกสารอ้างอิง บทที่ 5 การอา่ นอยา่ งมีวิจารณญาณ 9 ชวั่ โมง ความหมายของการอ่านอย่างมวี จิ ารณญาณ 6 ชั่วโมง หลกั การอ่านอยา่ งมวี ิจารณญาณ ประเดน็ ในการพิจารณาบทอ่าน พฤติกรรมการอ่านอย่างมวี ิจารณญาณ ขอ้ เสนอแนะการฝกึ อ่านอยา่ งมวี จิ ารณญาณ คาถามทา้ ยบทที่ 5 เอกสารอ้างอิง บทที่ 6 การอา่ นงานเขยี นเบือ้ งตน้ ประเภทของการเขียน บทความ ขา่ ว สารคดี เรือ่ งส้นั รอ้ ยกรอง คาถามท้ายบทท่ี 6 เอกสารอา้ งองิ วธิ สี อนและกจิ กรรม การจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนในรายวิชานี้เนน้ ให้ผูเ้ รียนได้ฝกึ ปฏิบัตกิ ารอ่านในใจจากงาน เขียนหลายประเภท โดยมีอาจารย์เป็นผู้เตรียมกิจกรรม เสนอความรู้ในหลักการ และให้คาแนะนา กิจกรรมรายวชิ าการพฒั นาทักษะการอา่ นมดี ังนี้ 1. ผู้สอนเป็นผู้เสนอความรู้ด้วยการบรรยายประกอบสไลด์นาเสนอความรู้(Microsoft Power Point) 2. ผู้เรียนฝึกทักษะการอ่านในใจในช้ันเรียนโดยเร่ิมจากการจับใจความสาคัญ วิเคราะห์ ตีความ และวิจารณญาณ หลังจากการอ่านผู้เรียนต้องตอบคาถามหรือแสดงความคิดเห็นด้วยวิธีการ ดังนี้
ฑ 2.1 ตอบคาถามในแบบฝกึ ทกั ษะการอ่าน 2.2 อภปิ รายแสดงความคิดเห็นในกลุ่มใหญ่ 2.3 อภิปรายแสดงความคิดเห็นในกลุ่มย่อยและสรุปเป็นแผนภาพความคิด พร้อมนาเสนอ คาตอบของกลุม่ ทห่ี นา้ ช้ันเรยี น 3. ผู้เรียนศึกษางานเขียนที่เลือก หรือได้รับมอบหมายนอกชั่วโมงเรียน พร้อมท้ังวิเคราะห์ แสดงความคดิ เหน็ เพือ่ ส่งเป็นรูปเล่มรายงาน และนาเสนอหน้าช้นั เรียนประกอบสไลด์นาเสนอความรู้ ส่ือการเรียนการสอน สื่อการเรยี นการสอนทีใ่ ช้มีดงั นี้ 1. เอกสารประกอบการสอน “การพัฒนาทกั ษะการอ่าน” 2. สไลดน์ าเสนอความรู้(Microsoft Power Point) 3. บทอา่ นมาจากงานเขยี นหลายประเภท อาทิ ข่าว สารคดี บทความ เร่อื งส้นั กวีนิพนธ์ 4. แบบฝึกทักษะการอ่าน การวัดผลและการประเมนิ ผล มีการวดั ผลและประเมนิ ผลการเรียนร้ขู องผูเ้ รยี นโดย 1)สังเกตการตอบคาถาม 2)สังเกตการ อภิปรายแสดงความคดิ เหน็ 3)ตรวจแบบฝกึ 4)ตรวจรายงาน และ5)การทดสอบ แบ่งอธบิ ายการวัดผล และประเมนิ ผลดงั น้ี 1. การวัดผล แบ่งคะแนนออกเปน็ 2 ส่วน คอื 1.1 คะแนนระหว่างภาค 70% - แบบฝึก/ รายงาน/การรว่ มกจิ กรรม 30% - จิตพิสัย 10% - สอบกลางภาค 30% 1.2 คะแนนปลายภาค 30% รวม 100% 2. การประเมนิ ผล ใช้เกณฑก์ ารตดั สนิ แบบองิ เกณฑ์ ดงั น้ี คะแนน 80 – 100 ระดบั ผลการเรียน A คะแนน 75 – 79 ระดบั ผลการเรียน B+ คะแนน 70 – 74 ระดบั ผลการเรยี น B คะแนน 65 – 69 ระดับผลการเรียน C+ คะแนน 60 – 64 ระดับผลการเรยี น C คะแนน 55 – 59 ระดับผลการเรยี น D+ คะแนน 50 – 54 ระดับผลการเรียน D คะแนน 0 – 49 ระดับผลการเรยี น F
1 แผนบรหิ ารการสอนประจาบทที่ 1 การอา่ นเบื้องต้น เวลาเรียน 6 ชั่วโมง เนื้อหา 1. ความหมายของการอา่ น 2. ประโยชน์ของการอา่ น 3. องคป์ ระกอบของการอา่ น 4. ปจั จัยทส่ี ่งผลต่อประสทิ ธิภาพในการอ่าน 5. วธิ ีการอา่ น 6. ลกั ษณะของนักอ่านที่ดี 7. จดุ ประสงค์ของการอ่าน 8. ขัน้ ตอนของการอา่ น 9. ประเภทของการอา่ น วตั ถปุ ระสงค์เชงิ พฤติกรรม หลงั จากศกึ ษาบทเรยี นนี้แลว้ นกั ศกึ ษาควรมีพฤติกรรมดงั นี้ 1. บอกความหมายของการอ่าน ประโยชน์ของการอ่าน องค์ประกอบของการอ่าน ปัจจัยท่ี สง่ ผลต่อประสิทธิภาพในการอ่านและลักษณะของนักอา่ นท่ีดีได้ถูกต้อง 2. แสดงวธิ ีการอา่ นทถ่ี กู ตอ้ ง 3. อธิบายขนั้ ตอนของการอ่านได้ 4. จาแนกประเภทและจุดประสงคข์ องการอา่ นได้ วธิ ีการสอนและกิจกรรม กิจกรรมการเรียนการสอนในบทท่ี 1 การอา่ นเบ้ืองตน้ มีดงั นี้ 1. ผสู้ อนปฐมนเิ ทศเพอ่ื อธิบายการจดั การเรียนการสอนและข้อตกลงในรายวิชา 2. สอบถามความคิดเห็นของนักศึกษาต่อความสาคัญของการอ่าน และถามพฤติกรรม การอา่ นทว่ั ๆ ไปของนกั ศึกษา 3. ทดสอบความเข้าใจในหลักการอ่านเบ้ืองต้นของผู้เรียน โดยทาเป็นกิจกรรมกลุ่มให้ผู้เรียน ร่วมกันอภิปรายถึงความสาคัญของการอ่าน ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพ และลักษณะของนักอา่ นที่ ดี แลว้ นาเสนอผลการอภิปรายหน้าช้ันเรียน 4. ผ้สู อนบรรยายหลกั การอ่านเบอื้ งต้น ประกอบสไลด์นาเสนอ 5. ฝกึ การอา่ นโดยให้แสดงวธิ ีการอา่ นท่ีถูกต้อง และแสดงความคิดเหน็ จากเร่ืองที่อา่ น
2 6. ผู้เรยี นและผ้สู อนรวมกนั สรุปหลักการท่ีเรียน ให้นกั ศกึ ษาบนั ทึกสรุปลงสมุด สอื่ การเรียนการสอน 1. สไลด์นาเสนอความรู้ด้วย Microsoft Power Point “บทท่ี 1 การอา่ นเบ้อื งต้น” 2. เอกสารประกอบการสอนวชิ า การพัฒนาทักษะการอา่ น 3. แบบฝกึ 4. บทอ่าน การวัดผลและการประเมินผล 1. สังเกตพฤตกิ รรมการตอบคาถามและการนาเสนองานกลุ่ม 2. ตรวจแบบฝึก
3 บทท่ี 1 การอ่านเบื้องต้น “...ความรทู้ ั้งในดา้ นการศึกษาของเยาวชนและผูใ้ หญ่และท้ังในดา้ นความรู้ท่วั ๆ ไปกข็ ึ้นอยกู่ ับ หนังสือเป็นสาคัญ...” ข้อความข้างต้นนี้เป็นพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ท่ีพระราชทานแก่ คณะกรรมการสมาคมหอ้ งสมุดแหง่ ประเทศไทย ในวันจันทรท์ ี่ 12 กรกฎาคม 2514 ท่ีแสดงให้เห็นถึงความสาคัญของการอ่านในการศึกษาหาความรู้ ท่ีความรู้จะเป็นเคร่ืองมือสาคัญใน การพฒั นาตนเองและสังคมได้เป็นอย่างดี นอกจากนั้นแล้วการอ่านยังมีความสาคัญในการให้ความบันเทิง ดังพระราชนิพนธ์ใน สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารีความว่า \"หนังสอื นีม้ มี ากมายหลายชนิด นาดวงจติ เรงิ ร่ืนชืน่ สดใส ให้ความรสู้ าเรงิ บนั เทิงใจ ฉนั จงึ ใฝใ่ จสมานอา่ นทุกวัน มวี ชิ าหลายอย่างต่างจาพวก ลว้ นสะดวกคน้ ได้ใหส้ ขุ สันต์ วิชาการสรรมาสารพัน ชว่ั ชีวันฉนั อา่ นไดไ้ มเ่ บื่อเลย\" พระราชนิพนธ์ดังกล่าวสะท้อนถึงความสาคัญของการอ่านท่ีมีคุณประโยชน์ มากมายกับชีวิต ท้งั ความบันเทิง เพลดิ เพลินใจ และวชิ าความรู้ อาจกล่าวได้ว่าการอา่ นสามารถพัฒนาบุคคลได้อย่างรอบด้านท้ังวิชาการความรู้ และอารมณ์ อีกทั้งประโยชน์ของการเป็นผู้ที่อ่านอย่างสม่าเสมอ ก็มักเป็นผู้ที่มีความรอบรู้ มีความสามารถใน การคิดวิเคราะห์ ไตร่ตรองที่ดี จึงส่งผลต่อความเจริญก้าวหน้าในหน้าท่ีการงานสูงกว่าผู้ที่ไม่ชอบอ่าน และหากสังคมใดมีประชากรท่ีมีความรอบรู้มากก็จะทาใหส้ ังคม ประเทศชาตมิ ีความเจริญรุ่งเรืองตาม ไปดว้ ย การอ่านให้เกิดประโยชน์กับชีวิตนั้นมีความจาเป็นอยู่ว่าผู้อ่านจะต้องสามารถทาความเข้าใจ การอ่านได้อย่างถ่องแท้ จึงจะสามารถวิเคราะห์ในประเด็นต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง ซึ่งต้องอาศัย การฝกึ ฝนอยา่ งตอ่ เน่อื ง
4 ความหมายของการอา่ น มผี ้ใู ห้ความหมายของการอ่านไวด้ ังนี้ ผกาศรี เย็นบุตร (2542: 5) ให้ความหมายของการอ่านไว้ว่า การอ่าน หมายถึง กระบวนการ ค้นหาความหมายหรือความเข้าใจจากตัวหนังสือ หรือสัญลักษณ์ต่างๆ เพื่อเพ่ิมประสบการณ์ของ ผู้อ่าน ผู้อ่านจะเข้าใจส่ิงท่ีอ่านมากน้อยเพียงใด ย่อมขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่าง เช่น สติปัญญา อารมณ์ ประสบการณ์ อายุ ความสามารถทางภาษา เปน็ ตน้ พนิตนันท์ บุญพามี (2542: 1-2) กล่าวว่าการอ่าน หมายถึง การเข้าใจความหมายของคา สญั ลักษณ์ หรือเร่ืองราวต่างๆ ที่มนุษย์สามารถรับรู้ แล้วแปลความหมายออกมาได้ ถ้าอ่านไม่เข้าใจจะ ถือว่าเปน็ การอ่านโดยแท้จริงไม่ได้ เน่อื งจากการสื่อสารระหวา่ งผู้เขยี นกับผู้อา่ นไม่บรรลุวัตถุประสงค์ ทต่ี ้องการ ศิวกานท์ ปทุมสูติ (2553: 49) ให้ความหมายว่าการอ่าน คือ การแปลความหมาย ทั้งท่ีเป็น ภาษาถ้อยคา(วัจนภาษา) และไม่เป็นถ้อยคา(อวัจนภาษา) รวมถึงการอ่านสัมผัสรู้สึก การอ่าน ธรรมชาติ และการอ่านสภาวธรรมต่างๆ ด้วย ถ้าสามารถแปลความหมายของภาษาและส่ิงต่างๆ ดังกล่าวได้ว่ามคี วามหมายอย่างไร หรือมีความจรงิ ใด กถ็ อื ว่าเกดิ สัมฤทธิผลของการอา่ น ศรีสุดา จริยากุล และคณะ (2545: 5) กล่าวว่าการอ่าน คือ การรับรู้ความหมายของสารจาก ลายลกั ษณ์อกั ษรซ่งึ อาจจะเป็นการอ่านในลกั ษณะการอ่านออกเสยี งหรือการอา่ นในใจก็ได้ สมบัติ จาปาเงิน และสาเนียง มณีกาญจน์ (2548: 14) ได้ให้ความหมายของการอ่านไว้ว่า การอ่านเป็นการเก็บรวบรวมความคิดท่ีปรากฏอยู่ในเน้ือสาร ในการอ่านควรมีคติประจาใจว่าจะต้อง อ่านเอาเร่ือง เอาความคิดจากหนงั สอื นนั้ ใหไ้ ด้ เพราะการอา่ นด้วยความพนิ ิจพิเคราะห์จะช่วยให้ได้รับ ความรู้อยา่ งถอ่ งแท้ จากความหมายของการอ่านที่กล่าวมา สรุปได้ว่า การอ่าน หมายถึง การทาความเข้าใจ ความหมายของสัญลักษณ์ใดๆ ซ่ึงเป็นได้ท้ังวัจนภาษา และอวัจนภาษา ที่ต้องใช้ความคิดใน การพจิ ารณาเพื่อให้ไดเ้ นือ้ หาสาระที่ถูกต้อง ประโยชน์ของการอ่าน สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (2557:8) กล่าวถึงประโยชน์ของ การอ่านไว้ว่า ประโยชน์ของการอ่านเกิดข้ึนจากองค์ประกอบสองประการคือ ผู้อ่านกับผลที่ได้จาก การอ่าน ผู้อ่านจะเป็นบุคคลใดก็ได้ท่ีสามารถใช้การอ่านให้เกิดผลตามจุดประสงค์และผลที่ได้ถือว่า เป็นประโยชน์ท่ีได้รับ ดังนี้ 1. ความรู้ทไี่ ด้รับจากการอ่านสามารถพัฒนาอาชีพการงานและการศึกษาใหก้ ว้างขวางทนั ต่อ เหตุการณ์ ช่วยให้เจริญก้าวหน้าตามเป้าหมายที่วางไว้ ด้วยเหตุท่ีความรู้ต่างๆ มีการเปลี่ยนแปลง
