Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นักวิจัยดีเด่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีธัญบุรี 2559

นักวิจัยดีเด่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีธัญบุรี 2559

Published by jibjune, 2017-01-24 02:25:44

Description: นักวิจัยดีเด่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีธัญบุรี 2559

Search

Read the Text Version

นักวรจิะดัยับทนม่ี าีผนลางชาานตวิ ิจปยั รไะดจร้�ำบัปรี 2าง5ว5ลั9 การประยกุ ต์ใช้ก๊าซชีวภาพรว่ มกบั พลังงานแสงอาทติ ยส์ �ำหรบั เครอื่ งอบแหง้ Application of using the alternative hybrid energies of biogas and solar energy for drying system ช่อื เจ้าของผลงาน ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เกียรติศักดิ์ แสงประดษิ ฐ์ หนว่ ยงาน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี เบอรโ์ ทรศัพท์ (มือถอื ) : 08 1493 2489 E-mail: [email protected] ที่มาของผลงาน ปจั จบุ นั ไดน้ ำ� พลงั งานจากแสงอาทติ ยใ์ ชใ้ นการอบอยา่ งแพรห่ ลาย ถงึ แมว้ า่ การนำ� พลงั งานแสงอาทติ ยม์ าใชใ้ นการอบนน้ัมีประโยชน์อยา่ งมากมาย แตถ่ ้าในชว่ งท่มี ีแดดนอ้ ยหรือฝนตกก็จะทำ� ใหก้ ารอบมีประสิทธภิ าพนอ้ ยลง ดังน้ัน งานวิจัยน้ีจะใช้พลังงานจากแสงอาทิตย์และแก๊สชีวภาพมาใช้ให้เกิดประโยชน์ เน่ืองจากพลังงานดังกล่าวเป็นพลังงานสะอาด ไม่ต้องเสียค่าใชจ้ า่ ย และสามารถใชเ้ ปน็ พลังงานทางเลอื กได้ ส่งิ ส�ำคญั คอื การสรา้ งจติ สำ� นึกในการนำ� พลังงานสะอาดมาใช้แทนพลังงานส้ินเปลืองท่ีนับวันยิ่งเหลือน้อยลงไปทุกที โดยจะใช้พลังงานแสงอาทิตย์เป็นหลักและใช้พลังงานจากแก๊สชวี ภาพในกรณที ่อี ณุ ภูมไิ ม่เพยี งพอ ความเปน็ นวัตกรรม/ลักษณะเด่นของผลงาน ระบบอบแห้งแบบผสมผสานน้ี จะใช้พลังงานความร้อนจากแสงอาทิตย์ถึง 90% และอีก 10% จะได้จากแก๊สชีวภาพในกรณีที่แสงแดดไม่เพียงพอ โดยตัวรับแสงพาราโบลาจะรับแสงและจะสะท้อนแสงท่ีได้ไปยังจุดศูนย์รวมแสงท่ีท�ำด้วยโลหะเพื่อเก็บความร้อนไว้ในท่อ จากนั้นที่ท่อทางเข้าจะมีพัดลมท่ีจะพัดพาความร้อนท่ีได้ส่งไปยังห้องอบซ่ึงสามารถท�ำได้ถึง 70Cในชว่ งหนา้ ร้อนเดอื นเมษายน ในกรณที ค่ี วามร้อนมีความร้อนไมถ่ ึงทกี่ ำ� หนด ระบบจะส่งั ให้แก๊สท�ำงานเพื่อทำ� การให้ความรอ้ นกับทอ่ แทนทค่ี วามรอ้ นจากแสงอาทิตย์ เม่อื อณุ ภูมิไดต้ ามต้องการระบบจะสงั่ การหยดุ ระบบแก๊สอัตโนมตั ิ การนำ� ไปใช้ประโยชน์ งานวิจัยน้ีได้มีถ่ายทอดความรู้ให้เกษตรกรท่ีสนใจหลายคน ซึ่งน�ำไปขยายให้มีขนาดใหญ่เพ่ือจะน�ำไปอบแห้งผลิตผลทางการเกษตร ไมว่ ่าจะเป็นพรกิ ขา่ ตะไคร้ ใบมะกดู กลว้ ย พชื และผลไม้ทตี่ ้องการอบแหง้ หรอื แม้กระทั่งปลา เนอื้ สตั วต์ า่ ง ๆฉะนน้ั ปฏเิ สธไมไ่ ดว้ า่ เปน็ งานวจิ ยั ทม่ี คี วามตอ้ งการอยา่ งมากในการถนอมอาหารแหง้ ของผลผลติ การเกษตร ไมว่ า่ จะเปน็ พชื สตั ว์ที่ใชม้ าเปน็ อาหาร ชอ่ งทางการต่อยอดในเชงิ พานิชยจ์ ึงได้มกี ารตดิ ต่อจากบริษทั ภายนอกทีส่ นใจในระบบของงานวิจัยน้ี การคุ้มครองทรัพย์สนิ ทางปญั ญา เลขทค่ี �ำขอรบั อนุสทิ ธิบตั ร 1603001954 รางวลั ที่ไดร้ บั (ระดับนานาชาติ) Gold medal และ Special Poland IWIS award ของประเทศโปแลนด์ จากงาน 12th Taipei internationalinvention show & technomart INST 2016 ณ ประเทศไตห้ วัน 41

รนะักดวับิจนัยาทนี่มาีผชาลตงาิ ปนรวะจิ จัย�ำไปดี ้ร2ับ5ร5า9งวลั การพฒั นาระบบตรวจสอบโรคกลว้ ยไมค้ วบคมุ ระยะไกลรว่ มกบั เทคนคิ ประมวลผล ภาพถา่ ยเพอ่ื ควบคมุ การใหส้ ารเคมีแบบแม่นย�ำส�ำหรบั โรงเรอื นมาตรฐาน Development of a remote control system for orchid diseases monitoring using image processing technique for precision application of chemicals in standard greenhouses ชือ่ เจา้ ของผลงาน ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เกรียงไกร แซมสมี ่วง หนว่ ยงาน คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี เบอรโ์ ทรศพั ท์ (มือถอื ) : 08 9641 7532 E-mail: [email protected] [email protected]  ทม่ี าของผลงาน ประเทศไทยเป็นแหล่งเพาะปลูกกล้วยไม้เมืองร้อนท่ีส�ำคัญ โดยเฉพาะกล้วยไม้สกุลหวาย สามารถสร้างรายได้ น�ำเงินเข้าสู่ประเทศได้เป็นจ�ำนวนมาก และการส่งออกกล้วยไม้ของไทยยังคงมีแนวโน้มเติบโตได้อย่างต่อเนื่อง ขณะท่ีการผลิตกล้วยไม้ในทุกวันนี้ยังคงเผชิญกับปัจจัยเสี่ยงอยู่หลายประการ ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงมุ่งเสนอวิธีการ ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีความแม่นย�ำทางการเกษตรร่วมกับเทคนิคการประมวลผลภาพถ่ายดิจิตอล เพ่ือเข้ามาช่วย ในการพัฒนาระบบการจัดการ และการบ�ำรุงรักษากล้วยไม้สกุลหวาย โดยมุ่งเป้าหมายไปยังการบริหารจัดการการใช้ สารเคมี และยาปราบศตั รพู ืช ในปรมิ าณทีเ่ หมาะสม มีความแมน่ ย�ำสงู ทนั ตอ่ เหตุการณ์ และสามารถตรวจวดั เฝ้าระวัง การระบาดของโรคกลว้ ยไมใ้ นโรงเรอื นปลูกมาตรฐานได้  ความเปน็ นวตั กรรม/ลักษณะเดน่ ของผลงาน เปน็ การนำ� เสนอวธิ กี ารประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยคี วามแมน่ ยำ� ทางการเกษตรรว่ มกบั เทคนคิ การประมวลผลภาพถา่ ย ดิจิตอล เพื่อเข้ามาช่วยในการพัฒนาระบบการจัดการ และการบ�ำรุงรักษากล้วยไม้สกุลหวาย โดยมุ่งเป้าหมายไปยัง การบริหารจัดการการใช้สารเคมี และยาปราบศัตรูพืช ในปริมาณท่ีเหมาะสม มีความแม่นย�ำสูง ทันต่อเหตุการณ์ และสามารถตรวจวดั เฝ้าระวังการระบาดของโรคกลว้ ยไมใ้ นโรงเรือนปลกู มาตรฐานได้  การนำ� ไปใช้ประโยชน์ ได้มาซ่ึงระบบถ่ายภาพมุมสูงแบบควบคุมระยะไกล แบบติดตั้งบนชุดต้นแบบเคล่ือนท่ีตามแนวราง ที่มีราคาถูก มีความคมชัดสูง ท่ียอมรับได้ มีระบบซอฟต์แวร์ประมวลผลภาพถ่ายมุมสูง เกษตรกรสามารถใช้ประโยชน์จากแผนที่ ไดใ้ นการบรหิ ารจดั การพน้ื ทปี่ ลกู การบรหิ ารจดั การการใชป้ ยุ๋ และการเฝา้ ระวงั การระบาดของโรคพชื เพอ่ื เปน็ การลดตน้ ทนุ และเพม่ิ ผลผลติ และสามารถท่จี ะใชต้ ่อยอดทางธรุ กิจในเชงิ พาณิชยไ์ ด้  การคุ้มครองทรพั ย์สินทางปัญญา ไมร่ ะบุ  รางวัลทีไ่ ด้รับ (ระดับนานาชาต)ิ Special Award จากงาน 12th Taipei international invention show & technomart INST 2016 ณ ประเทศไต้หวนั42

นักวรจิะดัยับทนมี่ าีผนลางชาานตวิ จิปยั รไะดจ้รำ� บัปรี 2าง5ว5ลั9 ห่นุ ยนต์อจั ฉรยิ ะส�ำหรบั ตรวจวัดและปรบั สภาพดินอตั โนมัติ Autonomous intelligent robot for soil sampling and reclamation ช่ือเจ้าของผลงาน ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เกียรติศกั ด์ิ แสงประดษิ ฐ์ หน่วยงาน คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เบอรโ์ ทรศัพท์ (มือถอื ) : 08 1493 2489 E-mail: [email protected] ทีม่ าของผลงาน ปัจจุบันก่อนการปลูกพืชของเกษตรกรนั้นไม่ค่อยให้ความส�ำคัญต่อการปรับหรือเพ่ิมแร่ธาตุอาหารก่อนการเพาะปลูกจึงท�ำให้ผลผลิตน้ันไดน้ อ้ ยกวา่ ความเปน็ จรงิ หรอื ถา้ ทำ� การปรบั เกษตรกรสว่ นใหญม่ กั จะหวา่ นหรือพ่นสารอาหารโดยไม่มีการศึกษาข้อมูลว่าจ�ำเป็นต้องพ่นหรือหว่านสารอาหารมากนอ้ ยเพียงใดถึงจะเพียงพอกับพนื้ ท่นี ั้น ๆ นอกเหนือจากน้ีการเก็บตัวอย่างดินมาตรวจสอบนั้นใช้เวลาค่อนข้างนาน และต้องใช้คนจ�ำนวนมากในการเก็บตัวอย่างในพ้ืนที่กว้าง ๆ ซึ่งน้ันจะท�ำให้เพ่ิมต้นทุนการผลิตได้ ดังน้ัน งานวิจัยน้ีจึงได้การออกแบบและสร้างหุ่นยนต์ต้นแบบอัจฉริยะส�ำหรับตรวจวัดและปรับสภาพดินอัตโนมัติ เพ่ือความแม่นย�ำในการปรับสภาพสารอาหารในดินก่อนทำ� การเพาะปลูก ความเป็นนวัตกรรม/ลักษณะเดน่ ของผลงาน หนุ่ ยนตต์ น้ แบบอจั ฉรยิ ะสำ� หรบั ตรวจวดั และปรบั สภาพดนิ อตั โนมตั ิ จะออกแบบโดยใชโ้ ปรแกรมสำ� เรจ็ รปู SolidWorksโดยการออกแบบจะให้หุ่นยนต์สามารถเข้าร่องเพาะปลูกได้สะดวก โดยขนาดร่องปลูกพืชทั่วไปจะอยู่ระหว่าง 70 - 80 cmซงึ่ ได้ท�ำการออกแบบใหส้ ามารถบรรทกุ น�้ำหนักขนาด 10 kg มีสว่ นประกอบหลัก 4 ส่วน คือ 1. โครงสร้างห่นุ ยนต์ 2. ชุดสไลด์สำ� หรบั ตรวจวดั สภาพดนิ (เซนเซอร์ N, P, K) 3. ชุดควบคมุ การท�ำงานของหุน่ ยนต์ และ 4. ระบบจา่ ยนำ้� ยาปรับสภาพดนิ การนำ� ไปใชป้ ระโยชน์ เนื่องจากงานวิจัยน้ีสามารถน�ำไปต่อยอดให้มีขนาดใหญ่เพ่ือน�ำไปใช้ในแปลงเพาะปลูก เพื่อลดปัญหา ระยะเวลาการให้ปุ๋ย เพ่ิมผลผลิตต่อพื้นท่ี ประหยัดค่าปุ๋ยโดยไม่จ�ำเป็นให้แก่เกษตรกรได้ประสิทธิภาพ และยังป้องกันอันตรายที่เกิดจากการสัมผัสสารเคมีของเกษตรกรได้อีกทางหนึ่งด้วยแล้ว การน�ำไปใช้ในเชิงพานิชย์จึงมีความเป็นไปได้เป็นอย่างมากของตลาดเมืองไทยซ่ึงเป็นประเทศเกษตรกรรม เบื้องต้นมีบริษัทยักษ์ใหญ่ในวงการเครื่องจักรกลเกษตรเข้าพูดคุยและประชุมเพ่ือพัฒนาให้สามารถขายในเชิงพานิชย์ การคุ้มครองทรพั ยส์ ินทางปัญญา เลขที่คำ� ขออนุสิทธิบตั ร 1603002283 รางวัลทไี่ ดร้ บั (ระดบั นานาชาติ) Gold medal with mention (เหรยี ญทองเกยี รตยิ ศ) จากงาน The 65th World Exhibition on Inventions, Researchand new Technologies, Brussels (BRUSSLES INNOVA 2016) ณ ประเทศเบลเยียม 43