5 และเคล่ือนไหวอยู่ตลอดเวลา ในแต่ละวันถ้าไม่ได้มีการติดตามข่าวสารตลอดจนเหตุการณ์ต่างๆ ก็ เหมอื นกบั บคุ คลผู้นัน้ ได้ก้าวถอยหลังไปวนั ละ 1 ก้าว 2. ผลของการอ่านสารจะช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจสังคม ยิ่งอ่านมากก็จะเห็นความแตกต่างของ สภาพของสังคมต่างๆ บนพ้ืนโลก การอ่านจึงช่วยสร้างมโนธรรม ความเมตตากรุณา ช่วยเหลือและ เห็นอกเห็นใจผู้อ่ืน เช่น สภาพสังคมท่ีมีปัญหาอันเนื่องมาจากเกิดสงคราม ยาเสพติด และโรคติดต่อ เหลา่ น้เี ป็นต้น ความรสู้ กึ ของผอู้ ่านสารชว่ ยสร้างความเขา้ ใจบคุ คลในสงั คมใหด้ ีข้ึน 3. ผู้อ่านที่อ่านสารอย่างสม่าเสมอในช่วงเวลาที่ผ่านไปสามารถเห็นความเปลี่ยนแปลงของ ภาษาที่แตกต่างกันตามช่วงเวลาน้ัน การเก็บรวบรวมข้อมูลทางภาษาสามารถนาไปใช้ประโยชน์เพื่อ แสดงให้เห็นถึงพัฒนาการทางภาษาอันเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่มีคุณค่าย่ิงสาหรั บเยาวชน รุ่นหลงั 4. ผู้อ่านท่ีอ่านสารประเภทต่างๆ ได้พบว่าระดับการใช้ภาษาของผู้เขียนสารแตกต่างกัน แม้ ในฉบบั เดยี วกัน เชน่ หนังสือพิมพ์ ซึ่งมกี ารใช้ภาษาในข่าว บทความ และโฆษณาก็แตกต่างกัน ดังน้ัน สารต่างๆ จึงเป็นแหล่งรวมภาษาเขียนที่หลากหลาย ผู้อ่านสามารถวิเคราะห์ความแตกต่างเหล่านั้น เพอ่ื เลอื กภาษาท่ีเหมาะสมไปใชใ้ นการปฏิบัติงานของตนได้ 5. การติดตามข่าวสารต่างๆ ด้วยการอ่านอย่างสม่าเสมอทุกวัน นอกจากจะทาให้ผู้อ่านมี พัฒนาการในการอ่านสูงข้ึนแล้ว ยังสามารถติดตามความก้าวหน้าท่ีเปล่ียนแปลงไปในทางการพัฒนา ทั้งในด้านการศึกษา เศรษฐกิจ การเมือง และสังคมซ่ึงสามารถนาส่วนที่เห็นว่าเหมาะสมกับสังคมไทย มาปรับใชใ้ ห้เกดิ ประโยชน์ตอ่ ไป 6. การอ่านช่วยผ่อนคลายความเครียดได้ทางหน่ึงโดยการอ่านสารท่ีให้ความเพลิดเพลิน อีกทั้งยงั เป็นการสง่ เสริมใหผ้ ู้อ่านใช้เวลาว่างให้เกดิ ประโยชนต์ ่อตัวเอง จากคากล่าวเบื้องต้นสามารถบอกได้ว่า การอ่านมีความสาคัญต่อการพัฒนาความรู้ ความสามารถของผอู้ ่าน ทงั้ ในลกั ษณะของการอ่านเพือ่ เกบ็ สาระ ความรู้ ความคิด ข้อสังเกตในการใช้ ภาษา แล้วยงั สามารถได้รับความเพลิดเพลินจากการอ่านได้อีกด้วย เหน็ ได้ว่าประโยชน์ในการอ่านนั้น มีมากเพราะทาให้เป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์มีความฉลาด รอบรู้ และยังส่งเสริมใหม้ ีจิตใจท่ีดีงาม ดังน้ันเรา จงึ ควรมีความสนใจและมีความเพยี รในการอ่านอย่างสมา่ เสมอ องค์ประกอบของการอา่ น ผกาศรี เย็นบุตร (2542: 18-19) ได้กล่าวถึงองค์ประกอบของการอ่านไว้ 5 องค์ประกอบ ดงั นี้ 1. ผู้อ่าน เปน็ ผู้รบั สารด้วยการใชส้ ายตาอ่านสัญลักษณ์ 2. สาร ส่วนใหญ่เป็นหนังสือ เรื่องราวจากหนังสือจะให้ความคิดแก่ผู้อ่าน หากผู้ที่อ่าน หนังสอื ไมไ่ ด้ อา่ นไม่เข้าใจ หรอื ตวั หนงั สือไมช่ ัดเจน ก็จะทาใหก้ ารอา่ นล้มเหลวได้
6 3. ความหมาย ผู้อ่านต้องเข้าใจความหมายของสารท่ีอ่าน เช่น ความหมายของคา และประโยค ท่อี าจจะเป็นความหมายโดยนัย 4. การเลือกความหมาย ผู้อ่านต้องเลือกความหมายโดยอาศัยบริบททางภาษา บริบททาง สังคม สิ่งแวดล้อมในการเลือกความหมายทีถ่ กู ตอ้ งกับสารท่อี ่าน 5. การนาไปใช้ เป็นการอ่านท่ีเกิดประโยชน์ในชีวิตประจาวัน เช่น อ่านคาแนะนาในการใช้ ยา การทางานอดิเรก เป็นต้น ในการอ่านทุกคร้ังต้องประกอบด้วยองค์ประกอบดังกล่าว โดยเฉพาะองค์ประกอบที่ 1 คือ ผู้อ่าน หากผู้อ่านทาหน้าที่ได้อย่างสมบูรณ์ สามารถตีความได้อย่างถูกต้องและพิจารณานาไปใช้ได้ดี จงึ จะถือว่าการอ่านครัง้ น้ันสมั ฤทธผิ์ ล หากนาองค์ประกอบของการอ่านมาจัดเรียงเป็นกระบวนการส่ือสารจะสามารถแสดงเป็น แผนผงั ได้ดังนี้ สาร ผู้อา่ น ความหมายและ การนาไปใช้ การเลอื กความหมาย ภาพท่ี 1-1 องค์ประกอบของการอ่าน ปัจจยั ทส่ี ง่ ผลต่อประสทิ ธภิ าพในการอ่าน ประสิทธิภาพในการอ่านของแต่ละคนมีมากน้อยแตกต่างกันด้วยปัจจัยใดบ้าง เป็นสิ่งท่ีเรา ควรศึกษาเพอ่ื หลกี เลยี่ งปจั จยั ทเี่ ปน็ อปุ สรรคต่อการอ่าน ศิวกานท์ ปทุมสูติ (2553: 53) กลา่ วถงึ ปัจจัย ที่ส่งผลตอ่ ประสิทธภิ าพในการอ่านไว้วา่ การอ่านจะประสบความสาเร็จมากหรอื น้อยนั้น ปัจจัยสาคัญ ประการหน่ึงกค็ ือพ้ืนฐานการอ่านของผอู้ า่ นแต่ละคนซง่ึ จาแนกได้ดังน้ี 1. พื้นฐานความรู้หนังสือหรือพื้นฐานการอ่านออก กล่าวคือ จะต้องมีความรู้หนังสือและมี ทักษะของการอา่ นได้อ่านออกเป็นเบื้องต้น 2. พื้นฐานความรักการอ่าน ข้อน้ีนอกจากจะช่วยเสริมพ้ืนทักษะในข้อแรกให้พัฒนาย่ิงข้ึน แล้ว ยังเป็นพ้ืนฐานสาคัญย่ิงที่จะช่วยสร้างเสริมและพัฒนาพื้นฐานข้ออ่ืนๆ ให้ผู้อ่านมีความงอกงาม และความก้าวหน้าในการอ่านอีกด้วย เพราะถ้าการอ่านมิได้ดาเนินไปเพราะรักหรือพึงใจที่จะอ่าน ก็จะทาให้การอ่านไม่มีความสุข ไม่สนุก ไม่จูงใจให้อ่านได้อย่างต่อเนื่อง ในที่สุดก็จะอ่านไม่ทน แม้จะ ทนอา่ นตอ่ ไปอย่างไรก็คงจะไมเ่ กดิ มรรคผลสักเทา่ ไรนัก 3. พื้นฐานความรู้ความเข้าใจเรื่องท่ีอ่าน น่ันคือผู้อ่านที่ดีจะต้องเตรียมความรู้เร่ืองและ ความเข้าใจเรื่องที่อ่านมาก่อนบ้าง เพ่ือให้การอ่านเร่ืองน้ันๆ ของตนสามารถรับรู้เข้าใจเรื่องราว และ รบั รสอารมณร์ สู้ ึกตา่ งๆ ได้เป็นอย่างดี
7 4. พ้ืนฐานความสนใจเร่ืองที่อ่าน ข้อนี้จะช่วยทาให้การอ่านมีความสุข มีความใฝ่ใจใคร่รู้ มีความตง้ั ใจและความพากเพียรพยายามทีจ่ ะอ่าน ซง่ึ จะส่งผลให้การอ่านบรรลจุ ุดมุง่ หมายไดด้ ยี ิง่ ข้ึน 5. พื้นฐานทางสุขภาพ ท้ังสุขภาพกายและสุขภาพใจ นักอ่านท่ีมีสุขภาพกายใจสมบูรณ์ ย่อมสามารถอ่านได้อย่างมีสมาธิ มีความสุขหรือความเพลิดเพลินในการอ่าน อีกท้ังยังจะใช้เวลา สาหรบั การอ่านได้ครั้งละนานๆ เห็นได้ว่าปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการอ่าน นอกจากเป็นพื้นฐานทางด้านภาษาแล้ว การมีความรู้หรือประสบการณ์ในส่ิงที่จะอ่านเป็นเบ้ืองต้นก็เป็นเร่ืองท่ีจาเป็นต่อความเข้าใจที่ลึกซึ้ง ยิ่งขึ้น นอกจากนี้แล้ว ความสมบูรณ์แข็งแรงของร่างกายและการมีจิตใจท่ีดี มีความรักและสนใจใน การอา่ นกเ็ ปน็ ปัจจยั ที่สาคญั เชน่ กนั นอกจากนี้แล้ว สุชาติ พงษ์พานิช (2550: 9-12) ก็กล่าวถึงปัจจัยท่ีมีผลต่อการอ่านไว้ว่า ความสาเร็จในการอ่านนอกจากจะข้ึนอยู่กับความสามารถในการได้เห็นและการแยกแยะตัวหนังสือท่ี มองเห็นแล้ว สิ่งต่างๆ ต่อไปน้ีอันได้แก่ ภูมิหลังของประสบการณ์ วุฒิภาวะ พัฒนาการทางด้าน สติปัญญา พัฒนาการทางด้านร่างกาย พัฒนาการทางด้านอารมณ์และสังคมรวมทั้งความสนใจ และ การเรียนการสอนอ่านในระยะเร่ิมแรก ยังมีส่วนช่วยเพิ่มพูนความสามารถในการอา่ นของแต่ละบุคคล อกี ดว้ ย และยังเห็นว่านอกจากพ้ืนฐานความพรอ้ มของผอู้ า่ นที่มเี ป็นเบ้ืองต้นแล้ว การฝึกฝน ใหร้ ู้จักวิธี อ่านและการสง่ เสรมิ สนับสนุนจากบคุ คลอน่ื ก็ลว้ นส่งผลต่อความสาเร็จในการอ่าน สรุปได้ว่าปัจจัยท่ีส่งผลต่อประสิทธิภาพในการอ่านนั้นหลักสาคัญคือ ผู้อ่านเองท่ีต้องมี ความพร้อมทั้งทางร่างกายคือความสามารถในการมองเห็น สติปัญญาต้ังแต่ความสามารถใน การอ่านออก ความเข้าใจในส่ิงที่อ่านที่มีผลจากประสบการณ์ความรู้ การใช้ชีวติ และความพร้อมทาง จิตใจแล้ว การได้รับโอกาสสนับสนุนให้อ่าน อีกทั้งมีวิธีอ่านและฝึกฝนอย่างถูกต้อง สม่าเสมอก็เป็น ปัจจัยที่สาคัญเช่นกัน ดังน้ันผู้อ่านทุกคนจึงสามารถพัฒนาความสามารถในการอ่านด้วยการฝึกฝน การเลือกหนังสือหรือบทอ่านท่ีเหมาะสม และหาบรรยากาศในการอ่านท่ีดีก็จะช่วยส่งเสริม ความสามารถในการอา่ นของตนเองได้ วธิ ีการอา่ น การรู้วิธีการอ่านเป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพของการอ่าน ดังนั้นนักอ่านที่ดีก็ควรรู้ วธิ ีการอ่านเพื่อนาไปสกู่ ารปฏบิ ัตทิ ถ่ี ูกต้อง ในเรือ่ งของวิธีการอ่าน จไุ รรัตน์ ลักษณะศิริ และบาหยัน อมิ่ สาราญ. (บรรณาธกิ าร), ( 2547: 35) กล่าวว่า ผู้อ่านต้องให้ความสาคัญกับความแม่นยาในการจับตาดูหนังสือการเคลื่อนสายตาจาก คาต้นไปสู่คาท้ายวรรค ไม่อ่านข้ามคา การอ่านเร็วจะต้องใช้สายตาและความคิดประกอบกัน คิด ติดตามให้ทัน ใช้สายตาดูคาล่วงหน้า พยายามเคล่ือนสายตาไปยังคาต่อไปโดยเร็ว ไม่เสียเวลาอ่าน ทบทวน และขณะที่อ่านหนังสือต้องเห็นอย่างน้อยช่วงละ 5 คา การเคล่ือนสายตาจะไปได้เร็ว เมื่อ
8 อ่านจบย่อหน้าหน่ึง ควรหยุดคิดเล็กน้อย เพื่อสรุปความคิดว่า ย่อหน้าที่อ่านจบลงกล่าวถึงอะไร เนอ้ื ความท่สี าคญั อยูท่ ่ีใด นอกจากวิธกี ารอ่านที่ถกู ต้องแล้ว ยังมีองค์ประกอบสาคัญท่ีมีส่วนสนบั สนนุ ให้การอา่ นในใจมี คุณภาพคอื 1. สมาธอิ นั แน่วแน่ 2. ส่ิงแวดล้อมทไี่ มเ่ ป็นอุปสรรค 3. รูปเล่มและตัวหนังสือทมี่ ีขนาดพอเหมาะ และมีภาพประกอบท่ชี ัดเจน สว่ นข้อควรระวงั ในการอา่ นในใจคอื 1. ไม่ควรใช้นิว้ ช้ีตัวหนังสอื แม้ว่าการใชน้ ิ้วช้ีตัวหนงั สือ จะช่วยเก็บถ้อยคาได้ครบแต่จะทาให้ อา่ นชา้ 2. ไมค่ วรทาปากขมุบขมบิ ขณะอ่าน 3. ผู้อ่านไม่ควรพลั้งเผลอปล่อยเสียงออกมา แม้จะเป็นเสียงแผ่วเบา นอกจากมีข้อความท่ี ต้องการทดสอบด้วยการเปลง่ เสียงออกมาจงึ ควรกระทา การรู้วิธีการอ่านจะเป็นปัจจัยทีส่ ่งผลต่อประสิทธิภาพที่ผู้อ่านควรศึกษา แต่หากไม่นาความรู้ น้ันไปสู่การปฏิบัติฝึกฝนแล้ว ความรู้น้ันก็ย่อมไร้ประโยชน์เพราะท่ีสุดแล้วความสามารถในการอ่าน เกิดจากการทผี่ ู้อ่านต้องปฏิบัตใิ ชจ้ นเป็นทักษะ ลักษณะของนกั อา่ นท่ดี ี การเป็นนักอ่านท่ีดีน้ันนอกจากจะมีความพร้อมทางกาย จิตใจ สภาพแวดล้อมที่ดี พื้นฐานความรู้ และวิธีการอ่านท่ีดีแล้ว ไพพรรณ อินทนิล (2546: 20) ยังได้กล่าวถึงลักษณะการเป็น นักอ่านท่ีดีไว้ดงั นี้ 1. มีความต้องการอา่ น ผอู้ า่ นตอ้ งสร้างความตอ้ งการในการอา่ นใหเ้ กดิ ข้ึนในใจของตนเอง 2. อ่านหนงั สอื สมา่ เสมอ ควรอา่ นทุกวัน โดยตั้งเวลาว่าจะอา่ นวนั ละกนี่ าที กช่ี ่ัวโมง 3. รู้จักจดบันทึก ควรบันทึกข้อความต่างๆ ที่ตนได้อ่าน อาจเป็นข้อความท่ีน่าสนใจ แปลกใหม่ หรือใหค้ วามไพเราะทางด้านการประพันธ์ 4. อ่านหนังสือหลากหลาย ควรอ่านหนังสือหลายประเภทท้ังที่เป็นประเภทให้ความรู้ เช่น ตารา บทความ สารคดี และประเภทที่ให้ความบันเทิง เช่นนิทาน บทประพันธ์ เร่ืองส้ัน นวนิยาย เปน็ ตน้ 5. มีความรู้ความเข้าใจในความหมายและหน้าที่ของคา นักอ่านท่ีดีควรจะมีความรู้เรื่อง คาศัพท์ให้มาก โดยหมั่นศึกษาทั้งหน้าท่ีและความหมาย เพราะคาบางคาแม้จะเขียนเหมือนกันและ ออกเสียงเหมือนกัน แต่ใช้ในบริบทที่ต่างกันก็อาจทาให้ความหมายต่างไปด้วย เช่น คาว่า “ผม” ผมจะเล่นฟุตบอลที่สนาม (“ผม” ในที่นี้เป็นสรรพนามบุรุษที่หน่ึง) เธอมีผมที่สวยมาก (“ผม” ในท่ีน้ี
9 คือ เส้นผมท่ีอยู่บนศีรษะ) หรือคาว่า “หมู” โดยท่ัวไป หมายถึง สัตว์ส่ีเท้าชนิดหนึ่งท่ีมนุษย์สามารถ บริโภคได้ แต่ในบางคร้ัง คาว่า หมู หมายถึง ง่าย เช่น ข้อสอบปลายภาคหมูมาก ฉันทาได้ทุกข้อเลย เป็นต้น นอกจากนี้ อวยพร พานิช และคณะ (2550: 44-45) ยังได้กล่าวถึงลักษณะของนักอ่านท่ีดีว่า นอกจากจะมีความกระตือรือร้นในการอ่านเสมอ และอ่านหนังสือให้เป็นทุกประเภทแล้ว ในการอ่าน หนังสือประเภทเร้าอารมณ์ นักอ่านท่ีดีควรจะมีอารมณ์ระดับกลาง ไม่คว รแข็งขืนจนเกินไป ขณะเดยี วกันก็ไม่ควรอ่อนไหวจนเกนิ ไป ต้องมวี ิจารณญาณไตร่ตรอง มีใจกว้าง และมคี วามกระหายท่ี จะอ่านส่งิ แปลกๆ อยเู่ สมอ สรุปว่าลักษณะของนักอ่านที่ดีคือ ผู้อา่ นต้องความสนใจในการอ่าน อ่านอย่างสม่าเสมอ อ่าน ไดห้ ลากหลาย มกี ารจดบันทึก เข้าใจในความหมาย และใชว้ จิ ารณญาณในการวเิ คราะหแ์ ละตัดสนิ ใจ จดุ ประสงค์ของการอ่าน หากบุคคลลงมือทาการใดโดยปราศจากการต้ังจุดประสงค์หรือเป้าหมายในการทางาน ก็ เปรียบเสมือนเรือท่ีแล่นออกทะเลโดยไม่มีเข็มทิศ ไม่รู้ว่าจะเดินทางไปท่ีไหน ไปอย่างไร เป็นเหมือน เรือท่ีหลงทาง ดังน้ันการต้ังเป้าหมายหรือจุดประสงค์จึงเป็นเร่ืองจาเป็นก่อนตัดสินใจลงมือทาการใด เช่นเดียวกับนักเขียนก็ต้องมีการกาหนดจุดประสงค์ในการเขียน เพื่อเลือกวิธีการและรูปแบบ การนาเสนอที่เหมาะสมกับเน้ือหาสาระที่ตนต้องการนาเสนอ ส่วนผู้อ่านเองก็ควรมีจุดประสงค์อยู่ใน ใจเชน่ กนั ว่าตนตอ้ งการอา่ นเพอื่ สงิ่ ใด จุดประสงค์ของการอ่านสามารถแบ่งเป็น 2 ประเภทคือ จุดประสงค์ท่ัวไป และจุดประสงค์ เฉพาะ สามารถอธบิ ายได้ดังน้ี 1. จุดประสงค์ท่ัวไป จุดประสงค์ท่ัวไปเป็นจุดประสงค์ในการอ่านที่เป็นพ้ืนฐาน ไม่ เฉพาะเจาะจง สมบัติ จาปาเงิน และสาเนียง มณีกาญจน์ (2548: 22-23) แบ่งจุดประสงค์ท่ัวไปของ การอ่านเปน็ 3 ข้อดังนี้ 1.1 อ่านเพ่อื ใหร้ ู้ การอา่ นเพอื่ ให้รูแ้ บ่งออกได้ดังน้ี 1.1.1 อ่านเพื่อหาคาตอบในสิ่งทต่ี ้องการ 1.1.2 อา่ นเพื่อศึกษาหาความร้เู รื่องราวต่างๆ 1.1.3 อ่านเพื่อต้องการขา่ วสาร ข้อเท็จจริง 1.1.4 อา่ นเพ่ือศึกษาคน้ ควา้ เปน็ พิเศษ 1.1.5 อา่ นเพ่ือหาข้อมูลประมวลเอามาทาวจิ ัย 1.2 อ่านเพื่อความสนุกสนานบันเทิง หรือเพลิดเพลิน เป็นการพักผ่อนเพ่ือคลาย ความเครง่ เครยี ด ได้แก่ การอ่านหนงั สอื ประเภทบันเทงิ คดี นวนิยาย เร่อื งส้ัน วรรณคดี เปน็ ต้น
10 1.3 อ่านเพื่อให้เป็นที่ยอมรับในวงสังคม คนรักหนังสือหรือคนรักการอ่านเป็นคนน่าคบ อาจเข้ากับคนต่างช้ันต่างระดับได้ง่าย เพราะมีความรกู้ ว้างขวาง ทัศนะทันสมัย คุยกบั ใครกร็ ู้เรื่องและ เป็นทน่ี ่าเชอ่ื ถอื 2. จดุ ประสงค์เฉพาะ จดุ ประสงค์เฉพาะคือ จุดประสงค์ของผู้อ่านท่ีมีความเฉพาะเจาะจง เป็นความต้องการส่วนตัวท่อี าจไมเ่ หมือนใคร สุนนั ทา มนั่ เศรษฐวิทย์ (2540: 4-5) สรปุ แนวคดิ ของ Bush (1991) และ Huebner (1956) ในการแบ่งจดุ ประสงคเ์ ฉพาะของการอ่านได้ดังนี้ 2.1 ตอบสนองอารมณท์ ผี่ ู้อา่ นพอใจ เชน่ รัก ชอบ โกรธ เสียใจ และดใี จ 2.2 ช่วยให้พบกับความต้องการในชีวิตประจาวัน เพราะการอ่านจะช่วยชดเชยอารมณ์ ทข่ี าดหายไป และช่วยตอบสนองความตอ้ งการในส่วนของอารมณห์ รือความรสู้ กึ ทต่ี ้องการ 2.3 ติดตามเร่อื งท่ีไดร้ บั ฟังจากผอู้ ่ืน 2.4 สง่ เสรมิ ใหม้ ีความคิดสรา้ งสรรคโ์ ดยอาศยั แนวทางจากเรอื่ งที่อ่าน 2.5 ส่งเสรมิ ใหม้ คี วามกระตอื รอื ร้นในการอา่ นเรือ่ งอ่นื ๆ เพิม่ ข้ึน 2.6 รจู้ กั ใช้เวลาวา่ งให้เป็นประโยชน์ 2.7 ชว่ ยผอ่ นคลายความตงึ เครยี ดของสมอง 2.8 ชว่ ยใหม้ คี วามรู้เพิม่ ขึ้น สามารถใช้ประกอบการเรยี นวิชาอนื่ ๆ 2.9 รู้จักสถานท่ีท่ีไม่สามารถเดินทางไปเยือน แต่สามารถหาประสบการณ์ได้จากการ อ่าน 2.10 มีความคิดเปน็ อสิ ระในการเลอื กเร่อื งทจ่ี ะอ่าน 2.11 มคี วามเฉลียวฉลาด โดยอาศัยความรู้และแนวคิดจากการอ่านไปสนทนาโตต้ อบกับ ผอู้ ่นื 2.12 เป็นการใชเ้ วลาพักผอ่ น 2.13 ชว่ ยให้เกดิ ความสนใจเรื่องใหม่ๆ 2.14 ส่งเสริมการฝกึ ทกั ษะการอ่านจากขน้ั พืน้ ฐานไปสูข่ นั้ ท่ีสงู ข้นึ 2.15 เป็นการฝกึ ใหม้ ีระดบั ความคิดสูงข้นึ 2.16 เปิดเผยความลึกลับในเร่ืองราวบางอยา่ งท่ผี อู้ ่านยงั ไม่เคยรู้มาก่อน 2.17 ช่วยให้มีสุขภาพจิตดขี น้ึ 2.18 ช่วยให้มีความคดิ แตกฉานมากขึน้ 2.19 สง่ เสรมิ ใหผ้ ้อู ่านมีน้าใจเปน็ นกั กีฬา 2.20 นาความรู้ท่ไี ด้จากการอ่านมาแก้ปญั หาสงั คม เศรษฐกิจ การเมือง และเร่อื งส่วนตวั 2.21 สง่ เสรมิ ให้ผู้อ่านเกดิ อารมณร์ ว่ มกบั ผ้เู ขียน 2.22 ส่งเสริมให้ผู้อ่านสามารถเผชิญหน้ากับสถานการณ์ใหม่ๆ ด้วยความเช่ือมมั่นมาก ยง่ิ ขึน้
11 2.23 พัฒนาคุณค่าทางสังคม โดยอาศัยความรู้ท่ีได้จากการอ่านไปใช้ประโยชน์ให้ กวา้ งขวางยิง่ ขนึ้ 2.24 ชว่ ยใหผ้ ู้อา่ นมีหตู ากวา้ งไกลมากยิ่งขึ้น เห็นไดว้ ่าจุดประสงค์ของผู้อ่านสามารถแยกย่อยได้มากมาย แต่อย่างไรก็ตามการส่ือสารนี้จะ สัมฤทธิ์ผล เป็นการสื่อสารท่ีมีคุณภาพนั้น จุดประสงค์ของผู้เขียนและผู้อ่านควรเป็นไปในทิศทาง เดียวกัน เช่น ผู้เขียนให้ความรู้ ผู้อ่านก็อ่านอย่างเอาความรู้ มิใช่หวังความเพลิดเพลิน เช่นน้ีการรับ สารกจ็ ะมีประสทิ ธภิ าพท่ดี ี ขนั้ ตอนของการอา่ น อวยพร พานิช และคณะ (2550: 42-43) แบง่ ขั้นตอนการอ่านหนงั สอื เปน็ 4 ข้ันตอน ดงั นี้ ขนั้ ท่ี 1 จบั ใจความ คอื การอา่ นจับใจความให้เปน็ ยงั แบ่งออกไดเ้ ปน็ 2 ระดบั คือ 1. การอ่านจับใจความส่วนรวม ได้แก่ การสังเกตส่วนประกอบของหนังสือ โดยพลิกดู และ กวาดสายตาผ่านหัวขอ้ ตา่ งๆ จากสารบัญ คานา พยายามจับเนอ้ื หาครา่ วๆ ของหนงั สือเลม่ นนั้ โดยเปิด อ่านผ่านๆ การอ่านวิธีนี้ ช่วยให้ตัดสินได้วา่ หนังสือเล่มน้ันดีมีคุณค่าเพียงพอท่ีจะเสียเวลาอ่านอย่าง ละเอยี ดหรือไม่ 2. การอ่านเพื่อจับใจความสาคัญ เป็นการอ่านต่อเนื่องจากเม่ือจับใจความส่วนรวมได้แล้ว ผู้อ่านจะต้องอ่านค่อนข้างละเอียด อ่านอย่างเข้าใจและเข้าถึงรสระดับลึกๆ ได้ ท้ังในแง่แนวคิด จดุ มุ่งหมายและอารมณ์ โดยมุ่งเก็บจุดมุ่งหมายสาคัญของเรื่องในแง่ต่างๆ การอ่านในข้ันแรกนี้จะเป็น พ้นื ฐานของการแสดงความคดิ เหน็ วพิ ากษว์ ิจารณ์ต่อไป ข้ันท่ี 2 แสดงความรู้สึกนึกคดิ คือ อา่ นแล้วสามารถแสดงความรู้สึกนึกคิด ถ่ายทอดออกมา ให้ผู้อนื่ รับรไู้ ด้ วิธถี ่ายทอดมีทั้งวธิ ีพูดและวิธีเขยี น มีทัศนะเก่ียวกับการอ่านของเสฐียรโกเศศ หรือพระยาอนุมานราชธนที่น่าสนใจกล่าวไว้ว่า “นักอ่านท่ีดีความเป็นผู้ที่รู้จักคิดในขณะที่อ่าน” การอ่านแล้วจาได้เพียงอย่างเดียวมีประโยชน์น้อย แม้การท่องจาไว้ได้จะเป็นสิ่งดีแต่ก็ทาให้ความคิดท่ีรู้จักแยกแยะด้วยเหตุผลหรือวิเคราะห์เพลาลงไป เปน็ ธรรมดาเพราะไปถ่วงหนักอยู่เสียที่เรื่องจามากกว่าเร่อื งคิด ท้ังนเี้ พราะท่านเห็นว่า การศึกษาไม่ได้ อยู่ที่จดจาอย่างเดียว แต่อยู่ท่ีรู้จักคิดให้เกิดความเข้าใจจนสามารถนาไปใช้หรือแก้ไขให้เกิดเป็นคุณ หรือประโยชนข์ น้ึ แก่ตนเอง และคนอื่นถา้ ทาไดอ้ ย่างน้ีก็ไม่เรียกวา่ เสยี เปล่า ข้นั ท่ี 3 สงั เกตแนวการเขียนของผู้แตง่ คอื ลกั ษณะความสามารถในการอ่านหนังสอื ท่ผี ้อู า่ น จะสังเกตแนวการเขียนของผู้แต่งได้อย่างอัตโนมัติ พร้อมๆ กับที่อ่านจับใจความและรับรสต่างๆ แล้ว ข้นั ตอนนี้ค่อนข้างยากต้องมีประสบการณ์ในการอ่านมากๆ อาจจะช่วยได้ด้วยการฝึกหัดเปรียบเทียบ โยงถึงงานเขียนช้ินอื่นๆ ไม่ว่าจะเป็นนักเขียนคนอ่ืนๆ หรือคนเดียวกัน แนวเปรียบท่ีอาจจะยึดเป็น
12 หลักได้ เช่น ลองพิจารณาวิธีแสดงความคิดเห็น ท่าทีการแสดงออก วิเคราะห์สานวน ภาษา โวหาร ต่างๆ แนวเรอ่ื งตัวละครตา่ งๆ ข้ันท่ี 4 ประเมินค่างานเขียน คือ การอ่านท่ีสามารถประเมินค่าของงานเขียนได้อย่างมี เหตุผลมีหลักเกณฑ์เข้าใจความหมายและสัญลักษณ์ต่างๆ ในงานเขียนได้อย่างถูกต้องและสามารถ อธิบายได้อย่างแจ่มชัดเป็นขั้นตอนสุดท้ายท่ีก้าวข้ามไปได้ยากเหลือเกิน เพราะต้องมีความสามารถ ในการอ่าน ต้องอา่ นอย่างมีวิจารณญาณใคร่ครวญอยตู่ ลอดเวลา ต้องสงั เกตท่าทีแนวการเขียน ศลิ ปะ การประพนั ธ์ได้ ข้ันตอนของการอ่านเบ้ืองต้นเป็นการอ่านในใจเพื่อความรู้ ความเข้าใจของผู้อ่าน การอ่าน เช่นน้ีจะช่วยพัฒนาสร้างความรอบรู้ มีความสาคัญต่อการพัฒนาตนเอง และประเทศชาติ เปน็ อยา่ งมาก ประเภทของการอา่ น ประเภทของการอ่านสามารถแบ่งตามวธิ ีการได้ 2 วิธี คือ การอ่านออกเสียง และการอ่านในใจ การอ่านสองประเภทน้มี คี วามแตกตา่ งกนั อยา่ งไร มีผู้อธิบายไวด้ ังน้ี ฉววี รรณ คูหาภนิ ันทน์ (2542: 38-39) กล่าวถึงความแตกต่างของการอ่านท้ังสองประเภทไว้ว่า การอ่านในใจน้ันมีความสาคัญต่อตัวเองในด้านการใช้อ่านเพื่อค้นคว้าอย่างรวดเร็ว ดังนั้นการอ่านใน ใจตอ้ งการความเร็วในการอา่ น และความเข้าใจเป็นสาคัญ การอ่านในใจจะอ่านดหี รือไม่ดผี ลย่อมเกิด ขึ้นกับตัวเอง ไม่มีผลเสียต่อผู้อื่น ผู้อื่นจะไม่รู้หรือไม่สนใจว่าเราจะอ่านดีหรือไม่ดี แต่ถ้าเป็นการอ่าน ออกเสียงให้ผู้อ่นื ไดย้ นิ หรือฟังน้ัน เป็นประโยชน์สาหรับผอู้ ่นื ดงั น้ันผอู้ ่านจะต้องระมัดระวังการอ่านให้ มาก เพ่ือจะให้ผู้ฟังเข้าใจและไดย้ ินข้อความทีเ่ ราอา่ นทกุ คาอยา่ งชดั เจน ไม่ชา้ หรือเร็วเกนิ ไป ขอ้ ความ ไม่ขาดตกบกพร่องและไม่เกินเวลา ก่อนอ่านจะต้องฝึกอ่านข้อความที่จะอ่านหรือพูดให้คล่องแคล่ว ถูกต้องเสียกอ่ น ดังเชน่ การเป็นโฆษก หรือพิธกี รการอ่านข่าวของงานท่วั ๆ ไป ส่วน สมบัติ จาปาเงิน และสาเนียง มณีกาญจน์ (2548: 50-52) ได้กล่าวถึงการอ่านออกเสียง และการอ่านในใจว่า การอ่านท้ังสองประเภทเป็นการถ่ายทอดความคิดท่ีปรากฏอยู่ในรูปอักษร ด้วยกัน แต่การอ่านในใจจะรู้อยู่ผู้เดียวและสามารถแบ่งระดับตั้งแต่ข้ันต่าสุดไปสู่ขั้นสูงสุด ส่วน การอ่านออกเสียงผู้ที่ได้ยินจะรู้ด้วย สามารถแบ่งการอ่านออกเสียงเป็นสองกลุ่มคือ อ่านเสียงปกติ และอ่านเป็นทานอง นอกจากนี้ยังเปรียบเทยี บความแตกต่างให้เห็นชดั ดังแสดงเปน็ ตารางต่อไปนี้