รนะกั ดวบั จิ นัยาทนี่มาีผชาลตงาิ ปนรวะจิ จยั �ำไปดี ้ร2ับ5ร5า9งวัล การพฒั นาเครอ่ื งฉดี พน่ สารเคมแี บบแปรผนั อตั ราได้ พรอ้ มระบบมองเหน็ ระยะไกล ส�ำหรับแปลงปลกู มะพร้าวทเี่ กิดโรค Design and Fabrication of Variable Rate Chemicals Sprayer with Image Processing Technique for Diseases and Pests Infestation in Coconut Plantations ชือ่ เจ้าของผลงาน ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เกรยี งไกร แซมสมี ่วง หนว่ ยงาน คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เบอรโ์ ทรศัพท์ (มือถอื ) : 08 9641 7532 E-mail: [email protected] [email protected]  ทีม่ าของผลงาน มะพร้าวเป็นพืชเศรษฐกิจที่มีความส�ำคัญเป็นล�ำดับต้น ๆ ของประเทศไทย และยังส่งออกมะพร้าวติดอันดับ 1 ใน 10 ของโลก มีพ้ืนที่ปลูกกว่า 1.5 ล้านไร่ ปัญหาท่ีเกษตรกรก�ำลังประสบอย่างหนัก ในปจั จุบนั คือ การระบาดของแมลงศตั รูพืช เชน่ ด้วงแรด ดว้ งงวงชา้ ง และแมลงดำ� หนามมะพรา้ ว ซงึ่ ทำ� ใหผ้ ลผลติ มะพรา้ วลดลงอยา่ งเหน็ ไดช้ ดั สง่ ผลกระทบใหผ้ ลผลติ ตอ่ พนื้ ทข่ี องมะพรา้ วขาดแคลนมากในทอ้ งตลาด และทำ� ใหร้ าคาลกู มะพรา้ วสงู ขน้ึ จากเดมิ 7 บาท เพมิ่ เปน็ ลกู ละ 30 บาท ในปจั จบุ ัน และมแี นวโน้มขาดแคลนมากขน้ึ อกี ในอนาคต  ความเป็นนวัตกรรม/ลักษณะเด่นของผลงาน เคร่ืองฉีดพ่นสารเคมีแบบแปรผันอัตราได้พร้อมระบบมองเห็นระยะไกลท่ีออกแบบและสร้างน้ี พบว่ามีลักษณะเด่น ของผลงานดังนี้ ลดอาการเมื่อยล้าในระหว่างการท�ำงาน ลดความล่าช้าในระหว่างการท�ำงาน ลดอันตรายกับผู้ปฏิบัติงาน ลดการสิ้นเปลืองสารเคมีเน่ืองจากการฉีดไม่ตรงกับจุดบริเวณที่เกิดโรค เป็นแนวทางหรือทางเลือกแบบใหม่ในการก�ำจัดแมลง ศตั รมู ะพร้าวใหไ้ ด้ประสทิ ธภิ าพ ชว่ ยเพิม่ ประสทิ ธิภาพในการฉดี พ่น และสุดท้าย ชว่ ยลดปรมิ าณสารเคมีท่ใี ช้ และเพอ่ื ลดปญั หา ระยะเวลา และอันตรายที่เกิดจากการสมั ผัสสารเคมใี นการทำ� งานของเกษตรกร  การนำ� ไปใช้ประโยชน์ เพื่อลดการระบาดของแมลงศัตรูมะพร้าว และเพิ่มผลผลิตต่อพ้ืนท่ีให้สูงข้ึน ให้แก่เกษตรกรเจ้าของพ้ืนที่ปลูกมะพร้าว และยงั สามารถใชไ้ ด้กบั พน้ื ทีป่ ลูกปาล์มนำ�้ มนั และพ้ืนท่ปี ลูกล�ำไย  การคมุ้ ครองทรพั ยส์ ินทางปญั ญา เลขท่คี ำ� ขอรบั อนุสทิ ธบิ ตั ร 1603001821  รางวลั ทีไ่ ด้รับ (ระดับนานาชาต)ิ Gold medal และ Special Prize for Scientific Community of ROMANIA จาก Ministry of National Education and Scientific Research, National Authority for Scientific Research and Innovation จากงาน The 65th World Exhibition on Inventions, Research and new Technologies, Brussels (BRUSSLES INNOVA 2016) ณ ประเทศเบลเยียม44

นักวรจิะดยั บัทนม่ี าีผนลางชาานตวิ ิจปัยรไะดจร้�ำับปรี 2าง5ว5ัล9 ผลของการใช้ต้นอ่อนข้าวหอมมะลิและสารทดแทนความหวานต่อคุณภาพ ของไอศกรมี นม Effect of Using Jusmin Rice (Oryza sativa) seedlings and Sugar Replacer on Quality of Milk Ice-cream ชื่อเจ้าของผลงาน 1. นายณฐั ชรัฐ แพกุล 2. นายจรี วัฒน ์ เหรยี ญอารยี ์ หนว่ ยงาน คณะเทคโนโลยคี หกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี เบอรโ์ ทรศัพท์ (มือถอื ) : 08 9252 1300 E-mail: [email protected] ทม่ี าของผลงาน ไอศกรมี เป็นอาหารทไ่ี ด้รับความนิยมอย่างมาก แต่ปัญหาการบรโิ ภคไอศกรีมคอื ใหพ้ ลงั งานสูง น�้ำตาลสงู อาจส่งผลให้ผู้บริโภคเส่ียงเป็นโรคอ้วน หรือโรคเบาหวาน ดังน้ันจึงน�ำมอลทิทอลมาเป็นสารทดแทนความหวานซ่ึงมีพลังงานต่�ำ และใช้ใบต้นข้าวหอมมะลิที่งอกหลังการเก่ียวข้าว ซึ่งอุดมไปด้วยสารต้านอนุมูลอิสระ และสารคลอโรฟิวส์ และเป็นการพัฒนาผลิตภัณฑ์ไอศกรีมในแง่การน�ำส่วนอ่ืนของพืชเศรษฐกิจที่ไม่ได้ไปบริโภคโดยทั่วไปน�ำมาใช้ประโยชน์ที่สร้างความแตกต่างจากไอศกรีมทัว่ ไป อกี ท้ังเพอ่ื ไอศกรมี ท่ไี ด้ส่งเสริมคุณภาพท่ดี ตี ่อรา่ งกาย ความเปน็ นวัตกรรม/ลักษณะเด่นของผลงาน การพฒั นาสตู รอาหารทม่ี กี ารสรา้ งความแปลกใหมโ่ ดยการไมใ่ ชน้ ำ�้ ตาล และใชพ้ ชื เศรษฐกจิ ทไี่ มไ่ ดน้ ำ� ไปบรโิ ภคโดยทวั่ ไปน�ำมาใช้ประโยชน์ (ต้นข้าว) โดยไอศกรีมที่ได้มีพลังงานต่�ำ แต่มีสารต้านอนุมูลอิสระ และสารคลอโรฟิวส์ท่ีสูง และผลิตภัณฑ์ทไ่ี ด้มกี ารยอมรบั จากผบู้ ริโภคในระดบั ท่ีชอบมาก (Consumer Test) การน�ำไปใชป้ ระโยชน์ สามารถนำ� ไปตอ่ ยอดเพอ่ื ปรบั เปลย่ี นเปน็ วตั ถดุ บิ อนื่ หรอื เสรมิ คณุ คา่ ทางอาหารใหเ้ พม่ิ มากขน้ึ อกี ทง้ั ผลผลติ ทไ่ี ดส้ ามารถใช้ในด้านการคา้ หรือในระบบของอตุ สาหกรรมเพอ่ื ผลติ ไอศกรีมในเชงิ พาณิชย์ การคุ้มครองทรพั ย์สนิ ทางปญั ญา เลขท่ีค�ำขอรับอนุสทิ ธิบัตร 1603002282 รางวัลทไ่ี ดร้ ับ (ระดับนานาชาติ) Gold medal จากงาน the 65th World Exhibition on Innovations, Research and new Technologies,Brussels (BRUSSELES INNOVA 2016) ณ ประเทศเบลเยยี ม 45

รนะักดวบั จิ นัยาทน่ีมาีผชาลตงาิ ปนรวะจิ จยั ำ� ไปดี ร้ 2บั 5ร5า9งวัล การพัฒนาการใช้วัสดุเหลือใช้จากการเก็บเก่ียวไม้ดอกในการจัดจ�ำหน่าย เพ่ือผลิตบรรจภุ ณั ฑท์ ลี่ ดการเกิดเช้ือรา และยืดอายมุ ะม่วงและมะละกอ Development of Agricultural Debris (Flowering plant) to Produce Fruits Packaging for Extension Self-life and Reduce Damage for mango and papaya ชอ่ื เจา้ ของผลงาน ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ประทมุ ทอง ไตรรตั น์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมพร เจนคุณาวฒั น์ หน่วยงาน คณะเทคโนโลยีสอ่ื สารมวลชน และคณะเทคโนโลยกี ารเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี เบอรโ์ ทรศัพท์ (มือถอื ) : 08 9799 9549 E-mail: [email protected] [email protected]  ทีม่ าของผลงาน การขนสง่ ผลไมม้ กั จะเกดิ โรคในระหวา่ งการขนสง่ หรอื การวางจำ� หนา่ ย การผลิตบรรจุภัณฑ์กระดาษที่ไม่ส่งผลเสียต่อผลไม้และยังช่วยป้องกัน การเกิดโรคไดจ้ ากการใช้สารสกัดจากธรรมชาติ เช่น ใบขีเ้ หล็ก ใบมะกรดู ขา่ สารสกัดไพล น�้ำมันหอมระเหยซ่ึงมีสารที่สามารถยับยั้งหรือชะลอการเกิด โรคในผลไม้ได้ ในการน�ำมาเป็นส่วนผสมของเยื่อท่ีได้จากเศษวัสดุเหลือท้ิง เพื่อน�ำมาผลิตเป็นบรรจุภัณฑ์ที่รักษาคุณภาพของผลไม้และป้องกัน การเสียหายระหว่างการขนส่ง เป็นการสร้างมูลค่าเพ่ิมของบรรจุภัณฑ์ ไดอ้ ีกทางหน่งึ  ความเปน็ นวตั กรรม/ลักษณะเด่นของผลงาน บรรจุภัณฑ์ผลไม้ท่ีใส่สารจากธรรมชาติเพื่อลดการเกิดเชื้อราและ ยืดอายุของผลไม้ โดยใช้สารสกัดจากธรรมชาติที่มีอยู่ในประเทศไทย เพื่อทดแทนการใชส้ ารเคลอื บผลไมจ้ ากสารเคมี  การนำ� ไปใช้ประโยชน์ ในการผลิตบรรจภุ ณั ฑ์ผลไม้ทล่ี ดการเกดิ เชอ้ื ราและน้�ำมนั หอมระเหย ที่ใช้ในการฉีดพ่นท่ีผลไม้ป้องกันการเกิดเชื้อราและท�ำให้ผลไม้มีอายุนานข้ึน หลงั จากการเกบ็ เกย่ี ว แทนการใชผ้ ลติ ภณั ฑจ์ ากพลาสตกิ หรอื โฟมทย่ี อ่ ยสลาย ไดย้ ากและเปน็ การใชว้ สั ดเุ หลือทิ้งใหเ้ กิดประโยชน์  การคมุ้ ครองทรัพยส์ นิ ทางปญั ญา เลขที่คำ� ขอรบั อนุสิทธบิ ัตร 1603002260  รางวัลทไี่ ด้รับ (ระดบั นานาชาต)ิ Gold medal จากงาน The 65th World Exhibition on Inventions, Research and new Technologies, Brussels (BRUSSLES INNOVA 2016) ณ ประเทศเบลเยยี ม46