13 ตารางที่ 1-1 ขอ้ แตกต่างระหวา่ งการอา่ นออกเสยี งและอ่านในใจ การอา่ นออกเสียง การอา่ นในใจ 1. การถ่ายทอดตวั อักษรออกเปน็ เสียง 1. การถา่ ยทอดตัวอักษรเปน็ ความคิด 2. เหน็ดเหน่ือยกว่าเพราะต้องใช้แรงออกเสียง 2. เ หน่ื อย น้อ ยก ว่า กา รอ่ าน ออ กเ สีย ง ก่อนถา่ ยความคิด เพราะถา่ ยความคิดโดยตรง 3. ต้องคานึงถึงผู้ฟังว่าจะฟังได้ชัดเจนถูกใจ 3. ไม่ต้องคานึงถึงผู้ฟัง เพราะมีตัวผู้อ่านเป็น หรอื ไม่ ผู้ฟงั เพยี งคนเดยี ว 4. ต้องระมัดระวังการอ่านทุกถ้อยคา ทุกวรรค 4. อาจอ่านเพียงให้ทราบความส่วนรวม ทุกประโยค ทุกตอนจะอ่านออกเสียงผ่านๆ หรือจับเพียงใจความสาคัญ พลความอาจอ่าน เลยไป ไมไ่ ดเ้ ดด็ ขาด ข้ามๆ ไปก็ได้ 5. อ่านไปได้ช้ากว่าอ่านในใจเพราะความจาเป็น 5. อ่านไปได้เร็วกว่าอ่านออกเสียงอย่าง เกี่ยวกับผู้ฟังที่อาจแตกต่างกัน ทั้งพื้นความรู้ แน่นอน ย่ิงผู้อ่านมีความพร้อมด้านความรู้ ความเขา้ ใจ สนใจ การไดย้ ิน ยงิ่ ผู้ฟังมีมาก ปญั หา ประสบการณ์ ร่างกาย ย่ิงอ่านเร็วข้ึนโดยไม่ เหลา่ น้จี ะมากตาม ตอ้ งห่วงอะไร 6. มีความลาบากในการคาดคะเนผู้ฟังตามสภาพ 6. หมดภาระเรื่องคาดคะเนผู้อ่าน อาจเร่ง ที่เป็นจริง ซ่ึงทาให้ความเร็วในการอ่านไม่ตายตัว อัตราเร็วได้ตามความเหมาะสม โดยไม่ต้อง ต้องพยายามอ่านให้ผู้ฟงั ตามความคดิ ทอี่ ่านใหท้ ัน กังวลวา่ จะเป็นคนกลมุ่ โน้นกลุม่ น้ี แต่อยู่ที่ การ ช้าเกินไปก็น่าเบ่ือ การอ่านให้นิสิตมหาวิทยาลัย พิจารณาตัวผู้อ่านเองว่า ควรจะไปได้เร็ว ฟังย่อมใช้อัตราเร็วกว่าอ่านให้นักเรียนมัธยมฟัง เพียงใด การอ่านจงึ จะได้ผลตามทีต่ ้องการ เป็นตน้ 7. การอ่านออกเสียงเข้าใจเน้ือความได้ช้ากว่า 7. การอ่านในใจเข้าใจเน้ือความได้รวดเร็วกว่า การอ่านในใจ บางทีจะต้องเตรียมตัวก่อนโดย อ่านออกเสียง นอกจากไม่ต้องซ้อม ยังอาจเร่ง ซ้อมให้พร้อมก่อนอ่านจริง มีการแบ่งวรรคตอน ความเร็วได้ กรณียังไม่เข้าใจอาจรีบกลับมา เพอื่ ใหค้ วามคดิ ออกมาชัดเจน ทบทวนใหมไ่ ด้อกี ทีม่ า (สมบัติ จาปาเงิน และสาเนยี ง มณีกาญจน์, 2548: 50-52) จากการอธิบายข้อแตกต่างของการอ่านออกเสียงและการอ่านในใจข้างต้น จะเห็นได้ว่า การอ่านท้ังสองวิธีมีความแตกต่างกันอย่างชัดเจน เพราะการอ่านออกเสียงเป็นการอ่านเพื่อผู้อ่ืน ดังน้ันผู้อ่านจึงต้องระมัดระวังในการออกเสียงให้ถูกต้องชัดถ้อยชัดความ มีความเหมาะสมตาม ประเภทของบทอ่าน และตามจุดประสงค์ของผู้ส่งสารหรือผู้รับสาร ผู้อ่านออกเสียงจึงต้องวิเคราะห์ ผู้รับสาร เพ่ือท่ีจะส่ือสารได้อย่างตรงเป้าหมาย ส่วนการอ่านในใจเป็นการอ่านเพ่ือตัวเอง เน้นความรู้ ความเข้าใจ เนื้อหาสาระ เป็นการสร้างความฉลาดรอบรู้ให้กับผู้อ่าน ดังนั้นผู้อ่านจึงต้องพัฒนาท่ี
14 ความคิดของตนเอง ด้วยการฝึกฝนอย่างมีหลักการท่ีถูกต้อง ซึ่งจะได้ขยายความการอ่านในใจตั้งแต่ การอ่านจับใจความสาคัญ การอ่านวิเคราะห์ การอ่านตีความ และการอ่านอย่างมีวิจารณญาณในบท ต่อๆ ไป สรุป เมื่อเป็นที่ทราบกันดีแล้วว่าการอ่าน เป็นเคร่ืองมือในการศึกษาหาความรู้ท่ีสาคัญ ผู้ท่ีจะเป็น บัณฑิตย่อมต้องขวนขวายฝึกฝนความสามารถในการอ่านของตนให้มาก บทเรียนท่ีว่าด้วย “การอ่าน เบ้ืองต้น” มีเนื้อหาคือการให้หลักการที่ช่วยให้ผู้เรียนมองภาพรวมของการอ่านได้อย่างชัดเจนย่ิงขึ้น แต่ความรู้เป็นเพียงจดุ เริ่มต้นที่จะนาไปสู่การปฏิบัติใช้ ดังนน้ั เม่อื ต้องอ่านในใจเพ่ือเก็บข้อคิดความรู้ที่ ใช้ในการพัฒนาตนเอง หรือพัฒนางานเมือ่ ใด ผ้อู ่านก็ควรคานงึ ถึงหลักการอ่าน ทง้ั ปจั จยั ทีส่ ง่ ผลสาเร็จ ในการอ่าน วิธีการอ่าน ลักษณะของนักอ่านท่ีดี และขั้นตอนของการอ่าน แล้วนาไปประยุกต์ใช้เพ่ือ พัฒนาทักษะในการอา่ นของตนให้ดีย่งิ ข้ึน
15 คาถามท้ายบทท่ี 1 การอา่ นเบื้องต้น ตอนท่ี 1 คาชีแ้ จง ให้นกั ศึกษาตอบคาถามต่อไปน้ี 1. นักศึกษาอ่านหนังสือประมาณกชี่ ่ัวโมงในหนงึ่ สัปดาห์ และอา่ นหนังสอื ประเภทใด เรียงลาดบั จากมากทีส่ ดุ ไปน้อยท่สี ุด 2. การอ่านมีความสาคัญอยา่ งไรกบั ตัวนักศึกษาเอง 3. นักศึกษาคิดวา่ อุปสรรคในการอา่ นของนกั ศกึ ษา คืออะไร และสามารถแก้ไขไดอ้ ย่างไร 4. นกั ศกึ ษามีวธิ กี ารอ่านท่ีถกู ต้องหรอื ไม่ ขอ้ ใดท่ยี งั ทาไมไ่ ด้ เพราะเหตุใด 5. ข้อดีของการอ่านออกเสยี งและการอา่ นในใจต่างกนั อยา่ งไร จงอธบิ ายเป็นตารางเปรียบเทียบ ตอนท่ี 2 คาช้แี จง ใหน้ ักศึกษาอ่านเรื่อง “ชัย อ่อนตาจันทร์ ปราชญ์เกษตรของแผน่ ดิน” แล้วดาเนินการดัง ต่อไปนี้ 1. สรปุ เรื่องจากการอ่าน 2. แสดงความคิดเห็นจากการอา่ นโดยเลอื กประเด็นท่ีนกั ศกึ ษาสนใจ (การแสดงความคดิ เหน็ ให้ ประกอบดว้ ย ความรสู้ กึ การใหเ้ หตผุ ลหรอื ข้อสนบั สนนุ ความคิดของตนเอง และข้อเสนอแนะหรือ แนวทางแก้ไข) 3. นักศกึ ษาคิดวา่ ตนเองมพี ฤติกรรมทีแ่ สดงออกถงึ ความพอเพยี งในเรื่องใดท่ีถือเป็นตวั อยา่ งได้ จงอธิบาย ชยั อ่อนตาจันทร์ ปราชญ์เกษตรของแผ่นดนิ ชายวัยเกือบ 60 ปี เจ้าของรางวัลปราชญ์เกษตรดีเด่น และบุคคลท่ีได้รับการยอมรับจาก บุคคลทวั่ ไปทง้ั ในระดับจังหวดั และระดบั ประเทศ ว่าเป็นผู้นาด้านการทาการเกษตรตามหลักเศรษฐกิจ ทฤษฎีใหม่ ดาเนินชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง จนประสบความสาเร็จในวันนี้ ท้ังท่ีจริงแล้ว ก่อนหน้าน้ีชวี ิตของชายผนู้ ้ีก็ไมต่ ่างกับเกษตรกรท่ัวไปที่ต้องผจญกบั ปัญหานานัปการ “แต่ก่อนผมเป็น คนข้ีเหล้าเมายานะ เสื้อผ้าผมไม่มีใส่หรอกผมเอาไปจานาหมด ขายหมดตัวละ 20-30 บาทผมขาย หมด...” ชัย ออ่ นตาจนั ทร์ บอกเล่าถึงเรอ่ื งราวแต่หนหลัง จากชายหนุ่มท่ีสามะเลเทเมา วันนี้ ชัย อ่อนตาจันทร์ เป็นผู้นาด้านเกษตรทฤษฎีใหม่ ทา หน้าท่ีให้ความรู้ด้านการเกษตรจากประสบการณ์จริง และออกเดินทางอบรมให้ความรู้เกษตรกร ร่วมกบั หนว่ ยงานดา้ นการเกษตรของรัฐ
16 จากเกษตรกรท่ีหมุนวนอยู่ในวงจรหนี้สิน เมื่อไม่มีก็ไปกู้ ธกส.เงินที่กู้มาก็เพ่ือไปลงทุนทา การเกษตร แตเ่ ม่อื ประสบกับปัญหาราคาผลผลิตทางการเกษตรตกตา่ ก็ไม่มีเงนิ ไปคืนธนาคารจนท่ีสุด แล้วเปน็ หน้ีกวา่ 400,000 บาท ธนาคารก็ไมป่ ล่อยกใู้ ห้แล้ว ชีวิตดูเหมือนมืดมน แต่ ชัย อ่อนตาจนั ทร์ กไ็ มย่ อมหมดหวัง “ตอนปี 38 หนี้สินผมเยอะ 4 แสนบาทนั่นล่ะ ธกส. ไม่ให้ยืมเลยนะ ตอนนั้นก็คิดว่าจะทา ยงั ไง ทางเกษตรก็บอกวา่ หน่ึงคอื การออม ใหป้ ระหยัดแต่ทาไดไ้ หมละครบั ผมกถ็ ามว่า คาว่าประหยัด น่ี ประหยัดด้วยวิธีไหน เขาก็ว่าให้ใช้จ่ายน้อย ให้ใช้จ่ายน้อยจะทาได้ยังไงคนมันต้องบริโภคทุกวันใช่ ไหม ผมบอกว่าผมบริโภคทุกวัน ทีนผ้ี มก็เลยขอทางเกษตรจังหวัด เกษตรอาเภอ บอกเขาวา่ ตรงไหนท่ี เขาทาสาเร็จแลว้ พาผมไปดูหน่อย เขาก็เลยพาผมไปดูงาน ตอนน้ันผมก็คิดวา่ คาวา่ ออมน่ีคือการไม่ใช้ จา่ ย ใชจ้ ่ายน้อยลงมานี่แลว้ ทายงั ไงถึงจะอยู่ได้ อยู่ดกี ินดไี ด้ เขาเลยพาผมไปอบรม พอผลสุดท้ายกร็ ้วู ่า คาว่าออม คือการประหยัดน่ีเอง แต่ว่าตอนนั้นของเราทุกอย่างมันไม่มี ผมก็เลยใช้วิธีเข้าไปดูตลาด ไปดูเลยว่าของตัวไหนท่ีคนเขาบริโภคกัน เพราะตรงน้ันคนเลีย้ งก็ง่ายใชไ่ หม ของตัวไหนท่ีขายได้ราคา กต็ อ้ งเดินเขา้ ไปดซู ะกอ่ น ผมต้องยอมอายเดินเข้าไปดูเพราะว่าหนี้สินมันเยอะ ช่วงน้นั หน้ีสินมนั เยอะ” หลังจากต้ังหลักได้ ชยั อ่อนตาจันทร์ เรมิ่ ต้นจากการสารวจตัวเอง สารวจตลาด อะไรที่ตัวเอง กินใช้ในแต่ละวันที่ทาให้เกิดค่าใช้จ่ายรายวันท่ีสามารถปลูกเอาเองได้ ก็เริ่มลดค่าใช้จ่ายด้วยการปลูก ของทตี่ ัวเองกนิ กนิ ของทีต่ ัวเองปลูก “เร่ิมแรกผมจะปลูกผัก ปลูกผักกินแล้วก็ปลูกทุกอย่างไม่ว่าจะเป็นตะไคร้ เป็นหอมอะไรก็ ปลูก ปลูกหมด คือว่าลดค่าใช้จ่ายท่ีแท้ต้องมาลดตัวน้ี คนทั้งหลายจะไม่รู้ ต่ืนตอนเช้าถ้าทาป่นไม่มี หอมได้ไหม กินข้าวไม่มีผักกินได้ไหม ต้องไปซื้อใช่ไหม ต่ืนเช้าไปซ้ือ ผมมาสังเกตว่าลดค่าใช้จ่ายต้อง ลดตัวน้ี ผมมาใช้หน้ีสแ่ี สน ใช้อยู่ 4 ปีสาเร็จ ทาง ธกส.เลยยกย่องผมไปหาเงินมาได้ยังไง เขาว่าคนแก่ อายุ 50 กว่าแล้วน่ี ทาไมหาเงินได้ เขาก็มาถามผม ผมเลยว่าหาเงินแสนหายังไง ผมเลยบอกให้ เกษตรกรมาดู ยืนยันเลยว่าหาเงนิ แสนหาง่ายท่ีสุด ถ้าเกษตรกรตั้งใจนะ แลว้ ต้องมคี วามรนู้ ะ ผมบอก ไดเ้ ลยว่าทาได้” ชยั กลา่ วย้าหนกั แน่นในสงิ่ ทเี่ ขาพิสูจนด์ ว้ ยตัวเองแลว้ (องคก์ ารบรหิ ารส่วนจงั หวัดอุดรธาน,ี มปพ., 30-33)
17 เอกสารอา้ งองิ จไุ รรตั น์ ลกั ษณะศิริ และบาหยนั อ่มิ สาราญ. (บรรณาธิการ). ( 2547). การใชภ้ าษาไทย. กรุงเทพฯ: พี.เพรส. ฉวีวรรณ คหู าภนิ นั ทน์. (2542). เทคนคิ การอา่ น. กรงุ เทพฯ: ศิลปาบรรณาคาร. ผกาศรี เย็นบุตร. (2542). การอา่ น. กรงุ เทพฯ: ภาควิชาภาษาไทยและภาษาตะวนั ออก คณะมนุษยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศรีนครนิ ทรวโิ รฒ. พนิตนนั ท์ บุญพาม.ี (2542). เทคนิคการอา่ นเบื้องต้น. นครราชสมี า: สถาบนั ราชภัฏนครราชสมี า. ไพพรรณ อินทนลิ . (2546). การส่งเสริมการอ่าน. ชลบุร:ี ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั บูรพา. มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช สาขาวิชาศลิ ปศาสตร์. (2557). เอกสารการสอนชดุ วิชาการอา่ น ภาษาไทย. พมิ พ์ครั้งท่ี 12. นนทบรุ ี: มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช. ศรีสุดา จริยากลุ และคณะ. (2545). เอกสารการสอนชุดวิชาภาษาไทย 5: การอา่ น. พิมพ์คร้งั ที่ 3. นนทบุรี: มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช. ศวิ กานท์ ปทุมสูติ. (2553). คมู่ อื การอ่านคดิ วิเคราะห์. กรุงเทพฯ: นวสาส์นการพมิ พ.์ สมบตั ิ จาปาเงนิ และสาเนียง มณกี าญจน์. (2548). กลเม็ดการอา่ นให้เกง่ . พิมพ์คร้งั ท่ี 3. กรงุ เทพฯ: สถาพรบุ๊คส.์ สุชาติ พงษ์พานิช. (2550). การอา่ นเพอื่ พฒั นาตน. นครสวรรค์: คณะมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครสวรรค.์ สนุ นั ทา ม่นั เศรษฐวทิ ย.์ (2540). หลักและวธิ ีสอนอา่ นภาษาไทย. พมิ พ์คร้งั ท่ี 3. กรงุ เทพฯ: ไทยวฒั นาพานิช. องค์การบรหิ ารส่วนจังหวดั อดุ รธาน.ี (ม.ป.ป.). 30 ปราชญ์อุดร. (มปท.). อวยพร พานิช และคณะ. (2550). ภาษาและหลกั การเขยี นเพือ่ การสื่อสาร. พมิ พค์ ร้งั ที่ 5. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั .
19 แผนบริหารการสอนประจาบทท่ี 2 การอ่านจับใจความสาคัญ เวลาเรยี น 9 ชัว่ โมง เนอ้ื หา 1. ความหมายของการอ่านจับใจความสาคญั 2. ประเภทของการอ่านจับใจความสาคัญ - การจบั ใจความสาคญั ทป่ี รากฏในย่อหน้า - การจบั ใจความสาคญั ด้วยการสรปุ ความ(5W1H) 3. เทคนคิ การอ่านจับใจความสาคญั วัตถุประสงค์เชงิ พฤติกรรม หลงั จากศกึ ษาบทเรยี นนี้แล้วนักศึกษาควรมีพฤติกรรมดังนี้ 1. บอกความหมาย และประโยชนข์ องการอา่ นจับใจความสาคัญได้ 2. จับใจความสาคญั ท่ปี รากฏในยอ่ หนา้ จากเรื่องที่อ่านได้ 3. จับใจความสาคัญดว้ ยการสรุปความจากเรื่องที่อ่านได้ วธิ กี ารสอนและกิจกรรม กิจกรรมการเรียนการสอนในบทที่ 2 การอ่านจบั ใจความสาคัญ มดี ังน้ี 1. ผู้สอนยกตัวอย่างบทอ่านประเภทที่มุ่งเสนอความรู้ หรือข้อเท็จจริงประมาณ 2- 3 ตัวอย่าง (บทอ่านแบบมีใจความปรากฏในย่อหน้า และบทอ่านแบบจับใจความด้วยการสรุปความ) ให้ผู้เรียน ทดลองจับใจความสาคัญ และให้อธบิ ายว่าจบั ใจความสาคญั อยา่ งไร 2. ผู้สอนเช่ือมโยงสู่เนื้อหาในบทเรียน อธิบายและยกตัวอย่าง ประกอบสไลด์นาเสนอความรู้ โดยอธิบายและฝึกไปทลี ะแบบ 3. หลังการอธิบาย ผู้สอนทดสอบความเข้าใจของผู้เรียน ด้วยการให้ผู้เรียนจับใจความสาคัญ จากบทอา่ นท่ยี กตัวอยา่ งมาใหใ้ นสไลด์ อาจให้นักศึกษาตอบช่วยกนั หรือสุ่มตอบ 4. เล่นเกม “จับใจความสาคัญ ถูกและไวได้แต้ม” เป็นกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน กลุ่มใดได้คะแนน สงู สุดเป็นผชู้ นะ มีวิธกี ารเลน่ ดังน้ี 4.1 หากเปน็ การจับใจความสาคัญท่ีปรากฏในย่อหนา้ สมาชกิ ในกลุ่มต้องไดร้ บั บทอา่ นทกุ คน และบทอ่านที่สมาชิกได้รับจะไมเ่ หมือนกัน ให้สมาชิกทกุ คนอ่าน แล้วเขียนคาตอบลงในกระดาษที่แต่ ละกลุ่มได้รับ แต่หากเป็นการจับใจความสาคัญด้วยการสรุปความ สมาชิกในกลุ่มจะได้รับบทอ่าน เหมือนกนั แลว้ ชว่ ยกันสรปุ ความ และเขียนคาตอบลงในกระดาษทแ่ี ต่ละกลมุ่ ได้รบั 4.2 กลุม่ ใดเสร็จเร็วใหต้ วั แทนมารับธงคะแนนพิเศษจากผู้สอน มีจานวน 2 ธง
20 4.3 เมื่อทุกกลุ่มตอบเสร็จ (กาหนดเวลาไม่เกิน 15 นาที) ผู้เรียนและผู้สอนร่วมกันเฉลย คาตอบ และนับคะแนนท่ีแต่ละกลมุ่ ได้รบั 5. ผเู้ รยี นสรุปความร้ทู ไี่ ด้รบั และผ้สู อนให้ข้อเสนอแนะเพมิ่ เติม 6. ให้ผู้เรียนจับใจความสาคัญบทอ่านที่นามาให้ทดสอบเม่ือแรกเร่ิมก่อนสอนอีกคร้ังเพ่ือ ทดสอบความเขา้ ใจและเป็นการเฉลยคาตอบ 7. ทาแบบฝึกจับใจความสาคัญเป็นงานเดีย่ ว สื่อการเรยี นการสอน 1. สไลดน์ าเสนอความรู้ด้วย Microsoft Power Point “บทที่ 2 การอา่ นจับใจความสาคญั ” 2. เอกสารประกอบการสอนวิชา การพัฒนาทักษะการอา่ น 3. บทอา่ นแบบจับใจความสาคัญทป่ี รากฏชดั ในยอ่ หนา้ 4. บทอา่ นจบั ใจความสาคญั ด้วยการสรปุ ความ 5. ธงคะแนนพเิ ศษ 6. ใบคาตอบของกลุ่ม 7. แบบฝึก การวัดผลและการประเมินผล 1. สงั เกตพฤติกรรมและการนาเสนอคาตอบของกลุ่ม 2. ตรวจแบบฝึก
21 บทท่ี 2 การอ่านจบั ใจความสาคัญ ผู้อ่านท่ีดีควรทาความเข้าใจเรื่องราวท่ีอ่านและสามารถจับใจความสาคัญเร่ืองท่ีอ่าน เพราะการจับใจความสาคัญ เป็นการทาความเข้าใจสารท่ีอ่าน ซึ่งนับว่ามีความสาคัญมาก เพราะ การเข้าใจสารท่ีถูกต้องจะนาไปสู่การวิเคราะห์ข้อมูลที่ถูกต้อง อันจะเป็นประโยชน์ในการนาความรู้ที่ ได้รับไปใช้ หรือตดั สนิ ใจในชวี ิตประจาวันได้อยา่ งเหมาะสม นอกจากนี้การอ่านจับใจความสาคัญเป็นพ้ืนฐานในการอ่าน ถือเปน็ การอ่านระดับต้น ก่อนที่ จะไปสู่การอ่านในระดับที่สูงขึ้น เช่น การอ่านวิเคราะห์ การอ่านตีความ และการอ่านอย่างมี วิจารณญาณ ซง่ึ จะกล่าวถงึ ในบทถัดไป ความหมายของการอ่านจบั ใจความสาคญั มผี ใู้ ห้ความหมายการอา่ นจับใจความสาคญั ดงั นี้ จติ ต์นิภา ศรีไสย์ (2549: 30) กล่าวว่า การอ่านจับใจความสาคัญ หมายถึง เมื่อผู้อ่านได้อ่าน เรื่องน้ันๆ แล้วสามารถจับประเด็นสาคัญของขอ้ ความที่กล่าวมาท้งั หมดได้อย่างสมบูรณ์ และโดยสรุป อย่างย่อๆ โดยรู้จักแยกแยะประเด็นสาคัญว่าอะไรเป็นประเด็นหลัก อะไรเป็นประเด็นรองลงมาได้ ถูกต้อง แล้วสามารถมีความคิดที่เป็นระบบ โดยนาข้อความมาเรียบเรียงต่อเนื่องกันได้โดยใช้ภาษา ของผ้จู ับใจความสาคญั เอง ผกาศรี เย็นบุตร (2542: 137) ให้ความหมายว่าการอ่านจับใจความ หมายถึง การอ่านเพ่ือ เก็บสาระสาคัญของเรื่องที่อ่าน เช่น เก็บจุดมุ่งหมายสาคัญของเรื่อง เก็บเนื้อเร่ือง เก็บแนวคิดหรือ ทัศนคติของผู้เขียน เก็บข้อเท็จจริงหรือความรู้สึก อารมณ์ของผู้เขียน เป็นต้น สาระสาคัญต่างๆ น้ี บางครั้งผู้อ่านก็สามารถจะเห็นได้ชัดเจนเพราะผู้เขียนบอกออกมาตรงๆ แต่บางครั้งผู้อ่านจะต้องใช้ ความสามารถเชงิ ตคี วาม หรอื การใชว้ ิจารณญาณ ตลอดจนประสบการณ์ชว่ ยจึงจะคน้ พบ พนิตนันท์ บุญพามี (2542: 77) กล่าวว่าการอ่านจับใจความ คือ การอ่านเพื่อจับประเด็น สาคัญๆ หรือเก็บสาระสาคัญในแต่ละย่อหน้า ความคิดสาคัญของเน้ือหามักจะปรากฏอยู่ท่ีประโยค แรกๆ ของแต่ละย่อหน้า เพราะโดยปกติการข้ึนย่อหน้าใหม่ หมายถึงการเปลี่ยนเรื่องพูด การอ่าน จับใจความเป็นทักษะท่ีต้องฝึกฝนด้วยการอ่านอย่างสม่าเสมอ จึงจะทาให้อ่านได้รวดเร็ว และจับใจความได้ถูกต้อง สมบัติ จาปาเงิน และสาเนียง มณีกาญจน์ (2548: 93 - 94) แสดงทัศนะว่าการอ่าน จับใจความเป็นการอ่านที่มีจุดมุ่งหมายเพ่ือให้สามารถจบั ใจความสาคัญในแตล่ ะย่อหนา้ หรือหลายๆ
22 ย่อหนา้ ได้อย่างรวดเร็วและแม่นยา ซึ่งใจความสาคญั ได้แก่ ขอ้ ความทีท่ าหน้าที่ครอบคลมุ ใจความของ ข้อความอ่ืนๆ ในตอนน้ันๆ ไว้ท้ังหมด ข้อความที่เหลือเป็นเพียงรายละเอียด หรือส่วนขยาย ใจความสาคัญเท่าน้ัน สุนันทา มั่นเศรษฐวิทย์ (2540: 88) ให้ความหมายของการอ่านจับใจความสาคัญว่า การอ่านในใจ 4 ลาดับขั้น คือ 1)การแปลความของสัญลักษณ์ท่ีปรากฏในสาร 2)การทาความเข้าใจ ความหมายของคา ประโยคและข้อความ 3)การจับใจความสาคัญและแนวคิดของผู้เขียน และ 4)กระบวนการคิดที่เกิดขึ้นขณะท่ีทาความเข้าใจสัญลักษณ์ โดยอธิบายว่าจากลาดับขั้นทั้ง 4 ผู้อ่าน ต้องทาความคุ้นเคยกับสัญลักษณ์ท่ีผู้เขียนได้กาหนดข้ึน ต่อจากน้ันผู้อ่านจะตอบสนองด้วยการทา ความเข้าใจความหมาย แล้วจึงใช้ความคิดของตนช่วยตัดสินในการเลือกใจความสาคัญของเร่ือง ในขั้นนี้ผู้อ่านจะทาความรู้จักความคิดของผู้เขียน โดยอาศัยการแปลความของภาษาที่ปรากฏเป็น สัญลักษณ์ มีลักษณะคล้ายกับเป็นการแปลความคิดของผู้เขียนมาสู่ความคิดของผู้อ่าน ซึ่งจะตรงกัน หรอื ไม่นั้นข้ึนอยู่กบั พ้ืนฐานทางภาษาของทัง้ สองฝา่ ย สาหรับข้ันสุดท้ายเป็นกระบวนการคิดของผู้อา่ น ในขณะที่ทาความเข้าใจสัญลกั ษณ์ผู้อ่านจะมีความคิดเกิดข้ึน โดยสรุปคือ การอ่านจับใจความเป็นการ เข้าใจความหมายของสัญลักษณ์หรือตัวอักษรที่ปรากฏทุกตัว ด้วยเหตุนี้การอ่านจับใจความสาคัญจึง เป็นกระบวนการที่เขา้ ใจความหมายของคา กลุ่มคา ประโยคและข้อความเปน็ ประการสาคัญ สรุปได้ว่าการอ่านจับใจความสาคัญ คือ การอ่านจับประเด็นหรือสาระสาคัญของสารที่อ่าน ซ่ึงวิธีการอ่านก็จะแตกต่างตามความยากของสาร อาทิ 1) ใจความสาคัญปรากฏชัดในย่อหน้า 2) ใจความสาคัญไม่ปรากฏชัดในย่อหน้าผู้อ่านต้องใช้การสรุปความด้วยภาษาของตนเอง และ 3) สารที่ต้องตีความเพราะผู้เขยี นไม่กลา่ วตรงๆ ต้องใช้ความสามารถในการตคี วามจึงจะเข้าใจสาระท่ี แท้จรงิ ในบทนี้ผู้เขียนจะกล่าวถึง การอ่านจับใจความสาคัญใน 2 รูปแบบ คือ 1)ใจความสาคัญ ปรากฏชดั ในย่อหน้า และ 2) ใจความสาคญั ด้วยการสรุปความ ส่วนการอ่านตคี วามจะกล่าวถึงในบท ถดั ไป ประเภทของการอา่ นจับใจความสาคัญ การอา่ นจบั ใจความสาคัญแบ่งออกเปน็ 2 ประเภท คอื 1) การจบั ใจความสาคัญทปี่ รากฏใน ย่อหนา้ และ 2)การจบั ใจความสาคญั ด้วยการสรุปความ ซ่ึงผูเ้ ขยี นจะได้อธบิ ายเพิม่ เติมดังตอ่ ไปนี้ 1. การจับใจความสาคัญท่ปี รากฏในยอ่ หนา้ 1.1 ส่วนประกอบของยอ่ หน้า จติ ต์นิภา ศรไี สย์ (2549: 30) กลา่ ววา่ ในแต่ละย่อหน้าจะมสี ่วนประกอบ ดงั นี้ 1.1.1 ใจความสาคัญหรือประเด็นหลัก หมายถึง ข้อความสาคัญท่ีสุดในแต่ละย่อ หน้าจะตัดข้อความสาคญั น้ันออกไม่ไดเ้ พราะจะไมไ่ ด้ความหมาย ขาดสว่ นสาคัญไป
23 1.1.2 ใจความรอง ประเด็นรอง หรือพลความ หมายถึง ข้อความสาคัญรองๆ ลงไป สามารถตดั ทิง้ ได้ไมท่ าให้ขอ้ ความในยอ่ หน้านัน้ เปลยี่ นความหมาย ในส่วนของใจความรอง ผู้เขียนใช้เป็นส่วนขยายประโยคใจความสาคัญ เป็นส่วน การสนับสนุนด้วยการยกตัวอย่าง เปรียบเทียบ ให้ข้อมูล ตัวเลข สถิติ ฯลฯ ซ่ึงช่วยให้เข้าใจ เนอ้ื เร่ือง 1.2 ตาแหน่งของใจความสาคญั ตาแหน่งของใจความสาคัญมี 3 ตาแหน่งดังน้ี 1)ประโยคตอนต้นย่อหน้า เป็นจุดที่ พบใจความสาคัญของเรื่องในแต่ละย่อหน้ามากที่สุด เพราะผู้เขียนมักบอกประเด็นสาคัญไว้ก่อน แล้วขยายรายละเอียดเพ่ือให้ชัดเจนในภายหลัง 2)ประโยคตอนท้ายย่อหน้า เป็นจุดท่ีพบใจความ สาคัญมากรองลงมาจากประโยคตอนต้นย่อหน้า โดยผู้เขียนจะบอกรายละเอียด หรอื ประเด็นย่อยมา กอ่ น แล้วสรุปด้วยประโยคท่ีเกบ็ ประเด็นสาคัญไว้ภายหลัง และ 3)ประโยคตอนกลางย่อหน้า เป็นจุด ทค่ี ้นพบใจความสาคัญได้ยากข้นึ เพราะผ้อู ่านต้องพิจารณาเปรียบเทียบให้ได้ว่า สาระสาคัญท่ีสุดอยู่ที่ ประโยคใด (แววมยุรา เหมือนนิล, 2541: 26-32) 1.3 ตัวอยา่ งการอา่ นจับใจความสาคัญท่ปี รากฏในย่อหนา้ 1.3.1 การอา่ นจับใจความสาคัญประโยคตอนตน้ ย่อหน้า “อะไรท่ียากไม่ใช่เพราะมันยาก แต่เพราะว่าเรายังไม่สามารถพิชิตมันได้ เมื่อไรก็ตามที่เราสามารถพิชิตได้ มันจะง่ายไปเสียทั้งหมด ฉะน้ันอะไรท่ีเห็นว่ายาก เพราะว่าเรายังให้เวลากับเขาน้อยไป เรียนรู้เขาน้อยไป เราต้องพัฒนา ต้องฝึกฝนไป เรอ่ื ยๆ แลว้ ในท่ีสดุ มันกจ็ ะง่ายสาหรบั เรา” (ว.วชริ เมธ,ี 2555: 9) ใจความสาคัญ คือ อะไรที่ยากไม่ใช่เพราะมันยาก แต่เพราะว่าเรายังไม่ สามารถพชิ ิตมนั ได้ “นอกจากจะได้ชื่อว่าเป็นราชาแห่งสีแล้ว ครามยังข้ึนชื่อว่ามีกระบวนการ ย้อมท่ียากที่สุดในโลกอีกด้วย เริ่มจากการเก็บครามแต่เช้ามืดเพ่ือให้ได้เน้ือครามมาก ใบทีพ่ รอ้ มเก็บนัน้ จะมหี ยดสีครามออกมาเรียกว่า ครามหยาด จากนั้นนามาหมักแชน่ ้า ให้เน่าเปื่อยแล้วแยกเอาส่วนของเน้ือสีออกมา โดยการตกตะกอนด้วยปูนขาวและ อากาศ ปล่อยให้ตะกอนนอนก้นแล้วจึงแยกส่วนท่ีเป็นน้าออก จะได้เน้ือครามเป็น ตะกอนข้นเหนียว” (BUA, 2557: 47) ใจความสาคัญ คือ นอกจากจะได้ช่ือว่าเป็นราชาแห่งสีแล้ว ครามยังข้ึนชื่อว่า มกี ระบวนการยอ้ มทย่ี ากทีส่ ดุ ในโลกอีกดว้ ย