นักวริจะดยั บัทนี่มาีผนลางชาานตวิ จิปัยรไะดจ้ร�ำบัปรี 2าง5ว5ลั9 สวทิ ชอ์ ัจฉรยิ ะ Smart Switch ช่ือเจ้าของผลงาน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จกั รี ศรีนนทฉ์ ัตร บรษิ ัท Real Advance จำ� กดั หน่วยงาน คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เบอรโ์ ทรศพั ท์ (มือถอื ) : 08 9777 5038 E-mail: [email protected] [email protected] ทีม่ าของผลงาน ในระบบบ้านอัจฉริยะ หรือ Smart home ท่ีมีการฝังอปุ กรณอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ สเ์ ขา้ ไปในอปุ กรณเ์ ครอื่ งใชไ้ ฟฟา้ ตา่ ง ๆ เพอ่ื ให้อปุ กรณเ์ หลา่ นน้ั ฉลาดย่งิ ขึ้น ตอบสนองกับรปู แบบการใช้ชวี ติ ของคนรุ่นใหม่ท่ีต้องการความสะดวกสบาย ได้ถูกต่อยอดพัฒนาขึ้นมาเรอ่ื ย ๆ จนมาถงึ การพฒั นาสวทิ ชส์ ำ� หรบั ควบคมุ ระบบสอ่ งสวา่ ง(สวิทช์ไฟฟ้า) ท้ังน้ีสวิทช์ไฟฟ้าโดยทั่วไปจะมีลักษณะเป็นอุปกรณ์ส�ำหรับตัดหรือต่อวงจรการไหลของกระแสไฟฟ้าเข้าสู่หลอดไฟส่องสว่างทุกชนิด ท้ังนี้การเปิด-ปิดสวิทช์ไฟฟ้าโดยทั่วไปผู้ใช้จะตอ้ งสมั ผัสกับสวิทช์โดยตรงไมส่ ามารถสง่ั การผ่านระบบทางไกลได้ซ่ึงการใช้งานเช่นน้ีก่อให้เกิดความไม่สะดวกแก่เด็กและคนชรา รวมถึงผู้ใช้ทั่วไปที่จะต้องเคล่ือนที่ไปสัมผัสกับสวิทช์ อีกท้ังยังอาจกอ่ ใหเ้ กดิ อันตรายกับผูใ้ ชใ้ นกรณีที่ผ้ใู ชน้ ้นั อยู่ในลักษณะเปยี กชนื้ ซงึ่ เป็นสอื่ กลางที่ง่ายตอ่ การนำ� กระแสไฟฟ้า ความเป็นนวตั กรรม/ลกั ษณะเดน่ ของผลงาน การประดิษฐ์น้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือแก้ไขปัญหาท่ีได้กล่าวไว้ข้างต้น โดยจัดให้มีอุปกรณ์ส�ำหรับควบคุมการเปิด-ปิดวงจรไฟฟา้ (สวทิ ช์) แบบสมั ผัส ด้วยการสอื่ สารไร้สายความเรว็ สูง (WiFi) สัง่ งานผา่ นระบบปฏบิ ัตกิ ารแอนดรอยทต์ ามการประดิษฐ์น้ีมีอุปกรณ์ร่วมกันอยู่ 2 ชิ้น คือ สวิทช์แบบสัมผัสและตัวรับส่งสัญญาณสื่อสารไร้สายความเร็วสูง (WiFi Master) โดยแผงสวิทช์แบบสัมผัสจะมลี กั ษณะเป็นสเ่ี หลย่ี มผืนผ้าและสวิทช์สามารถให้แสงสว่างไดเ้ มอื่ กระแสไฟฟา้ ผา่ นหลอดไฟแอลอดี ี (LED)โดยให้ความสว่างมีลักษณะเป็นวงกลมบริเวณพื้นท่ีรอบตรงกลาง การควบคุมสวิทช์แบบสัมผัสระยะไกลจะควบคุมโดยผ่านโปรแกรมแอปพลิเคชั่น (Application) บนโทรศัพท์มือถือสมาร์ทโฟน (Smartphone) นั้นจะควบคุมและส่งสัญญาณจากสมาร์ทโฟนมายงั อปุ กรณ์ WiFi Master การน�ำไปใช้ประโยชน์ 1. ใชเ้ ป็นอปุ กรณ์ส�ำหรับเปดิ -ปิดวงจรไฟฟา้ แบบระยะไกล สามารถควบคุมด้วยสัญญาณ WiFi 2. ช่วยอ�ำนวยความสะดวกให้กบั บุคคลพิการ ผู้สูงอายุ หรอื บุคคลทไ่ี ม่สามารถเคลือ่ นไหวได้ไกล 3. ช่วยลดอบุ ตั ิภัยอันเนื่องมาจากสวทิ ช์ลัดวงจร การคุม้ ครองทรพั ย์สนิ ทางปัญญา เลขทคี่ �ำขอรับอนุสิทธบิ ัตร 1603002303  รางวลั ที่ได้รบั (ระดบั นานาชาติ) Silver medal และ Special prize for the invention จาก Romanian Association for NonconventionalTechnologies จากงาน The 65th World Exhibition on Inventions, Research and new Technologies, Brussels(BRUSSLES INNOVA 2016) ณ ประเทศเบลเยียม 47

รนะักดวับิจนยั าทน่ีมาผี ชาลตงาิ ปนรวะิจจยั �ำไปดี ร้ 2ับ5ร5า9งวลั ฟลิ ม์ มาสก์ หนา้ สมนุ ไพรไทย THAI PHYTOFLIM FACIAL MASK ช่อื เจ้าของผลงาน ดร.ไฉน นอ้ ยแสง หนว่ ยงาน วทิ ยาลัยการแพทยแ์ ผนไทย มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี เบอร์โทรศพั ท์ (มอื ถือ) : 09 5736 9577 E-mail: [email protected] [email protected]  ทมี่ าของผลงาน นกั ประดษิ ฐ์ และบรษิ ทั ฯ ทำ� การวจิ ยั และพฒั นาผลติ ภณั ฑเ์ จลมาสก์ หนา้ ช่ือว่า PhytoGel Facial Mask เป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ท่ีพัฒนาเปล่ียนแปลง และปรับปรุงมาจากผลิตภัณฑ์ HydroGel และ Biocellulose เดิมที่มีขาย อยู่ในท้องตลาด และเป็นนวัตกรรมที่ยังไม่เคยมีที่ใดในโลก โดยเน้นความเป็น Pure Natural จากพืชพสมุนไพร และผลไม้ไทยท่ีก�ำลังเป็นกระแสนิยม จากทั่วโลก ให้ตอบสนองความตอ้ งการและสรา้ งความพึงพอใจแกผ่ บู้ รโิ ภคของ ผลิตภัณฑไ์ ด้มากขึน้ กว่าผลิตภัณฑ์เดมิ ท�ำใหธ้ รุ กจิ มโี อกาสท�ำกำ� ไรสูง โดยผลิต ภายใตช้ อ่ื แบรนด์ “มาตลุ ”ิ เพอื่ รองรบั ความตอ้ งการแนวสมนุ ไพรธรรมชาตแิ ละ เวชสำ� อางทเ่ี พม่ิ มากขน้ึ ทง้ั จากตลาดภายในประเทศ ตลาดจนี ยโุ รปและอเมรกิ า ถึงอย่างไรก็ตามทางบริษัทยังประสบปัญหาท่ียังไม่สามารถผลิตได้เน่ืองจาก ผลติ ภณั ฑเ์ จลมาสก์ หนา้ ดงั กลา่ วพบปญั หาคอื ผลติ ภณั ฑม์ อี ายกุ ารใชง้ านหกเดอื น และไมส่ ะดวกต่อการขนส่ง ซ่ึงยังไมต่ อบโจทยค์ วามตอ้ งการของลกู ค้า ในการวจิ ยั และพฒั นาผลติ ภณั ฑเ์ จลมาสก์ หน้าให้มอี ายุ ตามข้อก�ำหนดของเคร่ืองส�ำอาง ง่ายต่อการขนส่ง และตรงความต้องการของลูกค้า จากข้อปัญหาดังกล่าวจึงได้แนวคิดของ โจทยว์ จิ ยั ในการพฒั นาผลิตภัณฑ์ฟลิ ม์ มาส์กหน้าสมุนไพร เพอ่ื เพิม่ คุณสมบัติทดี่ ีของแผน่ มาส์กหนา้ สมุนไพรดงั กล่าว  ความเป็นนวตั กรรม/ลักษณะเดน่ ของผลงาน ฟิลม์ มาสก์ หน้าสมนุ ไพร : วตั ถดุ ิบท่ใี ชใ้ นการผลติ แผน่ เจลได้จากพชื สมุนไพรไทย ไม่ใชส้ ารสังเคราะห์ ไม่ใชต้ ัวทำ� ละลาย อินทรีย์ มีกระบวนการควบคุมคุณภาพการผลิตเพื่อให้ได้สารออกฤทธ์ิทางชีวภาพท่ีมีคุณสมบัติทางกายภาพและเคมีสม�่ำเสมอ ทกุ batch ของการผลติ ไมซ่ บั ซอ้ นและไมต่ อ้ งใชเ้ ครอ่ื งมอื ชน้ั สงู ทม่ี รี าคาแพง และไมใ่ ชต้ วั ทำ� ละลายอนิ ทรยี ์ แผน่ ฟลิ ม์ ทพ่ี ฒั นาขน้ึ มีความแข็งแรง มีความยดื หยุ่น และคงรปู อยู่ได้ สามารถแนบตดิ ไปกับผิวหน้าได้ดี ช่วยดูซับสง่ิ สกปรก สามารถท�ำให้ผิวหน้า มคี วามชุ่มชืน้ และซึมซาบสผู่ วิ ไดอ้ ยา่ งรวดเร็วและออกฤทธทิ์ ันที  การนำ� ไปใช้ประโยชน์ ฟิล์มมาส์กหน้าสมุนไพรไทย ทางศูนย์วิจัยนวัตกรรมความงาม (Beauty Innovation Research Center; BIRC) ของบริษทั บารมี แลบเบอราทอรีส์ จำ� กัด ภายใตเ้ ครอื่ งหมายการค้า PhytoFlim Facial Mask เปน็ ผู้ผลิตและจดั จำ� หนา่ ย  การคมุ้ ครองทรัพย์สินทางปัญญา เลขท่คี �ำขอรับอนุสทิ ธิบตั ร 1503000486  รางวลั ทไ่ี ดร้ ับ (ระดบั นานาชาติ) Silver medal จากงาน The 65th World Exhibition on Inventions, Research and new Technologies, Brussels (BRUSSLES INNOVA 2016) ณ ประเทศเบลเยยี ม48

นกั วริจะดัยับทนี่มาผี นลางชาานตวิ ิจปยั รไะดจ้รำ� ับปรี 2าง5ว5ลั9 โคโคโ่ กกรนี : ผลติ ภณั ฑว์ สั ดกุ อ่ สรา้ งสเี ขยี วจากผลพลอยไดข้ องโรงงานแปรรปู มะพรา้ ว Coco-Go-Green: Products of green building materials from by Products of coconut processing plant ช่อื เจ้าของผลงาน นายประชมุ คำ� พุฒ หนว่ ยงาน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี เบอรโ์ ทรศพั ท์ (มือถือ) : 08 1665 4755 E-mail: [email protected] [email protected] ที่มาของผลงาน โรงงานแปรรปู มะพร้าวมผี ลพลอยได้หรือวสั ดเุ หลือทงิ้ จากกระบวนการผลิตเป็นจ�ำนวนมาก ซึ่งสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในการก�ำจัดทิ้ง บริษัทที่เป็นผู้ผลิตและจ�ำหน่ายวัสดุก่อสร้างเล็งเห็นถึงคุณลักษณะเด่นของวัสดุเหลือทิ้งต่าง ๆ เหล่านั้นที่สามารถน�ำมาเป็นส่วนประกอบส�ำคัญในการผลิตวัสดุก่อสร้างประเภทต่าง ๆ ได้จึงได้มีการพัฒนาทั้งเครื่องจักรและส่วนผสมอย่างเป็นระบบ เพ่ือน�ำองค์ความรู้ทีไ่ ด้ไปใชใ้ นเชิงพาณิชย์ ความเป็นนวัตกรรม/ลักษณะเด่นของผลงาน โคโคโ่ กกรนี : ผลติ ภณั ฑว์ สั ดกุ อ่ สรา้ งสเี ขยี วจากผลพลอยไดข้ องโรงงานแปรรปูมะพร้าวเป็นผลิตภัณฑ์วัสดุก่อสร้างท่ีได้จากการน�ำผลพลอยได้จากโรงงานแปรรูปมะพร้าว อาทิเช่น เถ้ากะลามะพร้าว เส้นใยมะพร้าว ขุยมะพร้าว กากมะพร้าวกลอ่ งยูเอชที มาเปน็ ส่วนผสมสำ� คญั ในการผลติ วัสดุกอ่ สร้างต้นทนุ ตำ�่ และเป็นมติ รต่อส่ิงแวดล้อม โดยวัสดุก่อสร้างทุกประเภทท่ีท�ำการผลิตมีคุณสมบัติผ่านเกณฑ์มาตรฐานผลติ ภณั ฑอ์ ตุ สาหกรรม (มอก.) มคี วามสวยงาม สามารถใชเ้ ปน็ วสั ดกุ อ่ สรา้ งสำ� หรบั อาคารเขยี วได้ การน�ำไปใช้ประโยชน์ ผลิตและจ�ำหน่ายในเชิงพาณิชย์โดยบริษัทที่สนับสนุนผลงานวิจัย ตลอดจนถา่ ยทอดเทคโนโลยีใหก้ บั วิสาหกจิ ชุมชน การคมุ้ ครองทรัพย์สนิ ทางปัญญา 1. สิทธบิ ตั รเลขท่ี 4107 เร่อื ง กระเบื้องตกแตง่ โพลิเอทธลิ นี ผสมใยมะพรา้ ว 2. สทิ ธบิ ัตรเลขที่ 4108 เรือ่ ง กระเบ้ืองปพู น้ื -ผนงั ยางพาราผสมใยมะพร้าว รางวลั ทีไ่ ด้รับ (ระดับนานาชาติ) 1. Gold Prize จากงาน Seoul International Invention Fair 2016 (SIIF 2016) ณ กรุงโซล สาธารณรฐั เกาหลี 2. Special Award - Certificate of Achievement (This Certificate is presented in recognition of acreative invention, which shows notable potential to improve the quality of family life.) จาก TaiwanInvention Association จากงาน Seoul International Invention Fair 2016 (SIIF 2016) ณ กรงุ โซล สาธารณรฐั เกาหลี 49

รนะกั ดวบั จิ นัยาทนี่มาผี ชาลตงาิ ปนรวะิจจยั �ำไปดี ้ร2ับ5ร5า9งวัล เครอ่ื งเรยี นร้อู ักษรเบรลล์หลายภาษาและกล่องบรรจภุ ณั ฑ์ ที่มีการออกแบบให้มีการเข้าถงึ สูงสุดสาหรบั ผ้บู กพร่องทางการเหน็ Multi-Languagues Braille Learning Machine and IT’s Most Accessible Design Packaging for Visually Impaird ชือ่ เจ้าของผลงาน 1. รองศาสตราจารย์ ดร.สวุ รินทร์ ปัทมวรคณุ 2. นายกิตตกิ ร บุญมาตย์ 3. นางสาวอารียา ถนิ่ ขจร 4. นางสาวรัตตัญญู ตรนี นท์ หนว่ ยงาน คณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี เบอร์โทรศพั ท์ (มอื ถือ) : 08 5091 0220 E-mail: [email protected] [email protected]  ทมี่ าของผลงาน เคร่ืองเรียนรู้อักษรเบรลล์หลายภาษา จัดท�ำข้ึนตามโครงการ บริการวิชาการแก่สังคม โดยได้รับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุน ส่งเสริมและพัฒนาการศึกษาส�ำหรับคนพิการ กระทรวงศึกษาธิการ (ผ่านมลู นธิ สิ ากลเพอื่ คนพกิ าร) จ�ำนวน 5 ล้านบาท วนั เดอื นปที ี่เริม่ โครงการ 1/ก.พ./2558 วนั เดอื นปีท่ีส้นิ สุดโครงการ 30/ก.ย./2559 (ขยายเวลา)  ความเปน็ นวตั กรรม/ลกั ษณะเดน่ ของผลงาน งานวิจัยประกอบด้วยส่ิงประดิษฐ์ท่ีมีชิ้นงานเป็นระบบ คอมพิวเตอร์ฝังตัวท่ีประกอบด้วยส่วนฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ เพอ่ื ผบู้ กพรอ่ งทางการเหน็ ชน้ิ งานใชไ้ ดแ้ บบ Stand Alone ประดษิ ฐ์ ขึ้นใหม่ (Newly Introduced) สร้างโดยมีแนวคิดเร่ิมต้นขึ้นเอง (Originality) และสร้างขึ้นสอดคล้องกับความต้องการของ กลมุ่ เป้าหมาย (Niche Users)  การนำ� ไปใช้ประโยชน์ เครื่องเรียนรู้อักษรเบรลล์หลายภาษาใช้เรียนอักษรเบรลล์ไทย อักษรเบรลล์อังกฤษ และอักษรเบรลล์จีน สร้างข้ึนเพ่ือ มุ่งหวังใช้กับเด็กเล็กท่ีตาบอด ที่เริ่มหัดเรียนอักษรเบรลล์ หรือผู้ตาบอดใหม่ (ซ่ึงต้องสื่อสารกับบุคคลอื่นด้วยอักษรเบรลล์ เพื่อใช้แทนการสอนแบบเดิมที่เรียนรู้ได้ช้า โดยครูใช้แผ่นผ้าหรือกระดาษท�ำเป็นจุดเบรลล์และใช้วิธีท่องจ�ำ โดยเครื่องมีเสียง ทุกอักษรท่ีกดจุดเซลล์ ประสมเป็นพยางค์ เป็นค�ำ และเป็นประโยค และโต้ตอบกับผู้ใช้งานได้ด้วยภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และภาษาจีน) การจัดสร้างตามโครงการได้ผลลัพธ์เป็นเคร่ืองฯ จ�ำนวน 100 เคร่ือง และส่งไปยังโรงเรียนเป้าหมาย จ�ำนวน 6 สถานที่  การคุม้ ครองทรัพยส์ นิ ทางปญั ญา สทิ ธบิ ตั รเลขท่ี 1101001417, 1602002568, 1602002569, 1602002570 ลขิ สทิ ธเ์ิ ลขที่ ว1.6091, ว1.39738, ว1.39737  รางวลั ทไ่ี ดร้ ับ (ระดบั นานาชาต)ิ 1. Gold Medal with Mental จากงาน Eureka Brussel 2016 2. Gold Prize จากงาน Seoul International Invention Fair 2016 (SIIF 2016) ณ กรงุ โซล สาธารณรฐั เกาหลี 3. รางวัลพิเศษจากสาธารณรฐั อหิ ร่าน, กาตาร์50

นกั วริจะดัยับทนี่มาผี นลางชาานตวิ ิจปัยรไะดจร้�ำบัปรี 2าง5ว5ลั9 แผน่ หนงั สอื อเิ ลก็ ทรอนิกสพ์ รอ้ มแสง-เสยี ง-เบรลล์ เพอื่ การเรียนรู้และเพลิดเพลนิ ส�ำหรบั เดก็ ทีม่ คี วามบกพร่องทางการเหน็ Edutainment Light-Sound-Braille Electronic Tablet for Visually Impaired Children ช่ือเจา้ ของผลงาน 1. รองศาสตราจารย์ ดร.สวุ รินทร์ ปทั มวรคณุ 2. นายกติ ติกร บุญมาตย์ 3. นางสาวอารียา ถิน่ ขจร 4. นางสาวรตั ตัญญู ตรนี นท์ หน่วยงาน คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี เบอร์โทรศัพท์ (มือถอื ) : 08 5091 0220 E-mail: [email protected] [email protected] ท่มี าของผลงาน หนังสือเสียงอิเล็กทรอนิกส์สร้างข้ึนเป็นรูปเล่มฉบับหนังสือโดยเน้นเรื่องสตั ว์ คือ นก เพ่อื ใช้กบั นักเรียนช้ันอนุบาล 2 - 3 และป. 1 - 4 ของโรงเรียนสอนคนตาบอดกรุงเทพ เพ่ือให้นักเรียนได้ศึกษาเร่ืองนกก่อนไปเข้าค่ายลูกเสือของโรงเรียน ต่อมาได้ขยายผลงานเป็นรูปแบบที่ใช้ได้สะดวกมากย่ิงข้ึน และให้มีการกระจายการใช้งานได้มากทีส่ ุด ความเปน็ นวตั กรรม/ลักษณะเดน่ ของผลงาน งานวิจัยประกอบด้วยส่ิงประดิษฐ์ที่มีช้ินงานเป็นระบบคอมพิวเตอร์ฝังตัวท่ีประกอบด้วยส่วนฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์เพอื่ ผบู้ กพรอ่ งทางการเหน็ ชนิ้ งานใชไ้ ดแ้ บบ Stand Alone ประดษิ ฐ์ขึ้นใหม่ (Newly Introduced) สร้างโดยมีแนวคิดเร่ิมต้นข้ึนเอง (Originality) และสร้างข้ึนสอดคล้องกับความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย (Niche Users) การนำ� ไปใชป้ ระโยชน์ หนังสือเป็นชิ้นงานท่ีสามารถจับต้องได้ทางกายภาพ มี Hardware (ท่ีท�ำให้เกิดเสียง เกิดแสง) คือ บอร์ด วงจรเป็นตัวประมวลผลและส่ังการการท�ำงานให้มีเสียงออกทางล�ำโพงหรือหูฟัง และเชื่อมต่อไปยังแบตเตอรี่เพ่ือประจุไฟฟ้าสามารถเพมิ่ ข้อมูลท่ี Memory คือ SD Card ได้โดยตรง หนังสือที่อ่านดว้ ยการสัมผสั ของผตู้ าบอดสนทิ คือ อักษรเบรลล์เปน็ ส่ือของผู้พิการด้านอื่นที่มีสายตาปกติ มีความรู้ท่ีพิมพ์เป็นอักษรคนสายตาปกติและรูปภาพสวยงาม แต่ได้เพ่ิมขนาดและให้มีสีเพ่อื ให้คนตาบอดรางเลือนตามหลกั การออกแบบทเ่ี ป็นสากล การคุม้ ครองทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญา สิทธิบัตรเลขท่ี 1403001198, 1602004270, 1602004271 ลขิ สทิ ธ์ิทะเบียนข้อมูลเลขท่ี ว1.6092, ว1.6093 รางวลั ท่ีได้รบั (ระดับนานาชาต)ิ 1. Silver Prize จากงาน Seoul International Invention Fair 2016 (SIIF 2016) ณ กรงุ โซล สาธารณรฐั เกาหลี 2. รางวัลพเิ ศษจากประเทศตุรกี 51