24 1.3.2 การอา่ นจบั ใจความสาคัญประโยคตอนทา้ ยย่อหน้า “ชีวิตของเราทุกวันน้ีต้องแข่งกับเวลา ทาอะไรก็ต้องเร็ว ไม่เว้นแม้แต่ การกินลองถามตัวเองกันสักนิดว่า ในวันๆ หนึ่งเรากินอาหารครบ 5 หมู่กี่มื้อ เรากิน ข้าวซ้อมมือกินสมุนไพรไทยกันบ้างหรือเปล่า แน่นอนว่าส่วนใหญ่จะตอบว่าน้อยมาก เพราะชีวิตผูกติดอยู่กับอาหารฟาสต์ฟู้ดเอาเร็วเข้าว่า สุขภาพคนไทยจึงค่อยๆ ถดถ่อยลงไปทุกวัน SOOK IDEA ฉบับน้ีจึงอาสาพามารู้จักวิถีการกินอยู่อย่างไทยเพ่ือ สุขภาพดกี ันทกุ ครวั เรือน” (Kornkamol, 2557: 21) ใจความสาคัญ คือ SOOK IDEA ฉบับน้อี าสาพามารูจ้ ักวิถีการกินอยู่อย่างไทย เพ่ือสุขภาพดกี นั ทุกครวั เรือน “ขนมส่วนมากจะมีรสชาติเหมือนกันท้ังโลก ไอศกรีม ฝอยทอง ช็อกโกแลต ปักกิ่ง กูลิโกะ ท่านท่ีเลิกกินไปนานกลับตัวกลับใจมากินใหม่เด๋ียวน้ี เช่ือผม เราตอ้ งการความหวานจากขนม หลงั จากท่ีคณุ เจอความขมจากความเครียด” (อดุ ม แต้พานชิ , 2556: 70) ใจความสาคัญ คือ เราต้องการความหวานจากขนม หลังจากที่คุณเจอ ความขมจากความเครียด 1.3.3 การอ่านจับใจความสาคัญประโยคตอนกลางยอ่ หน้า (ตรวจการเคาะต่อ) “สาหรับ “ขนมจนี ” น้ัน แม้นักวชิ าการจะสนั นิษฐานวา่ อาหารเส้นทั้งหลาย ในโลกนี้จะมีต้นกาเนิดจากเมืองจีน แต่คาว่า ขนมจีน ในภาษาไทยนั้น ไม่ได้เก่ียวข้อง กับชนเผ่าพันธุ์มังกรแต่อย่างใด เนื่องจากคาน้ี เพ้ียนมาจากภาษามอญว่า “คะนอมเจอญ” หรอื “คนอมจิน” หมายถึง แปง้ ทถี่ ูกทาให้สุก และไมไ่ ด้มรี บั ประทาน กันแต่เพียงชาวมอญกับชาวไทย แต่ในกลุ่มชาติพันธ์ุอื่นๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อาทิ กัมพูชาก็ลิ้มรสอันโอชาของขนมจีนกันมาแสนนาน โดยเรียกว่า คนอมจิน เชน่ เดียวกบั มอญ” (สุจิตต์ วงษ์เทศ, 2556: 83) ใจความสาคัญ คือ คาว่า ขนมจีน ในภาษาไทยนั้น ไม่ได้เกี่ยวข้องกับ ชนเผ่าพันธุ์มังกรแต่อย่างใด เน่ืองจากคาน้ีเพ้ียนมาจากภาษามอญว่า “คะนอมเจอญ” หรือ “คนอมจนิ ”
25 “ยามเม่ือกระโจนเข้าสู่สนามแหง่ การต่อสู้ แน่นอนว่า เราทุกคนล้วนต้องการ ชัยชนะ สู้แล้วแพ้จะสู้ทาไม แต่การต่อสู้คร้ังนี้ต่างออกไป หากชัยชนะนั้นนามาซึ่ง การสูญเสยี เราจะประกาศชัยชนะบน คราบน้าตาของใครคนอน่ื ได้หรือไม่ จะไม่มที าง สิ้นสุดแค่เราถามตัวเองว่า อะไรคือถูก อะไรคือผิด อะไรคือดี อะไรคือช่ัว เราอยากให้ เด็กๆ ของเราเติบโตขึ้นมาในสังคมแบบไหน คาตอบมันง่ายๆ แค่นี้ ไม่ได้มีอะไร ซับซอ้ น” (พจมาน ศริ ริ งั สี, 2556: 6) ใจความสาคัญ คอื หากชยั ชนะน้ันนามาซึ่งการสญู เสยี เราจะประกาศชยั ชนะ บนคราบน้าตาของใครคนอ่นื ไดห้ รอื ไม่ นอกจากที่กล่าวมาข้างต้นแล้ว ตาแหน่งในการพบใจความสาคัญยังพบใน ตาแหน่งประโยคตอนต้นและตอนท้ายย่อหน้า ใจความสาคัญเช่นน้ีพบไม่บ่อยคร้ัง ผู้เขียนบอก ประเด็นสาคัญไว้ท่ีตอนต้นของย่อหน้า และเน้นสรุปใจความสาคัญอีกครั้งท่ีท้ายย่อหน้า ดังตัวอย่าง ต่อไปน้ี 1.3.4 การอ่านจับใจความสาคัญประโยคตอนต้นและประโยคตอนทา้ ยยอ่ หนา้ “คนท่ีไม่มีความสุข เพราะต้องเผชิญหน้ากับความทุกข์ และยังขาด กัลยาณมิตร เขาจะจมอยู่กับความทุกข์ และบางทีถูกความทุกข์ประดังประเด ถาโถมเข้ามาเล่นงาน จนกระท่ังแตกดับไปกับความทุกข์ แต่ถ้าเขามีกัลยาณมิตร คนที่คอยช้ีทิศนาทางให้เห็นคุณค่าของความสุขเขาก็พ้นทุกข์ได้ ฉะน้ัน ความทุกข์น้ัน จะประเสริฐก็ต่อเมือ่ เรามีกัลยาณมิตร “กัลยาณมติ ร” คอื คนที่คอยชี้ทิศนาทางใหเ้ รา เห็นว่าในทกุ ข์มีสขุ เสมอ” (ว.วชริ เมธ,ี 2555: 35) ใจความสาคัญตอนต้นคือ คนท่ีไม่มีความสุข เพราะต้องเผชิญหน้ากับ ความทุกข์และยังขาดกัลยาณมิตร เขาจะจมอยู่กับความทุกข์ และตอนท้ายคือ ความทุกข์นั้นจะ ประเสริฐก็ต่อเมื่อเรามีกัลยาณมติ ร “กัลยาณมิตร” คือ คนทคี่ อยช้ีทิศนาทางให้เราเห็นว่าในทุกขม์ ีสุข เสมอ “การมีวิสัยทัศน์ที่อิงอยู่กับศาสนธรรม หมายถึง การมีเป้าหมายอยู่ท่ี ความผาสุกทางจิตใจ มิใช่มุ่งแต่ความเจริญมั่งค่ังทางโภคทรัพย์ ท้ังนี้โดยตระหนักว่า ความสุขข้ันสูงสุดคืออิสรภาพทางจิตใจ การเปล่ียนแปลงทางสังคมต้องเป็นไปเพื่อให้ เกิดชีวิตที่ดีงามท้ังทางกายและใจ ไม่หยุดเพียงแค่อยู่ดีกินดีทางวัตถุ พร้อมกันนั้นก็ ช่วยให้ตระหนักถึงความเป็นเอกภาพของมนุษยชาติไม่แบ่งแยกเป็นฝักฝ่าย เห็นว่า มนษุ ยก์ ับธรรมชาติตอ้ งอยอู่ ย่างบรรสานสอดคล้อง” (อมรวิชช์ นาครทรรพ, 2548: 59)
26 ใจความสาคัญตอนต้นคือ การมีวิสัยทัศน์ที่อิงอยู่กับศาสนธรรม หมายถึง การมีเป้าหมายอยู่ท่ีความผาสุกทางจิตใจมิใช่มุ่งแต่ความเจริญม่ังคั่งทางโภคทรัพย์ และตอนท้ายคือ พร้อมกันนั้นก็ช่วยให้ตระหนักถึงความเป็นเอกภาพของมนุษยชาติไม่แบ่งแยกเป็นฝักฝ่าย เห็นว่า มนุษย์กบั ธรรมชาตติ อ้ งอยู่อย่างบรรสานสอดคล้อง การจับใจความสาคัญที่ปรากฏในย่อหน้าข้างต้นมักพบในงานเขียนเชิง วิชาการ เชน่ หนงั สอื เรยี น ตารา บทความวิชาการ และสารคดีเป็นตน้ 2. การจบั ใจความสาคญั ด้วยการสรุปความ 2.1 ลักษณะการอา่ นสรุปใจความ การจับใจความสาคัญด้วยการสรุปความซึ่งต่อไปน้ีจะเรียกว่า “การอ่านสรุปใจความ สาคัญ” มักพบในสารท่ีไม่ปรากฏประโยคใดอย่างชัดเจน อาจอยู่ในหลายประโยคหรืออยรู่ วมๆ ในย่อ หน้า ซ่ึงผู้อ่านจะต้องสรุปออกมาเอง นับเป็นใจความสาคัญที่ยากกว่าอย่างอ่ืน อาจจะใช้วิธีการตั้ง คาถามแล้วตอบตัวเองให้ได้ว่า ใคร ทาอะไร ท่ีไหน เมื่อไหร่ อย่างไร ทาไม ซึ่งจะทาให้มองเห็นส่วนท่ี เป็นประเด็นสาคัญ และส่วนท่ีเป็นประเด็นเสริม หรือการขยายความง่ายข้ึน (แววมยุรา เหมือนนิล, 2541: 28) 2.2 ตวั อย่างการอ่านสรปุ ใจความสาคญั “เมื่อกลางเดือนมีนาคมที่ผ่านมา เจ้าชายอัลวาลีด บิน ทาลาล แห่ง ซาอุดิอาระเบีย ทรงออกมาโต้เถียงกับนิตยสารฟอร์บส์เร่ืองท่ีพระองค์ทรงเห็นว่า มูลค่าทรัพย์สินของพระองค์ ในการจัดอันดับมหาเศรษฐีโลกนั้นไม่เป็นความจริง ถูกประเมินต่าไป โดยอยู่ท่ีแค่ประมาณ 6 แสนล้านบาท ทั้งท่ีจริงแล้วพระองค์มี ประมาณ 9 แสนล้านบาท นิตยสารฟอร์บส์ประเมินผิดพลาดไปถึง 3 แสนล้านบาท เลยทเี ดียว” (ภาวนา คนตรง และสุจติ รา สมแสง, 2556, 106) ตอบคาถาม ใคร เจ้าชายอลั วาลีด บนิ ทาลาล แหง่ ซาอดุ อิ าระเบยี ทาอะไร ทรงออกมาโตเ้ ถยี งกบั นติ ยสารฟอรบ์ ทาไม เพราะประเมนิ ทรัพย์สนิ ของพระองค์ตา่ กว่าความเป็นจริงถงึ 3 แสนล้าน บาท สรปุ ใจความสาคัญ เจ้าชายอัลวาลีด บิน ทาลาล แห่งซาอุดิอาระเบีย ทรงออกมาโต้เถียงกับนิตยสารฟอร์บ เร่ืองการประเมินทรพั ยส์ ินของพระองค์ ซึง่ ต่ากว่าความเปน็ จริงถงึ 3 แสนล้านบาท
27 “การแข่งขันในโลกธุรกิจมันแสนจะบีบค้ันชีวิตพนักงาน ไม่ว่าอยู่บริษัทไหน ลูกจ้างก็มีแต่จะถูกเรียกร้องให้เสียสละเพ่ือบริษัทมากขึ้น รับผิดชอบกันเยอะขึ้น มนุษยเ์ ราต้องสละเวลาทั้งหมดในชีวิตเพ่ือทางานหนักขนาดนจี้ ริงๆ เหรอ ผมล่ะสงสัย มีคนบอกว่าส่ิงท่ีผมเจอก็เหมือนกับที่อีกหลายคนเจอ มันเป็นเร่ืองธรรมดาจะตาย บริษัทต่างๆ สร้างข้ึนมาก็เพื่อทากาไร ไม่ได้สร้างขึ้นมาเพ่ือเป็นท่ีรวมตัวสาหรับให้ ความสขุ กับพนักงานซักหน่อยฉะนัน้ อยา่ ไรเ้ ดยี งสา” (ภานุมาศ ธนาทองกลุ , 2556: 38) ตอบคาถาม ใคร ผูเ้ ขียน (เป็นการแสดงความคดิ เหน็ ของผู้เขยี น) ทาอะไร แสดงความคิดเหน็ ในเรื่องชีวติ พนักงานบริษทั อย่างไร พนักงานจะถูกบรษิ ทั บบี คน้ั ใหเ้ สยี สละและรับผิดชอบมาก ทาไม เพราะบริษทั ถกู สรา้ งข้นึ มาเพ่อื ทากาไร สรุปใจความสาคัญ ผู้เขียนแสดงความคิดเห็นว่าชีวิตพนักงานบริษัทต้องถูกบีบค้ันให้เสียสละ และรับผิดชอบ มาก เพราะบรษิ ัทสร้างขึ้นเพ่อื ผลประโยชนท์ างธรุ กจิ คอื การสรา้ งกาไร การอ่านสรุปใจความด้วยวิธีการท่ีกล่าวข้างต้นใช้ในกรณีที่ไม่สามารถหาตาแ หน่งของ ใจความสาคัญในย่อหน้าได้ ผู้อ่านควรสรุปใจความสาคัญของสาร ด้วยการตอบคาถาม 5W1H คือ ใคร ทาอะไร ท่ีไหน เมื่อไหร่ อย่างไร และทาไม แล้วจึงนาคาตอบที่ไดม้ าจัดลาดับและเขียนเรียบเรียง โดยใชค้ าเชอื่ มท่เี หมาะสม หากผู้อ่านมีการฝึกฝนการสรุปใจความจนคุ้นเคยก็ไม่จาเป็นต้องแยกคาถาม 5W1H ออกเป็นข้อๆ เหมือนตัวอย่างข้างต้น แต่สามารถอ่านแล้วสรุปใจความสาคัญได้เลย เพียงแต่ผู้อ่าน พึงระลึกการใช้คาถามข้างต้นเพอื่ เปน็ แนวทางการอ่านสรปุ ใจความสาคัญให้ได้ใจความท่ีสมบูรณ์ และ โดยมากสารท่ีต้องใช้วิธีการอ่านสรุปใจความ ได้แก่ ข่าว เร่ืองเล่า นิทาน เร่ืองส้ัน และนวนิยาย เปน็ ตน้ เทคนิคการอ่านจับใจความสาคญั พนิตนันท์ บุญพามี (2542: 78-87) กล่าวถึงเทคนิคในการอ่านจับใจความสาคัญและ การอ่านจับใจความสาคัญในหนงั สอื ประเภทต่างๆ ไวด้ ังน้ี 1. ผู้อ่านควรเร่ิมต้นอ่านเพื่อจับใจความส่วนรวมก่อน โดยสารวจส่วนประกอบของหนังสือ อย่างคร่าวๆ ด้วยการพลิกดูและกวาดสายตาผ่านหัวข้อต่างๆ ทั้งใหญ่และย่อยในเวลาอันรวดเร็ว เพราะส่วนประกอบของหนังสือ เช่น ช่ือเร่ือง คานา สารบัญ และคาชี้แจง มักจะมีส่วนช่วยให้เข้าใจ เกีย่ วกับหนงั สอื ไดอ้ ย่างกว้างขวางและรวดเรว็
28 2. ผู้อ่านควรตั้งจุดมุ่งหมายในการอ่านให้ชัดเจน เพราะจะเป็นการกาหนดวิธีการอ่านให้ เหมาะสมและจับใจความสาคัญหรือหาคาตอบได้รวดเรว็ ย่งิ ขน้ึ 3. ผู้อ่านจะเป็นต้องมีความสามารถทางภาษา โดยเฉพาะการมีทักษะในการแปล ความหมายของคา ประโยค และข้อความต่างๆ หากไม่เข้าใจความหมายของคาแต่เริ่มต้นแล้ว ย่อมไม่มีโอกาสจับใจความสาคัญได้เลย ถ้าบางเรื่องที่มีคาศัพท์ยากๆ จึงต้องใช้พจนานุกรมค้นหา ความหมายประกอบ 4. ผู้อ่านท่ีมีประสบการณ์หรือภูมิหลังของเร่ืองที่อ่านจะสามารถทาความเข้าใจ และจับใจความเร่ืองที่อ่านได้ง่ายข้ึน เช่น ผู้อ่านที่เติบโตในครอบครัวของชาวไร่ชาวนา มีสังคม วัฒนธรรม และวิธีชีวิตในชนบท ย่อมจับใจความสาคัญเร่ืองท่ีเกี่ยวกับชีวิตของคนชนบทได้ลึกซึ้งกว่า คนท่ีอยู่ในเมือง ดังน้ันการอ่านหนังสือบางประเภทผู้อ่านจึงจาเป็นต้องหาประสบการณ์หรือภูมิหลัง เก่ยี วกบั เรอ่ื งที่อ่านเพือ่ จะทาให้เข้าใจเรื่องไดด้ ียิ่งขนึ้ 5. ความเข้าใจลักษณะของหนังสือ หนังสือแต่ละประเภทมีรูปแบบการแต่งและเป้าหมาย ของเร่ืองที่แตกต่างกัน เช่น หนังสือสารคดี ประเภทตารา ข่าว และบทความ เป็นเร่ืองจริงท่ีมุ่งให้ ความรู้ ซึ่งสามารถจับใจความสาคัญได้ง่าย ในขณะที่หนังสือบันเทิงคดี ประเภท เรื่องส้ัน นวนิยาย มีกลวิธีการแต่งท่ีซับซ้อนจับใจความได้อย่าง ดังน้ันผู้อ่านจึงต้องรู้รูปแบบและกลวิธีของหนังสือแต่ละ ประเภท ก็จะทาให้มแี นวทางในการอ่านจบั ใจความสาคญั ได้ง่ายย่งิ ข้ึน 6. ใจความสาคัญมีเพียงหนึ่งถึงสองประโยคในแต่ละย่อหน้า ถ้าเร่ืองหน่ึงมีหลายย่อหน้า ยอ่ มแสดงว่ามีใจความสาคัญหลายประเด็น เมื่อนาประเด็นสาคัญในแต่ละย่อหน้ามาพิจารณาร่วมกัน แล้วจะทาให้สามารถจบั แกน่ ของเรอื่ ง หรือแนวคิดสาคญั ท่ีสุดของเรอ่ื งได้ 7. ใจความสาคัญมักพบที่ประโยคตอนต้นย่อหน้า ซึ่งเป็นจุดที่พบได้มากที่สุดเพราะผู้เขียน จะบอกประเดน็ สาคัญก่อนแล้วขยายรายละเอยี ดให้ชัดเจนขึ้นในภายหลัง บางคร้ังกพ็ บใจความสาคัญ ทีป่ ระโยคตอนทา้ ยย่อหน้า บางครง้ั อยู่ตอนกลางของย่อหนา้ แต่บางย่อหน้าผู้อ่านต้องสรุปเอง โดยใช้ วิธตี ัง้ คาถามแลว้ ตอบตัวเองว่า ใคร ทาอะไร ท่ไี หน เมอ่ื ไหร่ อย่างไร และทาไม 8. ผูอ้ ่านสามารถจับใจความสาคัญด้วยการตัดประโยคหรือข้อความที่เป็นพลความหรือสว่ น ขยายออกจากยอ่ หนา้ ส่วนท่ตี ัดออก ไดแ้ ก่ สว่ นขยายหรือรายละเอยี ด ข้อความเปรียบเทียบ ตัวอยา่ ง ประกอบในย่อหน้า คาศัพท์ สานวน โวหาร อุปมาอุปมัย ตัวเลข สถิติ วันเดือนปี คาถามและ คาอธบิ ายของผูเ้ ขียน ชอื่ บุคคลท่ผี ้เู ขียนอา้ งอิงโดยไมเ่ นน้ ความสาคัญ 9. ผู้อ่านควรใช้สายตากวาดจับเพื่อการสรุปความ โดยกวางสายตาไล่ตามบรรทัดไม่ควร ย้อนกลับวนไปมา บางครั้งผู้อ่านอาจสารวจดูเน้ือความคร่าวๆ เพ่ือทาความเข้าใจโดยอ่านจาก ยอ่ หนา้ นาเรื่อง บทสรุป ดูแผนภมู ิ ภาพประกอบ ตาราง หรือหวั ขอ้ ท่พี มิ พ์ด้วยตัวใหญก่ ็ได้ 10. เก็บใจความสาคัญด้วยการขีดเส้นใต้ หรือตเี สน้ รอบกรอบขอ้ ความสาคัญ หรอื ใช้ปากกา สีเพ่ือบอกความสาคัญมากหรือนอ้ ยของข้อความ
29 11. หลังจากอ่านจับใจความแล้ว ผู้อ่านควรสรุปความด้วยสานวนภาษาของตนเอง และรา่ งเปน็ ขอ้ ความหรือทาบันทกึ ยอ่ เทคนิคการจบั ใจความสาคัญข้างต้นไดก้ ลา่ วรวมถึงการจับใจความสาคัญจากงานเขยี น ประเภทต่างๆ ท้ังที่สามารถหาใจความสาคัญที่ปรากฏชัดในย่อหน้า ด้วยการสรุปใจความ และการสรุปแนวคิดหรือสาระสาคัญที่ต้องผ่านการตีความ อย่างไรก็ตามความเข้าใจในรูปแบบของ งานเขียน ความเข้าใจในองค์ประกอบของหนังสือ ความสามารถในการอ่านเร็ว และการบันทึก สาระสาคญั ด้วยภาษาของตนเอง ก็จดั เปน็ พนื้ ฐานที่จะทาใหผ้ ู้อา่ นสามารถจับใจความสาคญั ไดด้ ี สรุป การอ่านจับใจความสาคัญโดยเฉพาะบทอ่านที่ไม่ต้องอาศัยการตีความมากนัก มักทาได้โดย การจับใจความสาคัญที่ปรากฏในย่อหน้าและการจับใจความสาคัญด้วยการสรุปความ ใจความสาคัญ ที่ปรากฏในย่อหน้าอาจพบในตอนต้นของย่อหน้า ตอนท้ายของย่อหน้า ตอนกลางของย่อหน้า หรือมี ท้ังตอนต้นและตอนท้ายของย่อหน้า งานเขียนประเภทท่ีพบการวางใจความสาคัญเช่นน้ีมักเป็นงาน เขียนประเภทให้ความรู้ เช่น หนังสือ ตาราเรียน และสารคดี แต่หากเปน็ การอ่านข่าว นิทาน เร่ืองส้ัน หรือบางคร้ังอาจพบในงานเขียนสารคดีท่ีเล่าเรื่องราวการเดินทางของผู้เขียน ดังน้ีผู้อ่านก็สามารถจับ ใจความสาคัญด้วยการสรุปใจความจากการตอบคาถาม 5W1H แล้วนามาเรียบเรียงจัดลาดับด้วย คาเชื่อมท่ีเหมาะสม ท้ังนี้การจับใจความสาคัญถือเป็นการอ่านในใจระดับแรกท่ีผู้อ่านพึงทาได้ เพราะ เป็นการเก็บข้อมูลอันเป็นข้อเท็จจริงจากการอ่าน หากไม่เข้าใจเน้ือหาสาระของบทอ่านก็จะไม่ สามารถอา่ นวเิ คราะหใ์ นขั้นทีส่ งู ขนึ้ ไปได้
30 คาถามทา้ ยบทท่ี 2 การอ่านจบั ใจความสาคญั ตอนที่ 1 คาช้แี จง จงตอบคาถามตอ่ ไปนี้ 1. การอ่านจบั ใจความสาคญั คืออะไร 2. ตาแหน่งท่ีพบใจความสาคัญในย่อหน้า มีตาแหน่งใดบ้าง และตาแหน่งท่ีพบใจความสาคัญ มากท่ีสดุ คอื ตาแหนง่ ใด 3. สาร (บทอ่าน) ท่สี ามารถหาตาแหนง่ ของใจความสาคญั ได้ มักเป็นสารประเภทใด 4. วิธีในการอา่ นเพ่ือสรปุ ใจความสาคัญเปน็ อย่างไร ตอนท่ี 2 คาชีแ้ จง จงจบั ใจความสาคญั บทอ่านต่อไปนี้ 1. เมื่อมีปญั หาสุขภาพจิต จึงมีผู้ป่วยหลายรายที่เลือกหันหน้าเขา้ หาส่ิงยึดเหน่ียวทางจิตใจ ด้วย การยึดหลักคาสอนทางศาสนา เพ่ือช่วยทาให้จิตใจเกิดความเข้มแข็ง สามารถยอมรับความจริงท่ี เกิดขึ้น ต่อมาแวดวงจิตแพทย์จึงได้เริ่มนาหลักพุทธธรรมมาใช้ในการบาบัดจิตใจให้กับผู้ที่กาลังเผชิญ ปญั หาสขุ ภาพจิตหรือที่เรยี กวา่ “ธรรมะบาบดั ” (นรภี พ สวัสดริ ักษ.์ (บรรณาธิการ), 2557: 47) 2. ผมมองว่าการกีฬาเป็นกิจกรรมส่วนหนึ่งของชีวิตมนุษย์มาต้ังแต่คร้ังอดีต เร่ิมมาตั้งแต่ ยุคโรมัน ขณะนั้นกีฬาถูกใช้เพ่ือวัดความแข็งแกร่งของร่างกายเป็นหลัก เนื่องจากมนุษย์ในอดีตน้ันมี การปรบั รูปแบบการใช้ชีวติ เหมือนกบั สัตว์อ่ืนๆ ยกตัวอย่างเชน่ เสือ หากเป็นเสือ 2 ตวั กาลังต่อสเู้ พ่ือ แย่งอาหารหรือท่ีอยู่อาศัยกัน เสือตัวที่มีขนาดใหญ่กว่าและมีพละกาลังมากกว่าก็จะเป็นฝ่ายชนะและ ครอบครองทั้งอาหาร และที่อยู่อาศัย ความแข็งแกร่งทางร่ายกายตามธรรมชาติจึงถือเป็นตัวชี้วัด อานาจของมนุษย์ในอดีต (วิกรม กรมดิษฐ,์ 2551: 25) 3. เวลาที่คุณคุยเรื่องความยากลาบากทางการเงิน ความสัมพันธ์ท่ีย่าแย่ ความเจ็บป่วย หรือ แม้แต่เรื่องธุรกิจที่ผลกาไรลดลง คุณไม่ได้พูดถึงส่ิงท่ีคุณรัก เวลาท่ีคุณพูดถึงข่าวร้ายในหน้า หนังสือพมิ พ์ พูดถึงบุคคลหรอื สถานการณ์ที่ก่อความหงุดหงิดราคาญให้คุณ คุณไม่ไดพ้ ูดถึงสิ่งท่ีคณุ รัก การบ่นเรื่องวันร้ายๆ ของคุณ การไปไม่ทันนัด รถติด หรือพลาดรถเมล์ ก็เป็นการพูดถึงสิ่งที่คุณไม่รัก ในแต่ละวันมีเร่ืองเล็กๆ น้อยๆ เกิดขึ้นมากมายเหลือเกิน ถ้าคุณมัวพูดถึงส่ิงที่คุณไม่รักไม่ชอบ เรือ่ งเล็กๆ น้อยๆ พวกนน้ั ก็จะนาพาความหงุดหงดิ ลาเคญ็ มาสู่ชวี ิตคณุ มากขนึ้ อีก (รอนดา เบิรน์ , 2554: 18)
31 4. ทุกวันน้ีหากมีใครสักคนต้ังคาถามกับผู้เขียนว่า ชีวิตคนในสยามประเทศเม่ือสองร้อยปีท่ีผ่าน มาเป็นเช่นไร ผู้เขียนก็คงจะให้คาตอบแก่เขาไปว่า คุณก็ลองอ่านงานนิราศทั้งเก้าเร่ืองของสุนทรภู่ดู แล้วก็จะทราบว่าชาวสยามเม่ือสองร้อยปีก่อนดาเนินชีวิตกันอยา่ งไร แต่อย่างไรก็ดี หากอีกสองร้อยปี ข้างหน้า มีใครตั้งคาถามกันข้ึนใหม่ว่า เราจะเข้าใจความคิดคนในต้นศตวรรษท่ี 21 กันได้อย่างไร ถา้ ผู้เขียนยังมีชวี ิตอยู่ตราบถึงวันนัน้ แล้วก็คงตอบเขาไปว่า คุณก็ลองเอางานโฆษณาโทรทัศน์ท่ีผลิตใน ช่วงเวลาดังกล่าวมานง่ั ศึกษาดู แล้วคุณก็จะเหน็ เองวา่ คนไทยในห้วงเวลานั้นเขาใช้ชีวติ กนั เย่ยี งไร (อมรรตั น์ ทิพยเ์ ลศิ . (บรรณาธิการ), 2549: 116) 5. ในอดีตไร่ข้าวเปรียบเสมือนระบบการผลิตหลักของชาวบ้าน แต่การทาไร่ข้าวให้ผลผลิตไม่ เพียงพอต่อการบริโภคตลอดท้ังปี ดังนั้น การหาปลาจึงมีบทบาทสาคัญทั้งการเป็นแหล่งอาหาร และการแลกเปลี่ยน คนปากอิงมักพดู ถึงการหาปลาในเชิงอุปมาอุปไมยว่า “การหาปลาเปรียบเสมือน เป็นการทานาข้าวสาร” หมายถึง การนาปลาที่จับได้ไปแลกข้าวโดยไม่ต้องทานาน่ันเอง และแลก ข้าวสารได้โดยไม่ต้องเสียเวลาตาข้าวเหมือนข้าวเปลือก กระนั้นก็ตามปลาไม่ได้แลกเพียงข้าวเท่าน้ัน ทว่าสามารถแลกเปล่ียนได้ท้ังเครื่องอุปโภค-บริโภค รวมถึงการหาปลายังสร้างสุนทรียภาพ ความสุข สนุกเพลิดเพลนิ ใหก้ บั คนหาปลาดว้ ย (วิเชยี ร อันประเสริฐ, 2552: 141) 6. เร่อื ง นาทีแห่งความเฉียด หลังจากชักชวนกันท่องเที่ยวในประเทศมาหลายจังหวัดหลายแห่งแล้ว คณุ หญิงอิสริยาภรณ์ ปัญจมานนท์ กับกลุ่มเพ่ือนสนิท 7 คน ก็เปล่ียนบรรยากาศด้วยการไปท่องเท่ียวต่างประเทศกันบ้าง ทริปแรกได้ไปไกลถึงยโุ รปตะวันออกนาน 8 วัน 3 วันแรกคณุ หญิงปุ๋ยก็สนุกสนานเตม็ ที่ ในวันท่สี ่ีของ การเดินทางจากเยอรมนไี ปยงั กรุงปร๊าก คุณหญงิ มีอาการไม่สบาย หลังจากรับประทานยาลดความดัน แล้ว ก็รู้สึกอยากนอนพัก เม่ือถึงจุดท่ีพักระหว่างทาง เพ่ือนๆ อยากเข้าห้องน้าและยืดเส้นยืดสาย จึงให้คนขับรถแวะจอด ดว้ ยฤทธิ์ยาคุณหญิงรู้สึกอยากนอนพกั มากกวา่ เข้าห้องน้า จึงขอนอนรอในรถ ขณะกาลังสะลึมสะลือหลับๆ ต่ืนๆ ก็ได้ยินเสียงแกร๊ก พอลืมตาข้ึนมาดูปรากฏว่ารถถูกล็อคสนิท ทั้งประตูและหน้าต่าง ร้สู ึกตกใจมาก แต่ก็คิดวา่ สักพักคนขบั รถน่าจะกลับมาเปดิ เพราะรู้วา่ มผี ู้โดยสาร อยู่ในรถ ผ่านไปครู่ใหญ่ก็ยังไม่มา คุณหญิงปุ๋ยเริ่มรู้สึกอึกอัด กระสับกระส่ายหายใจไม่ออก และมี อาการหูดับ เน่ืองจากขาดอากาศ จึงตัดสินใจใช้ร่มทุบกระจก ก็ไม่มีใครได้ยิน บังเอิญเหลือบเห็น คู่สามีภรรยาฝร่ังถอยรถท่ีจอดอยู่ติดกัน จึงส่งสัญญาณขอความช่วยเหลือ เขากลับหันมายักไหล่ให้ แล้วขับรถออกไปหน้าตาเฉย คุณหญิงปุ๋ยเร่ิมส้ินหวัง นกึ ว่าไม่รอดแน่ จึงได้แต่กุมพระสมเด็จนางพญา ท่ีห้อยคอ อธิษฐานขอให้ท่านช่วย ก่อนจะถอดใจ ก็มองไปเห็นคุณหมอพิมสวาท หัวหน้ากลุ่มทัวร์ยืน ชมวิวอยู่ คุณหญิงจึงโบกมือส่งสัญญาณอีกที ด้วยคุณพระช่วย คุณหมอหันมาเห็นพอดี จึงรีบไปเรียก คนขับรถมาเปดิ ประตู เม่ือประตูรถเปดิ ออก คุณหญิงก็อ่อนระทวยหมดสติฟุบลง หลงั จากระดมยาดม
32 ยาหม่อง ยาหอม พักใหญ่จึงฟ้ืนแต่ก็รู้สึกผวากลัวจนอยากกลับบ้าน ในเมื่อโปรแกรมทัวร์ยังไม่จบ จึงตอ้ งท่องเท่ียวต่อไป แต่ขอเป็นคนแรกท่ีลงจากรถทุกครั้งที่รถจอด กลับมาถงึ กรุงเทพฯ คุณหญิงปุ๋ย รบี ไปทาบุญครั้งใหญ่ ใส่บาตรและถวายสังฆทาน ที่สาคัญคือต้องเก็บชุดสีแดงให้มิดชิดหมดเพ่ือจะได้ ไม่เห็นและเก็บไปฝัน เพราะทุกคร้ังที่ฝันว่าใส่เส้ือแดงคุณหญิงจะต้องมีเหตุร้ายและเจ็บป่วยทุกที คราวนีฝ้ นั ใส่เป็นชดุ กเ็ ลยเฉียดแบบน้ีละคะ่ (อรราไพ, 2557: 9)
33 เอกสารอ้างองิ จิตตน์ ิภา ศรีไสย์. (2549). ภาษาไทยเพอื่ พฒั นาคณุ ภาพชีวติ . กรงุ เทพฯ: คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . นรีภพ สวสั ดิรักษ์. (บรรณาธกิ าร.). (2557). ดแู ลรกั ษาผปู้ ่วยดว้ ยธรรมะบาบดั . สกลุ ไทย, 60(3130), 47. ผกาศรี เยน็ บตุ ร. (2542). การอ่าน. กรงุ เทพฯ: ภาควิชาภาษาไทยและภาษาตะวันออก คณะมนษุ ยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศรีนครนิ ทรวิโรฒ. พจมาน ศริ ริ งั ส.ี (2556). Editor’s Talk. FOOD of life, 5(60), 6. พนติ นันท์ บุญพามี. (2542). เทคนคิ การอา่ นเบื้องตน้ . นครราชสีมา: สถาบันราชภัฏนครราชสีมา. ภาณมุ าศ ธนาทองกลุ . (2556). การลาออกคร้ังสดุ ท้าย. พิมพ์ครั้งท่ี 25. กรุงเทพฯ: อะบุ๊ก. ภาวนา คนตรง และสุจิตรา สมแสง. (2556). พระราชวงั ลอยฟ้า 15,000 ลา้ นบาท ของเจ้าชายอลั วา ลดี บนิ ทาลาล. คู่สร้าง คสู่ ม, 34 (793), 106. รอนดา เบริ น์ . 2554. เดอะ พาวเวอร์. กรงุ เทพ: อมรินทร์. ว.วชริ เมธ.ี (2555). 9 เรื่องเพ่ือความก้าวหนา้ . นนทบรุ ี: ปราณ. วกิ รม กรมดิษฐ.์ (2551). มองซีอโี อโลก. กรุงเทพฯ: โพสต์ทูเดย์. วเิ ชียร อนั ประเสรฐิ . (2552). แม่นา้ แหง่ ชีวิต. เชยี งใหม่: คณะสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม.่ แววมยรุ า เหมอื นนลิ . (2541). การอ่านจับใจความ. กรงุ เทพฯ: สุวีรยาสาส์น. สมบตั ิ จาปาเงิน และสาเนยี ง มณกี าญจน.์ (2548). กลเมด็ การอ่านให้เกง่ . พิมพ์ครง้ั ท่ี 3. กรงุ เทพฯ: สถาพรบคุ๊ ส.์ สจุ ิตต์ วงษเ์ ทศ. (2556). ขา้ วตังเม่ยี งลาว VS ขนมจนี น้าพริก. FOOD of life, 5(60), 83. สนุ นั ทา มนั่ เศรษฐวิทย์. (2540). หลกั และวิธีสอนอา่ นภาษาไทย. พมิ พ์ครัง้ ที่ 3. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานชิ . อมรรตั น์ ทิพย์เลิศ. (บรรณาธิการ). (2549). เปิดประตูสกู่ ารรู้เท่าทันส่ือ แนวคิดทฤษฎีและ ประสบการณ์การรู้เท่าทันสื่อเพือ่ สุขภาพ. นนทบุรี: โครงการส่อื สร้างสรรคส์ ุขภาพ. อมรวชิ ช์ นาครทรรพ. (2548). เด็กไทยในมิติวฒั นธรรม. พิมพ์ครงั้ ท่ี 3. กรุงเทพฯ: องคก์ รสงเคราะห์ ทหารผา่ นศกึ . อรราไพ. (2557). นาทีแหง่ ความเฉยี ด. สกลุ ไทย, 60(3130), 9. อดุ ม แต้พานิช. (2556). หนงั สอื โป๊. พิมพค์ รัง้ ท่ี 29. กรงุ เทพฯ: ออฟเซ็ท พลัส. BUA. (2557). คราม...สธี รรมชาติจากภูมปิ ญั ญา. SOOK, ม.ป.ป.(17), 47. Kornkamol. (2557). กินอยู่แบบไทย. SOOK, ม.ป.ป.(17), 21.