นระกั ดวบั ิจนัยาทน่ีมาผี ชาลตงาิ ปนรวะิจจัย�ำไปดี ร้ 2ับ5ร5า9งวัล เสน้ ดา้ ยจากเส้นใยผกั ตบชวา Yarns made from Water Hyacinth Fiber ชื่อเจา้ ของผลงาน 1. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สาคร ชลสาคร 2. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.รัตนพล มงคลรตั นาสทิ ธ์ิ 3. อาจารยศ์ ุภนชิ า ศรวี รเดชไพศาล หน่วยงาน คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์  มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี เบอร์โทรศพั ท์ (มอื ถือ) : 08 6618 4639 E-mail: [email protected] [email protected]   ทม่ี าของผลงาน เส้นด้ายจากเส้นใยผักตบชวา เป็นเส้นด้ายที่ผลิตจากพืช ธรรมชาติ คือ ผักตบชวา โดยการน�ำต้นผักตบชวามาแยกสกัด เส้นใยด้วยวิธีทางเชิงกล จากน้ันน�ำมาปั่นเป็นเส้นด้ายด้วยระบบ open-end spinning ซึ่งเส้นด้ายมีผิวสัมผัส ปุ่มปม น้�ำหนักเบา ดดู ซมึ ความชน้ื ไดส้ งู สามารถนำ� ไปถกั ทอเปน็ ผนื ผา้ และพฒั นาเปน็ ผลติ ภณั ฑ์สงิ่ ทอและเครื่องนุง่ ห่มไทย  ความเปน็ นวัตกรรม/ลกั ษณะเด่นของผลงาน เส้นด้ายจากเส้นใยผักตบชวา เป็นนวัตกรรมการผลิต เสน้ ด้ายจากวชั พืชในแมน่ �้ำ ล�ำคลอง ซ่งึ เปน็ การผลิตเสน้ ด้ายจาก เสน้ ใยธรรมชาตใิ นระดบั อตุ สาหกรรมครงั้ แรกของเมอื งไทย ถอื เปน็ การยกระดบั เทคโนโลยแี ละมาตรฐานอตุ สาหกรรมสงิ่ ทอไทย ลดการนำ� เขา้ เสน้ ใยธรรมชาติ และเพมิ่ ความสามารถในการแขง่ ขนั ของอตุ สาหกรรมสิ่งทอตน้ น้ำ�  การนำ� ไปใช้ประโยชน์ กลุม่ ผปู้ ระกอบการ วิสาหกจิ ชุมชนและผู้ทีส่ นใจ สามารถน�ำเส้นด้ายจากเสน้ ใยผกั ตบชวา ออกแบบและผลิตเป็นผา้ ผืน และผลติ ภัณฑ์สิ่งทอส่เู ชงิ พาณิชย์ สามารถสนองตอบต่อความตอ้ งการของตลาดของสิง่ ทอ และเปน็ มติ รตอ่ สิ่งแวดล้อม  การคุม้ ครองทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญา เลขที่คำ� ขอรบั อนสุ ทิ ธบิ ตั ร 1603000513  รางวัลทีไ่ ดร้ ับ (ระดับนานาชาต)ิ Silver Prize และ The best Invention จากงาน Seoul International Invention Fair (SIIF 2016) ณ กรงุ โซล สาธารณรฐั เกาหลี52

นกั วริจะดัยบัทนม่ี าผี นลางชาานตวิ ิจปยั รไะดจร้ำ� บัปรี 2าง5ว5ลั9ผลติ ภณั ฑ์ขา้ วไรซเ์ บอรีเ่ พาะงอกหงุ สกุ ในภาชนะพลาสตกิ อ่อนตวั ปดิ สนิทGerminated Rice Berry Product in Retort Pouchช่อื เจา้ ของผลงาน ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สนุ นั ปานสาครหน่วยงาน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ีเบอร์โทรศัพท์ (มือถอื ) : 08 9671 2945E-mail: [email protected] [email protected] ที่มาของผลงาน เนื่องด้วยมีการน�ำข้าวมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ เพื่อการบรโิ ภคในหลายรูปแบบ ซ่ึงหนึ่งในน้นั คอื ขา้ วกล้องงอก (Germinatedbrown rice หรอื GABA-rice) ซง่ึ ถอื เปน็ นวตั กรรมหนงึ่ ทไี่ ดร้ บั ความสนใจเน่ืองจากเมื่อข้าวกล้องมาผ่านกระบวนการงอก จะช่วยส่งเสริมให้ข้าวกล้องมีสารอาหารเพ่ิมมากข้ึนจากเดิม ประกอบกับการใช้ชีวิตที่เร่งรบี ของคนในปจั จุบัน ดังน้ันการบริโภคอาหารส่วนใหญจ่ งึ เปน็ อาหารสำ� เรจ็ รปู กง่ึ สำ� เรจ็ รปู และใหค้ ณุ คา่ ทางโภชนาการมปี ระโยชนต์ อ่ รา่ งกาย การแปรรูปข้าวไรซ์เบอรี่เป็นผลิตภัณฑ์ชนิดข้าวไรซ์เบอร่ีงอกหุงสุกในภาชนะพลาสตกิ ออ่ นตัวปิดสนิท หรือ “รีทอร์ทเพาซ”์ จงึ เปน็ อีกทางเลอื กหน่ึงสำ� หรับผบู้ รโิ ภค งานวจิ ยั นีจ้ ึงมวี ัตถุประสงค์ในการศึกษาผลของความร้อนต่อความคงตัวของแอนโทไซยานินและสมบัติทางกายภาพของข้าวไรซ์เบอรี่งอกหุงสุกในภาชนะพลาสตกิ อ่อนตัวปดิ สนทิ เปน็ ผลติ ภัณฑท์ างเลือกที่น่าสนใจ เขา้ กับยุคสมัยทร่ี วดเรว็ เหมาะกบั ผ้ทู สี่ นใจดูแลสขุ ภาพ ความเปน็ นวตั กรรม/ลักษณะเด่นของผลงาน ผลิตภณั ฑข์ า้ วไรซเ์ บอรเี่ พาะงอกหงุ สุกในภาชนะพลาสติกออ่ นตวั ปดิ สนทิ ถือเปน็ นวัตกรรมใหมใ่ นแง่ของผลติ ภัณฑ์ใหม่ทน่ี ำ� องคค์ วามรพู้ นื้ ฐานทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละกระบวนการแปรรปู ทม่ี อี ยแู่ ลว้ คอื การฆา่ เชอื้ ผลติ ภณั ฑอ์ าหารดว้ ยระบบกาสเตอรไิ รซ์มาพัฒนา รวมถึงเป็นการใช้ความรู้ในหลากหลายศาสตร์ผสมผสานกัน พร้อมทั้งอาศัยทักษะประสบการณ์ของผู้ปฏิบัติงานบนพน้ื ฐานของการมคี วามคดิ สรา้ งสรรค์ ดงั นน้ั ผลติ ภณั ฑข์ า้ วไรซเ์ บอรเ่ี พาะงอกหงุ สกุ ในภาชนะพลาสตกิ ออ่ นตวั ปดิ สนทิ สามารถยืดอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ให้ยาวนานขึ้น ผู้บริโภคสามารถเลือกบริโภคผลิตภัณฑ์จากข้าวได้อย่างสะดวก ลดระยะเวลาในการเตรยี มอาหารใหน้ อ้ ยลงแตไ่ ดอ้ าหารทม่ี คี ณุ คา่ ทางโภชนาการสงู เปน็ ผลติ ภณั ฑท์ างเลอื กทน่ี า่ สนใจ เขา้ กบั ยคุ สมยั ทร่ี วดเรว็เหมาะกบั ผู้ท่ีสนใจดแู ลสขุ ภาพ นอกจากนี้ผลติ ภัณฑน์ ี้สามารถท�ำใหเ้ กิดมูลค่าเพิ่มข้นึ โดยนำ� ไปขยายกำ� ลังการผลติ เพอ่ื การผลติเชิงพาณชิ ยไ์ ด้ การนำ� ไปใช้ประโยชน์ เน่ืองจากผลิตภัณฑ์ข้าวไรซ์เบอร่ีเพาะงอกหุงสุกในภาชนะพลาสติกอ่อนตัวปิดสนิท อยู่ในข้ันตอนการทดสอบจนได้สภาวะทีเ่ หมาะสมและรอการน�ำไปผลติ เชงิ พาณชิ ยต์ ่อไป การคมุ้ ครองทรัพยส์ นิ ทางปญั ญา เลขท่ีค�ำขอรบั อนุสิทธิบตั ร 1603002137 รางวลั ทไ่ี ดร้ ับ (ระดบั นานาชาต)ิ Silver prize จากงาน Seoul International Invention Fair (SIIF 2016) ณ กรงุ โซล สาธารณรัฐเกาหลี 53

รนะักดวับจิ นยั าทนม่ี าีผชาลตงาิ ปนรวะจิ จัย�ำไปดี ร้ 2ับ5ร5า9งวัล สปีดวอลล์ : ผนงั มวลเบาส�ำเร็จรปู ก่อสร้างเรว็ Speed Wall: Light Weight Prefabricated Wall for Fast Construction ชือ่ เจา้ ของผลงาน นายประชมุ ค�ำพุฒ หนว่ ยงาน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี เบอร์โทรศพั ท์ (มือถอื ) : 08 1665 4755 E-mail: [email protected] [email protected]  ทีม่ าของผลงาน ทิศทางการก่อสร้างอาคารด้วยผนังส�ำเร็จรูปก�ำลังได้รับความนิยมมากขึ้น เนื่องจากสามารถก่อสร้างได้รวดเร็ว ใช้แรงงานน้อย และมีคุณภาพคงที่กว่า การก่ออิฐฉาบปูนท่ัวไป แต่ด้วยน้�ำหนักที่มากของผนังส�ำเร็จรูป การขนส่งและ การติดตั้งที่ต้องใช้เคร่ืองจักรขนาดใหญ่ ท�ำให้การก่อสร้างด้วยผนังส�ำเร็จรูปนิยม ใช้เฉพาะในบริษัทขนาดใหญ่เท่าน้ัน ดังนั้นการคิดค้นวิธีการท�ำให้น้�ำหนักของ ผนงั สำ� เร็จรปู เบาลง นอกจากจะชว่ ยลดขนาดของโครงสรา้ งอาคารแล้ว ยังชว่ ยลด คา่ ใชจ้ ่ายในการขนส่ง และท�ำก่อสร้างได้เร็วขนึ้ ดว้ ย  ความเป็นนวัตกรรม/ลักษณะเดน่ ของผลงาน สปดี วอลล์ : ผนงั มวลเบาสำ� เรจ็ รปู กอ่ สรา้ งเรว็ แกไ้ ขปญั หาของผนงั สำ� เรจ็ รปู แบบเดิม โดยการใช้พอลิเมอร์น้�ำหนักเบา มาเป็นส่วนผสมส�ำคัญในการข้ึนรูป พร้อมท้ังมีการออกแบบรูปร่างและลักษณะโดยค�ำนึงถึงขั้นตอนการก่อสร้างทุก ข้ันตอน เพื่อให้ได้นวัตกรรมท่ีมีลักษณะเฉพาะตัวที่เด่นมากในด้านของความ หนาแนน่ ตำ�่ แตม่ คี วามยดื หยนุ่ ตวั สงู มาก นำ�้ หนกั เบาเพยี งครง่ึ หนง่ึ ของผนงั คอนกรตี ส�ำเร็จรูปทั่วไป จึงสามารถใช้แรงงานคนติดตั้งได้ง่ายโดยไม่ต้องใช้เคร่ืองจักร ช่วย ทำ� การเคลอ่ื นย้าย-ติดตง้ั ไดส้ ะดวก รวดเร็ว สามารถเลื่อย เจาะ ตอก ไดง้ ่าย มรี าคาไมแ่ พง และเป็นฉนวนป้องกนั ความร้อนได้ดี  การน�ำไปใช้ประโยชน์ ผลติ และจำ� หนา่ ยในเชงิ พาณชิ ย์โดยบรษิ ัทท่สี นบั สนุนผลงานวจิ ัย  การคมุ้ ครองทรพั ย์สนิ ทางปัญญา 1. เลขที่คำ� ขอรับสทิ ธิบตั ร 1001001077 เลขที่ประกาศโฆษณาสทิ ธิบตั ร 125099 เรอ่ื ง คอนกรีตบลอ็ กผสมเศษผลติ ภณั ฑ์พลาสตกิ เอทธิลีนไวนิลอะซิเตท 2. เลขท่คี ำ� ขอรบั สิทธบิ ัตร 1201005250 เลขที่ประกาศโฆษณาสิทธิบัตร 134400 เรื่อง บล็อกปูพื้นน�้ำหนักเบา ดูดกลืนความร้อนต่�ำและซึมผ่านน้�ำสูงจาก เศษผลติ ภณั ฑพ์ ลาสตกิ เอทธลิ ีนไวนลิ อะซเิ ตท  รางวลั ท่ีได้รับ (ระดับนานาชาติ) Silver Prize จากงาน Seoul International Invention Fair 2016 (SIIF 2016) ณ กรุงโซล สาธารณรฐั เกาหลี54

นกั วรจิะดยั ับทนม่ี าผี นลางชาานตวิ จิปัยรไะดจ้รำ� ับปรี 2าง5ว5ลั9 เพเฟอร์ : ผลติ ภณั ฑ์แผ่นผนงั ดินอดั ส�ำเร็จรปู ที่ต้านทานการชะล้างสงู PAPHER: Precast Adobe Wall Panel with High Erosion Resistance ช่ือเจ้าของผลงาน นายประชมุ คำ� พุฒ หน่วยงาน คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี เบอร์โทรศัพท์ (มือถอื ) : 08 1665 4755 E-mail: [email protected] [email protected] ที่มาของผลงาน บ้านดินที่ได้รับความนิยมในประเทศไทยมีปัญหาใหญ่ในเร่ืองของการพังทลายจากน�้ำท่วมขัง และฝนตกชุก อีกทั้งการผลิตก้อนดินเหนียวต้องใช้ระยะเวลานานในการท�ำให้แห้ง และมีความสกปรกเปรอะเปื้อนในการผลิตและการก่อสร้าง ซึ่งหากท�ำการพัฒนาและแก้ไขปัญหาดังกล่าวแล้ว ก็จะท�ำให้บ้านท่ีก่อสร้างด้วยผนังดินดิบได้รับความนิยมเพ่ิมมากขึ้น และสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มในเชิงพาณิชยไ์ ด้ ความเป็นนวตั กรรม/ลกั ษณะเดน่ ของผลงาน เพเฟอร์ : ผลิตภัณฑ์แผ่นผนังดินอัดส�ำเร็จรูปที่ต้านทานการชะล้างสูงเป็นผนังดินอัดส�ำเร็จรูปท่ีพัฒนาจากก้อนอิฐดินเหนียวแบบเดิม ให้สามารถต้านทานต่อการชะล้างได้สูงด้วยการผสมวัตถุดิบธรรมชาติ และท�ำการอัดแน่นแบบพิเศษ เป็นแผน่ ผนงั ดินอดั สีสันสวยงาม จดั จ�ำหน่ายอยู่ในกล่องบรรจุภัณฑ์ง่ายต่อการขนส่งและการก่อสร้าง ใช้ส�ำหรับการก่อสร้างบ้านดินเพื่อการพักอาศยั ทว่ั ไป หรอื ประกอบธรุ กจิ รสี อรท์ บา้ นพกั ตากอากาศ สง่ เสรมิ การทอ่ งเทยี่ วเชงิ อนรุ ักษ์ และประหยดั พลงั งาน การนำ� ไปใช้ประโยชน์ ผลิตและจ�ำหน่ายในเชิงพาณิชย์โดยบริษัทท่ีสนับสนุนผลงานวิจัยตลอดจนถา่ ยทอดเทคโนโลยใี หก้ บั วิสาหกิจชมุ ชน การคุ้มครองทรัพย์สินทางปญั ญา 1. สิทธบิ ัตรเลขท่ี 8107 เร่ือง ก้อนดนิ ท่มี สี ว่ นผสมของน้�ำยางธรรมชาติและกระบวนการผลติ 2. เลขท่ีคำ� ขอรบั สิทธิบตั ร 1603002059 เร่ือง กรรมวิธีการผลติ แผน่ ผนงั ดนิ อดั ส�ำเร็จรปู ทตี่ า้ นทานการชะลา้ งสงู ชนิดมีรูทะลุถงึ กนั สองด้าน รางวลั ท่ีไดร้ บั (ระดับนานาชาติ) Bronze Prize จากงาน Seoul International Invention Fair 2016 (SIIF 2016) ณ กรุงโซล สาธารณรฐั เกาหลี 55

นระักดวับจิ นยั าทนม่ี าีผชาลตงาิ ปนรวะิจจัย�ำไปดี ร้ 2ับ5ร5า9งวลั ผลิตภัณฑ์วัสดุก่อสร้างมวลเบาส�ำหรับอาคารเขียวจากเศษพลาสติกเหลือทิ้ง เพือ่ การอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม Light-weight Construction Materials for Green Building with Plastic Wastes for Energy and Environmental Conservation ชื่อเจา้ ของผลงาน นายประชมุ ค�ำพุฒ หน่วยงาน คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี เบอรโ์ ทรศพั ท์ (มอื ถือ) : 08 1665 4755 E-mail: [email protected] [email protected]  ทีม่ าของผลงาน วัสดุก่อสร้างมวลเบาที่นิยมในปัจจุบันนั้น ท�ำมาจากกระบวนการแบบ ฟองอากาศ-อบไอน้�ำ ซ่งึ มตี ้นทุนที่สูงและไม่เหมาะกบั บริษัทขนาดเล็กหรือวิสาหกจิ ขนาดกลางและขนาดยอ่ มทม่ี งี บประมาณในการลงทนุ ไมส่ งู มาก ผปู้ ระกอบการเหลา่ นี้ จึงได้หาวิธีการผลิตวัสดุก่อสร้างมวลเบาโดยการใช้มวลรวมน�้ำหนักเบาซ่ึงส่วนใหญ่ เป็นวัสดุเหลือทิ้งจากภาคอุตสาหกรรม โดยวัสดุจ�ำพวกเศษพลาสติกเหลือทิ้งจาก โรงงานมคี วามเหมาะสมกบั การนำ� มาใชพ้ ฒั นาคณุ สมบตั ขิ องวสั ดกุ อ่ สรา้ งใหม้ นี ำ้� หนกั เบาและมีความแขง็ แรงเพยี งพอตอ่ การใช้งาน  ความเปน็ นวตั กรรม/ลักษณะเด่นของผลงาน ผลติ ภณั ฑว์ สั ดกุ อ่ สรา้ งมวลเบาสำ� หรบั อาคารเขยี วจากเศษพลาสตกิ เหลอื ทง้ิ เพื่อการอนุรักษ์พลังงานและส่ิงแวดล้อม เป็นวัสดุก่อสร้างมวลเบาท่ีใช้มวลรวม หลกั เปน็ เศษพลาสตกิ เหลอื ทงิ้ จากภาคอตุ สาหกรรม ผลติ ดว้ ยเทคโนโลยรี ะดบั ชมุ ชน ท่ีมีต้นทุนต�่ำ ใช้ประโยชน์เป็นมวลรวมในการผสมคอนกรีตโครงสร้างอาคาร และ ผลติ เป็นสินคา้ ผลติ ภณั ฑ์คอนกรตี บล็อก อิฐบล็อกประสาน บลอ็ กปพู น้ื ฝา้ เพดาน ทม่ี คี ณุ สมบตั ผิ า่ นตามเกณฑม์ าตรฐานผลติ ภณั ฑอ์ ตุ สาหกรรม (มอก.) ของผลติ ภณั ฑ์ แต่ละประเภท  การนำ� ไปใชป้ ระโยชน์ ผลติ และจำ� หนา่ ยในเชิงพาณชิ ย์โดยบรษิ ัทที่สนบั สนุนผลงานวิจยั  การคุ้มครองทรพั ยส์ ินทางปญั ญา 1. เลขทคี่ ำ� ขอรับสิทธบิ ัตร 1001001077 เลขทป่ี ระกาศโฆษณาสทิ ธบิ ัตร 125099 เรือ่ ง คอนกรตี บลอ็ กผสมเศษผลติ ภัณฑ์พลาสตกิ เอทธลิ นี ไวนิลอะซิเตท 2. เลขท่ีคำ� ขอรับสิทธิบตั ร 1201005250 เลขท่ีประกาศโฆษณาสิทธิบัตร 134400 เร่ือง บล็อกปูพ้ืนน�้ำหนักเบา ดูดกลืนความร้อนต่�ำและซึมผ่านน�้ำสูงจาก เศษผลิตภัณฑ์พลาสติกเอทธิลนี ไวนิลอะซิเตท  รางวัลท่ีได้รบั (ระดบั นานาชาต)ิ Bronze Prize จากงาน Seoul International Invention Fair 2016 (SIIF 2016) ณ กรงุ โซล สาธารณรฐั เกาหลี56

นกั วรจิะดยั บัทนีม่ าีผนลางชาานตวิ จิปยั รไะดจ้รำ� บัปรี 2าง5ว5ลั9การออกแบบบรรจภุ ัณฑ์ส�ำหรับผลิตภณั ฑ์งานเป่าแก้วของศนู ยศ์ ลิ ปาชีพบางไทรในสมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชนิ นี าถPackaging Design for Blowing Glass Product of Bangsai Royal Folk Artsand Crafts Centre under the Patronage of Her Majeesty Queen Sirikit.ช่ือเจ้าของผลงาน ผชู้ ่วยศาสตราจารย์จฑุ ามาศ เจรญิ พงษ์มาลาหน่วยงาน คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ีเบอรโ์ ทรศัพท์ (มอื ถอื ) : 08 9515 4442E-mail: [email protected] ที่มาของผลงาน แนวคิดในการออกแบบโครงสร้างบรรจุภัณฑ์จะค�ำนึงถึงการแสดงโชว์สินค้าผลิตภัณฑ์เป่าแก้วได้และสะดวกในการขนส่งโดยมีส่วนประกอบอยู่ 2 สว่ น คือ สว่ นที่ 1 โครงสร้างชั้นในเปน็ ฐานล็อค ท�ำหน้าทีเ่ ปน็ ตัวจับยดึตัวสินค้าไม่ให้เคลอื่ นที่ สว่ นที่ 2 โครงสรา้ งภายนอกเปน็ รปู ทรงกลอ่ งสเ่ี หลยี่ ม สามารถพับกล่องขึ้นรูปโดยไม่ต้องใช้กาว เม่ือเปิดกล่องออกมาสามารถโชว์ผลิตภัณฑ์เป่าแก้วได้ เพ่ือลดการใช้วัสดุสิ้นเปลือง กราฟิกสามารถสื่อเอกลกั ษณค์ วามเปน็ ไทย ความเปน็ นวตั กรรม/ลกั ษณะเดน่ ของผลงาน การออกแบบโครงสร้างบรรจุภัณฑ์เป่าแก้วสามารถคุ้มครองตัวผลิตภัณฑ์เป่าแก้วได้ มีฐานล็อคตัวสินค้าไม่ให้เคล่ือนท่ี โครงสร้างกล่องเป็นรูปทรงส่ีเหลี่ยม เป็นกล่องแบบพับได้ สามารถพับขึ้นรูปโดยไม่ต้องใช้กาว มีระบบล็อคแบบขนึ้ รปู ในตวั บรรจภุ ณั ฑม์ คี วามเหมาะสมกบั การวางจ�ำหนา่ ยและสามารถเปดิ โชวส์ นิ คา้ ได้ ใชว้ สั ดกุ ระดาษลกู ฟกู ชนดิของลอน E การออกแบบกราฟิกบรรจุภัณฑ์เป่าแก้วได้น�ำรูปแบบอาคารศาลาพระม่ิงขวัญ ซ่ึงเป็นอาคารทรงไทยประยุกต์ มาเป็นแนวคิดในการออกแบบลวดลาย เคร่ืองหมายการค้าใช้ชื่อว่า “ต้นแก้ว” ส่วนด้านข้างกล่องแสดงท่ีอยู่ผู้ผลิต ลวดลายด้านข้างและด้านหลังกล่องสามารถจัดวางลายต่อเนื่องกราฟิกใช้สีโทนสีม่วง ซึ่งเป็นสีประจ�ำของศูนยศ์ ิลปาชีพบางไทร การน�ำไปใช้ประโยชน์ บรรจภุ ณั ฑเ์ ปา่ แกว้ ในการออกแบบโครงสรา้ งตอบสนองตอ่ การใชง้ านไดจ้ รงิ เพอ่ื สะดวกตอ่ การบรรจแุ ละคมุ้ ครองผลติ ภัณฑเ์ ปา่ แกว้ การพฒั นาผลงานไปสูเ่ ชิงพาณชิ ย ์ บรรจุภัณฑม์ ีความเหมาะสมที่จะผลิตเพื่อการจัดจ�ำหน่ายได้จรงิช่วยสรา้ งมูลคา่ เพ่ิมให้กับสินคา้ ผลิตภณั ฑ์เปา่ แกว้ เพ่อื การจ�ำหนา่ ยได้ การค้มุ ครองทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญา สทิ ธบิ ตั รเลขท่ี 47102 สิทธบิ ตั รเลขท่ี 47103  รางวัลทไ่ี ดร้ บั (ระดับนานาชาต)ิ รางวลั ประกวดบรรจภุ ัณฑ์ Asia Star Packaging Awards 2016 ณ ประเทศอินเดีย 57