35 แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 3 การอ่านวเิ คราะห์ เวลาเรยี น 9 ช่ัวโมง เนื้อหา 1. ความหมายของการอา่ นวเิ คราะห์ 2. หลักการอา่ นวิเคราะห์ 3. ประเด็นท่ใี ช้ในการอ่านวิเคราะห์ 3.1 พจิ ารณารปู แบบของงานเขยี น 3.2 พจิ ารณาเนื้อเรอ่ื ง 3.3 พจิ ารณาจุดประสงค์ของผู้เขียน 3.4 พจิ ารณาประวัติของผ้เู ขียน วัตถุประสงค์เชงิ พฤติกรรม หลังจากศกึ ษาบทเรยี นน้ีแลว้ นักศกึ ษาควรมีพฤติกรรมดงั น้ี 1. บอกความหมายและหลักการอ่านวิเคราะห์ได้ 2. อา่ นแล้วสามารถวิเคราะหร์ ูปแบบของงานเขียน เนื้อหา จุดประสงคข์ องผู้เขียน และประวตั ิ ของผเู้ ขยี นทีส่ ง่ ผลต่อความน่าเชอื่ ถอื ของสิ่งทอี่ ่านได้ วธิ กี ารสอนและกิจกรรม กิจกรรมการเรยี นการสอนในบทที่ 3 การอา่ นวเิ คราะห์ มดี ังน้ี 1. ทดสอบพ้ืนฐานด้วยการให้ผู้เรียนวิเคราะห์น้าเสียง และจุดประสงค์ของผู้เขียน ถาม ความสา้ คัญของการวิเคราะห์เร่ืองดังกลา่ วเพ่ือเชอื่ มโยงสบู่ ทเรยี น 2. ผู้สอนบรรยายความรูใ้ นบทท่ี 3 เรื่อง การอา่ นวิเคราะห์ ประกอบสไลดน์ า้ เสนอความรู้ 3. ฝึกทักษะการอ่านวิเคราะห์ด้วยแบบฝึกการอ่านวิเคราะห์ อาทิ วิเคราะห์ภาษา รูปแบบ รสของงานเขียน จุดประสงค์ของผู้เขียน น้าเสียงของผู้เขียน และเน้ือเร่ือง (ใช้บทอ่านขนาดสั้น หรือ ตัดทอนมาเฉพาะตอนทจ่ี า้ เปน็ ) 4. ผู้เรียนอ่านวิเคราะห์บทอ่านท่ีได้รับมอบหมาย อภิปรายค้าตอบกันในกลุ่ม แล้วน้าเสนอ ผลการวเิ คราะหข์ องกลุ่ม 5. ผู้สอนก้าหนดประเภทงานเขียนแล้วให้ผู้เรียนเลือกเรื่องท่ีสนใจเพ่ือน้าไปวิเคราะห์รูปแบบ เนื้อเร่ือง จุดประสงค์ของผู้เขียน และประวัติของผู้เขียน แล้วน้าเสนอหน้าช้ันเรียนประกอบสไลด์ น้าเสนอ (กจิ กรรมกลุ่มศึกษานอกเวลาเรยี น กล่มุ ละ 4-5 คน) 6. ผูเ้ รียนสรปุ ความรูท้ ีไ่ ดร้ ับ
36 สอ่ื การเรยี นการสอน 1. สไลดน์ ้าเสนอความรู้ดว้ ย Microsoft Power Point “บทท่ี 3 การอ่านวเิ คราะห์” 2. เอกสารประกอบการสอนวชิ า การพฒั นาทักษะการอ่าน 3. แบบฝึก 4. บทอา่ น การวัดผลและการประเมนิ ผล 1. สงั เกตพฤตกิ รรมการน้าเสนองานกลมุ่ 2. ตรวจแบบฝึก
37 บทท่ี 3 การอ่านวเิ คราะห์ การทาความเข้าใจสิ่งที่อ่านอย่างลึกซ้ึงโดยมองในหลากหลายองค์ประกอบของส่ิงที่อ่านเพ่ือ พิจารณาถึงความน่าเชื่อถือและประโยชน์ท่ีจะนาไปใช้นับเป็นสิ่งที่ผู้อ่านพึงกระทา ดังเช่น ทิพย์สุเนตร อนัมบุตร (2554: 8) ได้กล่าวถึงการอ่านวิเคราะห์ไว้ว่า การอ่านวิเคราะห์เป็นการอ่าน พิจารณาองค์ประกอบตา่ งๆ ของสารอย่างถถ่ี ้วนเพอื่ รบั อรรถรสจากสารอยา่ งครบถ้วน การอ่านวิเคราะห์จึงมีความสาคัญกับชีวิตประจาวันในลักษณะท่ีใช้เพ่ือการศึกษาทา ความเข้าใจอย่างละเอียด ถ่องแท้ เป็นส่ิงจาเป็นท่ีต้องสร้างเสริมให้เกิดเป็นทักษะหนึ่งของชีวิต เพ่ือคนเราจะได้ใช้ชีวิตอย่างมีความเข้าใจและเข้าถึงวิถีแห่งคุณค่า ท้ังสามารถป้องกันและแก้ปัญหา ต่างๆ ไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ (ศวิ กานท์ ปทุมสตู ิ, 2553: 83) ความหมายของการอ่านวเิ คราะห์ มีผใู้ หค้ วามหมายของการอ่านวเิ คราะห์ไวด้ งั นี้ จิตต์นิภา ศรีไสย์ (2549: 40) กล่าวว่าการอ่านวิเคราะห์ หมายถึง การอ่านหลายๆ ครั้ง อย่างไตร่ตรอง พิจารณาอย่างถ่ีถ้วน สามารถแยกแยะข้อความออกได้เป็น ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น และสามารถสรปุ ไดว้ า่ สิ่งใดเปน็ วิชาการและสิ่งใดเปน็ การแสดงทรรศนะของผ้เู ขียน ผกาศรี เย็นบุตร (2542: 209) ให้ความหมายของการอ่านวิเคราะห์ว่า หมายถึง ความสามารถในการพินิจพิจารณาเรื่องราวอย่างถ่ีถ้วน สามารถแยกแยะเรื่องราวออกเป็นส่วนๆ ตามประเภทของงานเขียนนั้นๆ ผ้อู ่านจะต้องไตร่ตรองหาเหตุผล ส่วนดีหรือส่วนบกพร่องและสามารถ สรุปออกมาได้ ลนิ จง จนั ทรวราทติ ย์ (2542: 56) กล่าววา่ การอ่านวิเคราะห์ หมายถงึ การอา่ นอยา่ งละเอยี ด ถี่ถ้วนเพื่อให้ได้ความหมายบริบูรณ์แล้วจึงแยกแยะออกเป็นส่วนๆ ว่า ส่วนต่างๆ นั้นมีความหมาย และความสาคญั อย่างไรบา้ ง และแต่ละสว่ นมคี วามสัมพนั ธก์ บั สว่ นอ่นื ๆ อย่างไร สมบัติ จาปาเงิน และสาเนียง มณีกาญจน์ (2548: 100) ให้นิยามคาว่าการวิเคราะห์ว่า หมายถึง แยกออกเป็นส่วนๆ เพื่อพจิ ารณาอย่างถ่ีถ้วน เมื่อนามารวมกับคาว่า อ่าน การอา่ นวิเคราะห์ จึงหมายถงึ การอา่ นเพอ่ื พิจารณาอยา่ งถถี่ ว้ น
38 จากการให้ความหมายข้างต้นนักวิชาการล้วนมีความคิดเห็นไปในแนวทางเดียวกัน สามารถ สรปุ ได้วา่ การอ่านวิเคราะห์ เป็นการอ่านทผี่ ูอ้ ่านตอ้ งแยกวเิ คราะห์สงิ่ ท่ีอา่ นเป็นสว่ นๆ อย่างใคร่ครวญ การพิจารณาออกเป็นส่วนๆ อาจหมายความถึง การอ่านเพ่ือสังเกตในเร่ืองการใช้ภาษา จุดประสงค์ ของผู้เขียน น้าเสียงหรืออารมณ์ของผู้เขียน รวมถึงสาระและแนวคิดจากเร่ืองที่อ่านน้ัน ผู้อ่าน วเิ คราะห์ตอ้ งอ่านด้วยความระมัดระวงั และควรจะอ่านซา้ เพ่ือเกบ็ รายละเอยี ดใหค้ รบถว้ น หลกั การอา่ นวเิ คราะห์ ฐะปะนีย์ นาครทรรพ (2528: 572) แสดงความคิดเห็นในการอ่านวิเคราะห์ว่าการวิเคราะห์ สาร เร่ิมด้วยการพิจารณารูปแบบของงานเขียนว่า เป็นประเภทใด เช่น บทความ จดหมาย บันทึก นวนิยาย เรื่องส้ัน ร้อยกรองประเภทต่างๆ ฯลฯ แล้วจึงพิจารณาเนื้อเร่ืองของงานเขียนประเภทน้ันๆ เช่น ถ้าจะพิจารณาเร่ืองส้ันก็พจิ ารณาเปน็ ส่วนๆ ให้เหน็ พฤติกรรมของบุคคลในเรื่อง ฉาก และเวลาท่ี เรื่องราวน้ันๆ เกิดขึ้น ต่อไปก็แยกพิจารณาแต่ละส่วนประกอบกันอย่างไร ข้ันสุดท้ายพิจารณาว่า ผู้เขียนใช้กลวิธีอย่างไรในการเขียนหรือประพันธ์เรื่ องน้ันๆ นอกจากน้ีควรพิจารณา การใช้ถ้อยคาสานวนหรือการใช้ภาษาว่าเหมาะสมกับระดับและประเภทของงานเขียนน้ันๆ หรือไม่ เช่น ในสารคดีบางเรื่องผู้เขียนใช้ภาษาพูดแบบกันเองในการบรรยายเร่ืองราวหรือพรรณนาส่ิงหนึ่ง สิ่งใดทาให้เห็นภาพตามไปด้วย ทาให้ผู้อ่านรู้สึกคุ้นเคยกับผู้เขียน และอ่านได้อย่างเพลิดเพลิน แต่ในบางกรณีก็อาจเปล่ียนสานวนภาษาเป็นทางการไปก็ได้ ถ้าต้องการให้ข้อความหนักแน่น น่าเชื่อถือ พนิตนันท์ บุญพามี (2542: 105-110) แสดงความเห็นว่าการวิเคราะห์สามารถพิจารณาได้ หลายส่วนประกอบด้วยการวิเคราะห์ คา ประโยค ทัศนะของผู้แตง่ และรสของวรรณกรรมซึ่งอธิบาย ไว้ดงั นี้ 1. การวเิ คราะห์คา การอ่านวิเคราะห์คามีจุดมุ่งหมายเพ่ือให้ผู้อ่านรู้จักแยกแยะถ้อยคาเป็นวลี ประโยค หรือข้อความต่างๆ สามารถบอกได้ว่าคาใดใช้อย่างไร ใช้ผิดความหมาย ผิดหน้าที่ ไม่เหมาะสม ไมช่ ัดเจนอยา่ งไร และควรปรบั ปรงุ แกไ้ ขอย่างไรจึงจะสามารถใช้ไดถ้ ูกตอ้ ง เชน่ “เขาลงเรือทอ่ งเที่ยวพเนจรไปในมหาสมทุ ร” คาว่า พเนจร หมายถึง การไปป่า จึงเป็นการใช้ผิดความหมาย ควรใช้คาว่า ลอยล่อง หรือ ลอ่ งลอย หรอื ลอยลอ่ งท่องเท่ียว 2. การวิเคราะหป์ ระโยค การอ่านวิเคราะห์ประโยค มีจุดมุ่งหมายเพื่อแยกแยะประโยคต่างๆ ว่าเป็นประโยคที่ ถูกต้องชัดเจนหรือไม่ ใชป้ ระโยคผิดไปจากแบบแผนของภาษาอย่างไร เป็นประโยคที่ถูกต้องสมบูรณ์
39 หรือไม่ มีหน่วยความในประโยคขาดเกินหรือเปล่า เรียงลาดับความในประโยคถูกต้องชัดเจนหรือไม่ เม่ือพบขอ้ บกพร่องต่างๆ แลว้ สามารถแกไ้ ขใหถ้ ูกตอ้ งได้ เชน่ \"แม้เขาจะจรงิ ใจตอ่ หล่อนซงึ่ รักเขามากเพราะหล่อนน่ารกั ” สามารถวิเคราะห์ได้ว่า ข้อความนี้สับสน ประโยคไม่สมบูรณ์ น่าจะแก้ไขเป็น “แม้เขา จะจรงิ ใจต่อหล่อนซ่ึงนา่ รักและรักเขามากเพียงใด เขากย็ งั อดไปมีภรรยานอ้ ยไมไ่ ด้” 3. การวเิ คราะหท์ ัศนะของผแู้ ต่ง หลังจากอ่านจบแล้วลองตั้งคาถามตนเองว่า มีความคิดเห็นตรงกับผู้เขียนหรือไม่ ความคิดของผูเ้ ขยี นเล่ือนลอย ไร้สาระ หรือมีเหตุผลข้อเท็จจรงิ น่าเชอื่ ถือเพยี งใด การกระทาเช่นนี้จะ ช่วยให้มองเห็นทัศนะของผู้เขียนได้ชัดเจนว่า เขาเป็นคนมองโลกในแง่ใดและอย่างไร จาเป็นด้วย หรือไม่ที่เราต้องมีความคิดเห็นสอดคล้อง เมื่อผู้อ่านมีความคิดไม่สอดคล้องด้วย ผู้อ่านมีความเห็น สว่ นตัวอยา่ งไร ซ่งึ ตอนนีจ้ ะทาให้การวิเคราะหท์ ัศนะของผู้เขียนแจม่ ชัดมากขน้ึ ทเี ดยี ว 4. การวิเคราะหร์ ส หมายถงึ ความซาบซง้ึ ประทับใจทเ่ี กดิ ขึน้ หลังจากสนใจหรือตดิ ตามอ่านเร่ืองมามาก 4.1 รสของกาพยก์ ลอนไทย มี 4 รสดว้ ยกันคือ 4.1.1 เสาวรจนี(รสชมโฉม) คือ การกล่าวชมความงามของตัวละคร ธรรมชาติ สถานที่ต่างๆ ตัวอย่างเช่น การชมความงามของราชรถท่ีใช้ในการออกศึกของกะหมังกุหนิงจากเร่ือง อเิ หนา รถเอยราชรถแกว้ ทัง้ สร่ี ถพรายแพร้วเวหน บัลลังกล์ อยคล้อยเคลือ่ นมากลางพล งอนระหงธงบนสะบัดปลาย สารถีนง่ั หนา้ ถือธนู เทียมอาชาห้าคผู่ นั ผาย เครอื่ งสูงครบส่งิ เรียงราย อภิรุมชุมสายพรายพรรณ (พระพุทธเลศิ หลา้ นภาลัย(พระบาทสมเด็จ), 2506: 302) 4.1.2 นารีปราโมทย์(รสของบทเก้ียวโอ้โลม) คือ รสในการแสดงความรักใคร่ พูดโอ้โลม บทเกี้ยว ยกตัวอย่างตอนที่หนุมานเก้ียวพานางเบญกาย จากบทละครเร่ืองรามเกียรติ์ เล่ม 2 ดวงเอยดวงสมร เจา้ งามงอนผ้ยู อดพสิ มยั แสนรักพี่รักอรไท วา่ ไยฉะนี้กลั ยา ความจริงไมล่ ่อลวงเจา้ ยุพเยาว์แน่งน้อยเสน่หา อนั แสนสมบตั ิในลงกา จะไดแ้ กบ่ ดิ าของเทวี (พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (พระบาทสมเด็จ), 2514: 272)
40 4.1.3 พิโรธวาทัง(รสของบทโกรธ) คอื บทโกรธ แค้นใจ เสียดสี ตัดพ้อ ต่อวา่ ดว้ ย ความโกรธ ตัวอย่างบทโกรธจากเรอื่ งมัทนะพาธา มะทะนาชะเจ้าเล่ห์ ชชิ ชิ ่างจานรรจา ตะละคาอวุ าทา ฤกระบิดกระบวนความ ดนุถามก็เจ้าไซร้ บมติ อบณคาถาม วนิดาพยายาม กะละแลน่ สานวนหวล (พระมงกุฎเกล้าเจา้ อยูห่ ัว(พระบาทสมเดจ็ ), 2544: 37) 4.1.4 สัลลาปังคพิสัย(รสของบทโศก) คือ บทพรรณนาความโศกเศรา้ คร่าครวญ ตัดพ้อด้วยความน้อยใจ ตัวอย่างตอนท่ีทศกัณฐ์อาลัยต่อการจากไปของอินทรชิต จากบทละครเรื่อง รามเกียรต์ิ เลม่ 3 โอ้ว่าอินทรชติ ของบิดร เลอื่ งชื่อลือขจรท้งั ไตรจักร ยิ่งในสุรยิ ์วงศพ์ งศย์ กั ษ์ หรอื มาแพป้ รปกั ษป์ จั จามติ ร เสียแรงเปน็ วงศพ์ รหมา รอบรู้วิชาศรสทิ ธิ์ อานุภาพปราบไดท้ ว่ั ทิศ หรือแพ้ฤทธ์มิ นุษยเ์ ดนิ ดนิ (พระพุทธยอดฟ้าจฬุ าโลก (พระบาทสมเด็จ), 2514: 6) 4.2 รสของงานเขยี นอื่นๆ นอกจากรสของกาพยก์ ลอนวรรณคดีแล้ว ในงานเขียนประเภทตา่ งๆ กส็ ามารถ พจิ ารณารสของงานเขยี นนน้ั ได้ ไดแ้ ก่ 4.2.1 รสเสียง หมายถึง การได้ยินเสียงในขณะท่ีอ่าน ด้วยการใช้จินตนาการ หรอื การเลียนเสียงธรรมชาติ ยกตัวอยา่ งจากเรื่องเจ้าจนั ท์ผมหอม อาวุม อาวุม เสียงเสือร้องก้องหุบไกลหู หมู่ร้องแมลงไพรเก็บปากเงียบมิด จ๊ดิ ๆ จดี ๆ จ้ิงหรดี แมงชอนดกั นอนเซาหู พอเสยี งเสอื หายก็ซุบซบิ กนั ใหม่ (มาลา คาจันทร์, 2550: 5) 4.2.2 รสภาพ หมายถึง การท่ีผู้อ่านมองเห็นภาพและเข้าใจเร่ืองราวได้ในเวลา เดียวกัน ทาให้เข้าใจงานเขียนได้ลึกซึ้งยงิ่ ข้ึน โดยผู้อ่านสามารถมองเห็นภาพๆ นั้นจากการเรียบเรียง ถ้อยคา เช่น หลังฝนเราทอ่ งละอองฟ้า ลุยนา้ เวงิ้ นาหลังหนา้ เก่ียว ทุ่งทางฉ่าสดคคู ดเคยี้ ว ขา้ วรวงหลงเคยี วเราเคี้ยวกิน
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148