นักวจิ ัยทไ่ี ดร้ ับรางวัลตปามรเะกจณ�ำฑป์กี า2ร5ป5ดิ 8โคร-งก2า5ร5ว9จิ ัย

นกาักรวปิจิดัยโทค่ไี รดงร้ กับารราวงิจวยั ัลตามเกณฑ์ประจ�ำปี 2558 ช่ือโครงการวิจัย : เคร่ืองคัดแยกและนับผลมะนาวแบบอัตโนมัติโดยใช้พลังงาน แสงอาทติ ยเ์ ป็นแหล่งพลังงาน ผศ.ดร.สุรินทร์ แหงมงาม คณะวศิ วกรรมศาสตร์  ชื่อวารสาร/การประชมุ : สรุ นิ ทร์ แหงมงาม, รัฐพล จินะวงศ,์ สุทธี ทบั ทองดี, ศศวิ รรณ อินทรวงศ,์ สหทตั ออมทรพั ย์ และเมธาพล ถีติปริวัตร,์ “เครอ่ื งคดั แยกและนบั ผลมะนาวแบบอัตโนมตั ิโดยใชพ้ ลงั งาน แสงอาทิตย์เป็นแหล่งพลังงาน.” การประชุมสัมมนาวิชาการรูปแบบพลังงานทดแทนสู่ชุมชน แห่งประเทศไทย ครง้ั ที่ 7, ประจวบครี ขี นั ธ.์ 12 - 14 พฤศจิกายน 2557, หนา้ 669 - 674. ชอ่ื โครงการวจิ ยั : การศกึ ษาและวเิ คราะหค์ วามตอ้ งการการใชพ้ ลงั งานไฟฟา้ ในอนาคต และพจิ ารณาการลดการปลอ่ ยกา๊ ซคารบ์ อนไดออ๊ กไซดใ์ นกรณที มี่ กี ารใชร้ ถไฟฟา้ BTS, MRT รถยนตไ์ ฟฟ้า EV และ PHEV ในประเทศไทยโดยใช้แบบจ�ำลองทางคณติ ศาสตร์  ชื่อวารสาร/การประชุม : สุรินทร์ แหงมงาม, ศศิวรรณ อินทรวงศ์, สักรินทร์ ตรียุทธ และ ปภัสรา แจ้งจิตย์, “การศึกษาและวิเคราะห์ความต้องการการใช้พลังงานไฟฟ้าในอนาคตและพิจารณา การลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดอ๊อกไซด์ในกรณีที่มีการใช้รถไฟฟ้า BTS, MRT รถยนต์ไฟฟ้า EV และ PHEV ในประเทศไทยโดยใช้แบบจ�ำลองทางคณิตศาสตร์.” การประชุมสัมมนาวิชาการรูปแบบ พลังงานทดแทนสู่ชุมชนแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 7, ประจวบคีรีขันธ์, 12 - 14 พฤศจิกายน 2557, หน้า 457 - 462.ผศ.ดร.สุนนั ปานสาคร ช่ือโครงการวิจัย : ศึกษากระบวนการผลิต ผลิตภัณฑ์ข้าวกล้องหอมนิลออแกนิคคณะวศิ วกรรมศาสตร์ เพาะงอกหงุ สุกในภาชนะพลาสตกิ ออ่ นตัวปิดสนิทดร.จตพุ ล ตงั้ ปกาศิตคณะวิศวกรรมศาสตร์  ชอ่ื วารสาร/การประชมุ : สนุ นั ปานสาคร, และจตรุ งค์ ลงั กาพนิ ธ,์ุ “สภาวะทเ่ี หมาะสมในการเตรยี ม ขา้ วกล้องหอมนิลออแกนิคเพาะงอกหงุ สุกในภาชนะพลาสตกิ ออ่ นตัวปดิ สนิท.” วารสารวิศวกรรมศาสตร์ ราชมงคลธัญบุรี, ปีที่ 14(1), 2559, หนา้ 65 - 75. ชื่อโครงการวิจัย : การพัฒนาวิธีการประเมินการต้านทานซัลเฟตของคอนกรีต ในสารละลายซัลเฟต  ช่อื วารสาร/การประชุม : ปิติศานต์ กรำ้� มาตร, จตุพล ตงั้ ปกาศิต, ร�ำพงึ ชัยหลีเจริญ และสมนึก ต้ังเติมสิริกุล, “การขยายตัวและการสูญเสียน้�ำหนักในสารละลายซัลเฟตของมอร์ต้าร์ผสมเถ้าลอย ตะกรันเตาถลุงเหล็กบดละเอียด ซิลิกาฟูมและผงหินปูน.” วารสารวิศวกรรมศาสตร์ ราชมงคลธัญบุรี, ปีที่ 14(1), 2559, หนา้ 1 - 12. ชื่อโครงการวิจัย : การศึกษาเชิงทดลองของแอสฟัลต์คอนกรีตที่เปล่ียนแปลง ปริมาณวัสดุชน้ั ผวิ ทางเดิมหมนุ เวยี นเพอื่ ใช้งานใหม่  ชื่อวารสาร/การประชุม : นิรชร นกแก้ว และด�ำรง ปาละกุล, “สมบัติทางกายภาพของแอสฟัลต์ คอนกรีตโดยวิธีมาร์แชลล์เมื่อใช้ปริมาณวัสดุชั้นผิวทางเดิมหมุนเวียนเพื่อใช้งานใหม่ต่างกัน.” วารสาร วิศวกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศรีนครนิ ทรวโิ รฒ, ปีที่ 11(1), 2559, หนา้ 28 - 37. ผศ.นริ ชร นกแกว้ คณะวศิ วกรรมศาสตร์60

นักวจิ ัยท่ีไดร้กับารราปงิดวโัลคตรงากมาเกรวณิจฑัย์ผศ.ดร.ปิติศานต์ กรำ�้ มาตร ชอ่ื โครงการวจิ ยั : คณุ สมบตั ขิ องคอนกรตี เมอ่ื ใชเ้ ถา้ ลอยทม่ี ปี รมิ าณแคลเซยี มออกไซด์ คณะวศิ วกรรมศาสตร์ อสิ ระตา่ งกนั  ชอื่ วารสาร/การประชมุ : ปติ ศิ านต์ กรำ้� มาตร, สมโชค สขุ แยม้ , ปานเทพ จลุ นพิ ฐิ วงษ,์ ราพงึ ชยั หลเี จรญิ และสมนึก ต้ังเติมสิริกุล, “ผลกระทบของเถ้าลอยท่ีมีปริมาณแคลเซียมออกไซด์อิสระสูงต่อคุณสมบัติ ดา้ นซเี มนตแ์ ละการหดตวั แบบออโตจนี สั และแบบแหง้ ของมอรต์ า้ รผ์ สมเถา้ ลอย.” วารสารวศิ วกรรมศาสตร์ ราชมงคลธัญบรุ ,ี ปที ี่ 14(1), 2559, หน้า 55 - 64. ชอ่ื โครงการวจิ ยั : การออกแบบคอนกรตี ทเ่ี หมาะสมเพอ่ื สมั ผสั กบั สงิ่ แวดลอ้ มซลั เฟต  ช่ือวารสาร/การประชุม : ปิติศานต์ กร้�ำมาตร, อิทธิพร ศิริสวัสด์ิ, วรางคณา แสงสร้อย และ สมนึก ตง้ั เตมิ สริ กิ ลุ , “Sulfate resistance of mortars with limestone power.” วารสารวิชาการ สมาคมคอนกรีตแห่งประเทศไทย, Vol.2, 2014, pp. 17 - 24. ชอ่ื โครงการวจิ ยั : การกำ� จดั สยี อ้ มทป่ี นเปอ้ื นในนำ�้ เสยี ดว้ ยกระบวนการโฟโตคะตะไลตกิ โดยใชน้ าโนไทเทเนียมไดออกไซดเ์ ป็นตัวเร่งปฏกิ ิริยา  ชอื่ วารสาร/การประชมุ : T. Rojviroon, O. Rojviroon and S. Sirivithayapakorn, “Photocatalytic decolourisation of dyes using TiO2 thin film photocatalysts.” Journal of Surface Engineering, Vol.32(8), 2016, pp. 562 - 569.ผศ.ดร.ธรรมศักด์ิ โรจน์วิรุฬห์ คณะวศิ วกรรมศาสตร์ ชื่อโครงการวิจัย : การเตรียมสารกึ่งตัวน�ำประเภทแผ่นบางขนาดนาโนท่ีมีสมบัติ การเรง่ ปฏิกิรยิ าสูงจากแร่ลูโคซีนของไทย  อนุสิทธิบัตร : วิษณุ เจริญหอม และสรพงษ์ ภวสุปรีย์, “กรรมวิธีการเตรียมแผ่นบางขนาดนาโน จากแร่แม็กเนติกลูโคซีน เพ่ือใช้เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาโดยใช้แสง.” อนุสิทธิบัตร เลขท่ี 11670, 28 กันยายน 2559.ผศ.ดร.สรพงษ์ ภวสปุ รีย์ คณะวศิ วกรรมศาสตร์ ช่อื โครงการวิจัย : การเตรียมกล่องชนิ้ งานกลวงและสมบตั ิเชิงกลของวสั ดุผสมจาก วสั ดรุ ไี ซเคลิ ขวด HDPE กบั กากกาแฟโดยกระบวนการขึน้ รูปแบบหมนุ  อนุสิทธิบัตร : วิษณุ เจริญหอม, ณรงค์ชัย โอเจริญ, วินัย จันทร์เพ็ง และสรพงษ์ ภวสุปรีย์, “กรรมวิธีการเตรียมกล่องช้ินงานกลวงจากวัสดุรีไซเคิลพอลิเอทิลีนความหนาแน่นสูงและกากกาแฟ โดยวธิ ีการขึน้ รูปแบบหมนุ .” อนุสทิ ธิบัตร เลขที่ 11775, 30 กรกฎาคม 2559. ดร.วินยั จนั ทร์เพ็งคณะวิศวกรรมศาสตร์นางร�ำพงึ ชยั หลีเจรญิ ชื่อโครงการวิจัย : การศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการท�ำลายคอนกรีต เนื่องจากคณะวิศวกรรมศาสตร์ สารละลายซลั เฟต  ชื่อวารสาร/การประชุม : ร�ำพึง ชัยหลีเจริญ, ปิติศานต์ กร�้ำมาตร, จตุพล ตั้งปกาศิต และ นฤชาติ ชูเมือง, “การต้านทานซัลเฟตของคอนกรีตผสมตะกรันเตาถลุงเหล็กบดละเอียด.” วารสาร วิศวกรรมศาสตร์ ราชมงคลธญั บุรี, ปที ี่ 14(1), 2559, หน้า 13 - 24. 61

นกาักรวปจิ ิดัยโทค่ีไรดง้รกบั ารราวงจิวัยัลตามเกณฑ์ ช่ือโครงการวิจัย : การส�ำรวจความคิดเห็นของผู้ประกอบกิจการเคเบิลทีวีท้องถ่ิน ท่มี ตี อ่ การเปลย่ี นแปลงระบบโทรทัศนจ์ ากระบบอนาลอ็ กไปสู่ระบบดิจิตอล  ชื่อวารสาร/การประชมุ : K. Kanjanaparangkul, “A Survey of a Business Operation of the Local Cable TV in Thailand”, Asian Network for Public Opinion Research “Public Opinion Research : At the time of Economic, Social and Cultural Integration.” The 3rd ANPOR Annual Conference, Bangkok, Thailand, 25 - 28 November 2015. pp. 102 - 107.น.ส.กลุ ภสั สร์ กาญจนภรางกรู ชื่อโครงการวิจัย : การตอบสนองแบบซินทิลเลชันของผลึก LYSO:Ce LSO:Ce คณะเทคโนโลยีสือ่ สารมวลชน และ YSO:Ce สำ� หรับการตรวจวัดรังสแี กมมา ดร.อัคคพงศ์ พนั ธพ์ุ ฤกษ์คณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี  ชื่อวารสาร/การประชุม : อัคคพงศ์ พันธุ์พฤกษ์ และวรนุศย์ ทองพูล, “การเปรียบเทียบ ผลกึ เชงิ เดยี่ ว YSO, LYSO และ LSO ทเี่ จอื ดว้ ย Ce3+ สำ� หรบั การตรวจวดั รงั สแี กมมา.” วารสารวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒ, ปที ี่ 32(2), 2559, หน้า 17 - 28.  ชอ่ื วารสาร/การประชมุ : A. Phunpueok, V. Thongpool, and W. Chaiphaksa, “Interaction of 662 keV Gamma Rays with LYSO(Ce) and BGO Single Crystal Scintillators.” Journal of Key Engineering Materials, Vol. 675 - 676, 2016, pp. 764 - 767. ช่ือโครงการวจิ ยั : การพฒั นาวุ้นเสน้ เสรมิ แป้งแก่นตะวัน  ชื่อวารสาร/การประชุม : O. Oupathumpanont and U. Chitravimol, “Physical, Chemical, and Densory Properties of Glass Noodle Supplemented with Jerusalem Artichoke Flour.” International Journal of Home Economics, Vol.9(2) 2016, pp. 118 - 126.  อนุสิทธิบัตร : อรวัลภ์ อุปถัมภานนท์, “กรรมวิธีการผลิตวุ้นเส้นจากหัวแก่นตะวัน.” อนุสิทธิบัตร เลขที่ 11965, 28 กนั ยายน 2559. ผศ.ดร.อรวัลภ์ อปุ ถมั ภานนท์ ชื่อโครงการวิจัย : การควบคุมก�ำลังของวงจรอินเวอร์เตอร์เรโซแนนซ์แบบอนุกรม คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ ที่มีการควบคุมการปรับความหนาแน่นพัลส์แบบอสมมาตรส�ำหรับงานชุบแข็ง เฟืองแบบเหนี่ยวนำ� ความร้อน ผศ.จิรพงษ์ จิตตะโคตร์ คณะครุศาสตร์อตุ สาหกรรม  ช่ือวารสาร/การประชุม : J. Jittakort, A. Sangswang, S. Naetiladdanon, S. Chudjuar- ดร.ต้องลักษณ์ บุญธรรม jeen and C. Koompai, “LCCL Series Resonant Inverter for Ultrasonic Dispersion System คณะครุศาสตรอ์ ตุ สาหกรรม with Resonant Frequency Tracking and Asymmetrical Voltage Cancellation Control.” The 41st Annual Conference of the IEEE Industrial Electronics Society (IECON 2015)62 Yokohama City, Kanagawa, Japan. 9 - 12 November 2015, pp. 2491 - 2496. ชื่อโครงการวิจัย : รูปแบบการพัฒนาระบบการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริม ด้านคณุ ธรรมและจริยธรรมส�ำหรบั นักศึกษาครูในศตวรรษท่ี 21  ช่ือวารสาร/การประชุม : T. Boontham and A. Hongsiriwat, “Factro Analysis of the Morality and Ethical Development Instructional System of Student Teachers in the 21st Century.” International Conference on Education, Psychology, and Social Sciences (ICEPS2016). University Kuala Lumpur Business School, Kuala Lumpur, Malaysia, Vol. 1, 3 - 5 August 2016, pp. 297 - 301.

นักวจิ ยั ทไี่ ด้รกบั ารราปงิดวโัลคตรงากมาเกรวณจิ ฑัย์ ชอ่ื โครงการวจิ ยั : การสรา้ งเครอ่ื งดกั จบั อนภุ าคฝนุ่ ชนดิ ไซโคลนสครบั เบอรแ์ บบเปยี ก  ช่ือวารสาร/การประชุม : เรวัต ซ่อมสุข, “ไซโคลนสครับเบอร์แบบแรงดันน�้ำสูง.” IE Network Conference 2015, The Emerald Hotel Bangkok, 6 - 7 August 2015, pp.439 - 445. นายเรวตั ซอ่ มสขุ ประจำ� ปี 2559คณะครศุ าสตร์อุตสาหกรรม ผศ.ดร.สุรินทร์ แหงมงาม ชื่อโครงการวจิ ยั : เครอ่ื งสขี า้ วขนาดเล็กส�ำหรบั ใช้ในครวั เรือน คณะวิศวกรรมศาสตร์  ชื่อวารสาร/การประชุม : สุรินทร์ แหงมงาม, ศศิวรรณ อินทรวงศ์, ธีรวัฒน์ แม้นพวก, ธนาวุฒิ ผศ.ดร.ปรยี าภรณ์ ไชยสตั ย์คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนิ บตุ ร, อนาวนิ กรรณแกว้ และภมู ใิ จ เหลา่ ผง, “เครอ่ื งสขี า้ วขนาดเลก็ สำ� หรบั ใชใ้ นครวั เรอื น.” การประชมุ สมั มนาวชิ าการรปู แบบพลังงานทดแทนสู่ชมุ ชนแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 8, ปทมุ ธานี, 4 - 6 พฤศจิกายน 2558, หนา้ 8 - 11.  ชอื่ วารสาร/การประชมุ : สุรนิ ทร์ แหงมงาม, โอสถ คนซื่อ, ศศิวรรณ อินทรวงศ์, ธรี วฒั น์ แม้นพวก, ธนาวุฒิ ชินบุตร และอนาวิน กรรณแก้ว, “เคร่ืองสีข้าวขนาดเล็กส�ำหรับใช้ในครัวเรือนควบคุมโดย ไมโครคอนโทรลเลอร์.” การประชุมวิชาการมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ระดับชาติ คร้ังที่ 8, กรงุ เทพฯ, 24 - 26 สงิ หาคม 2559, หน้า 182 - 183. ชอื่ โครงการวจิ ัย : เครื่องดกั จบั ฝุ่นดว้ ยไซโคลนและไฟฟา้ สถิตส�ำหรับโรงสีขา้ ว  ชือ่ วารสาร/การประชุม : สรุ นิ ทร์ แหงมงาม, ศศวิ รรณ อนิ ทรวงศ,์ กิตติศกั ด์ิ ไชยสวุ รรณ, ศรันยู สุขสวัสดิ์, อนาวิน กรรณแก้ว และภูมิใจ เหล่าผง, “เคร่ืองดักจับฝุ่นด้วยไซโคลนและไฟฟ้าสถิตส�ำหรับ โรงสีข้าว.” การประชุมสัมมนาวิชาการรูปแบบพลังงานทดแทนสู่ชุมชนแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 8, ปทุมธาน,ี 4 - 6 พฤศจกิ ายน 2558, หน้า 164 - 167.  ชื่อวารสาร/การประชุม : สุรินทร์ แหงมงาม, โอสถ คนซ่ือ, ศศิวรรณ อินทรวงศ์, กิตติศักด์ิ ไชยสุวรรณ, ธีรวัฒน์ แมน้ พวก, ศรันยู สขุ สวัสด์ิ และอนาวิน กรรณแก้ว, “การพัฒนาเครอื่ งดกั จบั ฝุ่นด้วย ไซโคลนและไฟฟา้ สถติ สำ� หรบั โรงสขี า้ ว.” การประชมุ วชิ าการมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคล ระดบั ชาติ ครัง้ ท่ี 8, กรุงเทพฯ, 24 - 26 สงิ หาคม 2559, หน้า 180 - 181. ช่ือโครงการวิจัย : การปรับปรุงสมบัติทางความร้อนของวัสดุเก็บความร้อน ในพอลเิ มอร์แคปซลู ดว้ ยเปลือกพอลิเมอร์ชนิดชอบน้�ำ  ชอ่ื วารสาร/การประชมุ : P. Chaiyasat, S. Noppalit, M. Okubo and A. Chaiyasat, “Innovative synthesis of high performance poly (methyl methacrylate) microcapsules with encapsulated heat storage material by microsuspension iodine transfer polymerization (ms ITP).” Journal of Solar Energy Materials and Solar Cells, Vol. 157, 2016, pp.996 - 1003.  ชื่อวารสาร/การประชุม : P. Chaiyasat, S. Namwong, M. Okubo and A. Chaiyasat, “synthesis of micrometer-sized poly (methyl methacrylate) particles by microsuspension iodine transfer polymerization (ms ITP).” Journal of RSC Advances. Vol. 6, 2016, pp. 95062 - 95066. ช่ือโครงการวิจัย : การพัฒนาส่ือการเล่านิทานเพ่ือส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ ของเด็กปฐมวัย  ชื่อวารสาร/การประชุม : พัฒน์นรี จันทราภิรมย์, “การศึกษาผลของการใช้ส่ือนิทานเพ่ือพัฒนา ดา้ นความคดิ สรา้ งสรรคข์ องเดก็ ปฐมวยั .” การประชมุ วชิ าการระดบั ชาตแิ ละนำ� เสนอผลงานวจิ ยั ระดบั ชาติ มหาวทิ ยาลัยปทมุ ธานี ครัง้ ท่ี 3, ปทุมธาน,ี 16 กรกฎาคม 2559, หนา้ 132 - 138. อ.พฒั นน์ รี จนั ทราภิรมย์ 63คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์

คณะผู้จดั ทำ� อธิการบดีนกั วิจยั ดีเดน่ ประจำ� ปี 2559 ทป่ี รึกษา รองศาสตราจารย์ ดร.ประเสรฐิ ป่ินปฐมรฐั คณะท�ำงาน ผอู้ �ำนวยการสถาบนั วจิ ยั และพัฒนา ฝ่ายอำ� นวยการ รองผอู้ �ำนวยการสถาบันวิจัยและพฒั นา ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วารุณี อริยวิรยิ ะนนั ท์ รองผูอ้ �ำนวยการสถาบันวจิ ยั และพัฒนา ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ปกรณ์เกยี รติ์ เศวตเมธกิ ุล ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เกยี รติศกั ด์ิ แสงประดิษฐ์  ฝ่ายเน้อื หา นางนฤมล จารุสมั ฤทธ ิ์ หวั หนา้ สำ� นักงานผู้อ�ำนวยการ นางสุทธิศรี ม่วงสวย หัวหนา้ ฝ่ายวชิ าการ นางสาวคณธวัลย์ ศภุ รตั นาภิรักษ์ หวั หน้ากลมุ่ บริการและเผยแพร่งานวจิ ยั นางสาวศิถยา งามสมเกลา้ นางสาวพรทรัพย์ ถนดั ไร่ นางสาวนิธิมา อนิ ทรสอาดISBN 978-974-625-749-7พมิ พค์ รั้งท่ี 1 ธันวาคม 2559 จำ� นวน 500 เลม่จดั ท�ำโดยสถาบนั วิจยั และพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรีเลขท่ี 39 หมทู่ ี่ 1 ถนนรังสิต-นครนายก ต�ำบลคลองหก อำ� เภอธญั บรุ ี จงั หวัดปทุมธานี 12110โทรศพั ท์ 0 2549 4681-7 โทรสาร 0 2549 4680, 0 2577 5038ผลติ และออกแบบโดยห้างห้นุ ส่วนจำ� กัด อรุณการพิมพ์457/6-7 ถนนพระสเุ มรุ แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรงุ เทพฯ 10200โทร. 0 2282 6033-4



สถาบันวิจยั และพัฒนา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรีเลขท่ี 39 หมู่ท่ี 1 ถนนรงั สติ -นครนายก ต�ำบลคลองหก อ�ำเภอธัญบุรี จงั หวดั ปทมุ ธานี 12110 โทรศัพท์ 0 2549 4681-7 โทรสาร 0 2549 4680, 0 2577 5038 E-mail : [email protected] http://[email protected]


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook