การจดั การเรยี นรทู้ ี่เหมาะสมกับบริบทของสถานศกึ ษา “KELOH MODEL” โรงเรียนบา้ นกลูบี อาเภอศรสี าคร จังหวัดนราธิวาส 1. ความเป็นมา การจัดการเรียนการสอน “ตามพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา” สนามปฏิบัติการการเปลี่ยนแปลง การศึกษาของประเทศ ตามนโยบายของรัฐบาลในการปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู้ ลดความเลื่อมล้า มุง่ พัฒนาคนไทยให้เรียนรู้ได้เต็มตามศักยภาพ ตรงตามความต้องการของพื้นท่ี เน้นการมสี ่วนร่วมของทุกภาค ส่วนนั้น โรงเรียนบ้านกลูบี ได้คิดค้นนวัตกรรมที่เหมาะสมกับบริบทของพื้นที่ในการจัดกิจกรรมการเรียน การสอน เน่ืองจากนักเรียนส่วนใหญ่อยู่ห่างไกลจากโรงเรียน การเดินทางมาโรงเรียนของนักเรียนบางส่วน คอ่ นขา้ งลา้ บาก โดยเฉพาะชว่ งฤดูฝน และผปู้ กครองไมค่ อ่ ยมีเวลาดแู ลนักเรียน เนื่องจากตอ้ งท้างานประกอบ อาชีพ ส่งผลให้นักเรียนบางส่วนมีผลการเรียนอยู่ในระดับพอใช้ และเพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนมีผลการเรียนท่ีดขี ึน้ ทางโรงเรียนบ้านกลูบี จึงใช้กระบวนการ KELOH MODEL ซ่ึงเป็นกระบวนการจัดการเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับ บริบทพื้นที่ของโรงเรียน โดยน้าวิทยากรท่ีมีอยู่ในท้องถ่ินมาฝึกฝนให้ความรู้แก่นักเรียน และน้าสิ่งท่ีมีอยู่ใน ทอ้ งถ่ินมาจัดทา้ เปน็ องค์ความรู้ ฝกึ อาชีพ และพัฒนาให้นักเรียนไดเ้ รียนรู้และอนรุ ักษ์สง่ิ ที่มีอยู่ในทอ้ งถนิ่ ให้คง อยู่ต่อไป 2. หลักการและเหตผุ ล การจัดการศึกษามีความส้าคัญอย่างย่งิ โดยเฉพาะโรงเรียนซ่งึ เป็นสถานท่ีที่ให้ความรู้กับนกั เรียน จึง ต้องมีการพัฒนาทง้ั ทางด้านการจัดกระบวนการเรียนการสอน ทกั ษะตา่ งๆให้ทันสมยั อยู่เสมอ เพอื่ ใหน้ ักเรียน เปน็ คนดี คนเก่ง มคี วามรู้ และมีคณุ ภาพ รัฐบาลมีการปฏริ ูปการศกึ ษาและการเรียนรู้ มกี ารแบง่ พ้ืนท่ีนวตั กรรม ลดความเลอ่ื มล้า มงุ่ พฒั นาคน ใหเ้ รยี นรูไ้ ด้เต็มตามศกั ยภาพ ตรงตามความตอ้ งการของพนื้ ท่ี ทางโรงเรียนบ้านกลูบี จึงได้คิดค้นนวัตกรรมการจัดการเรียนการสอน โดยการน้าความรู้เก่ียวกับ ปลากือเลาะห์ ซ่ึงเป็นปลาท่ีมีช่ือเสียงในพ้ืนที่อ้าเภอศรีสาคร มาจัดท้าเป็นเอกสารประกอบการจัดการเรียน การสอน และน้าวิทยากรที่มีความสามารถทางด้านทักษะการแกะสลักงานไม้ที่มีอยู่ในท้องถิ่น มาฝึกฝนให้ ความรู้แก่นักเรียน และเปน็ การปลูกจติ ส้านึก ให้นกั เรยี นรักและหวงแหนสิ่งท่มี อี ยใู่ นท้องถนิ่ ของนกั เรียนให้คง อยตู่ ่อไป
3. วัตถุประสงค์ 1. เพอ่ื ใหน้ ักเรียนมที ักษะในการประกอบอาชีพ 2. เพือ่ ใหน้ กั เรียนมจี ติ ส้านึกทดี่ ี รกั และหวงแหนในสิ่งท่มี ีอยู่ในทอ้ งถิ่น 3. เพ่ือแก้ปญั หาการอา่ นไมอ่ อก เขยี นไมถ่ กู ตอ้ งของนักเรยี นชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 1-6 4. เพื่อยกระดับผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนของนกั เรียนช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 1-6 ให้สูงขึน้ 4. กลมุ่ เปา้ หมาย นกั เรยี นชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 1-6 โรงเรยี นบา้ นกลบู ี อา้ เภอศรีสาคร จังหวดั นราธวิ าส 5. หลักการ แนวคดิ และทฤษฎี 5.1 บรบิ ทของสถานศึกษา/ชุมชน โรงเรียนบ้านกลบู ี ตั้งอยใู่ นหม่ทู ่ี 4 ตา้ บลซากอ อ้าเภอศรสี าคร จังหวดั นราธิวาส มีเนือ้ ทที่ ้งั หมด 4 ไร่ 2 งาน เปิดสอนระดับช้ันอนุบาลปีท่ี 1 ถึงช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 มีนักเรียนท้ังหมด 413 คน เป็นโรงเรียน ขนาดใหญ่ มสี ภาพพื้นทีส่ ว่ นใหญ่เป็นป่าทึบและภูเขาสลับซับซ้อน เป็นแนวเขตของป่าบาลาฮาลา มพี น้ื ทีร่ าบ สูงทางทิศตะวันออกอยู่ในต้าบลศรีบรรพตและต้าบลเชิงคีรี บางส่วนประกอบด้วยพน้ื ท่ีป่าไม้เป็นจ้านวนมาก มแี มน่ ้าสายบรุ เี ปน็ แม่นา้ สายหลักไหลผา่ นกลางพน้ื ทอ่ี ้าเภอตลอดแนว ข้อมลู เกยี่ วกับชุมชน ลักษณะของชุมชนที่โรงเรียนต้ังอยู่ มีประชากรประมาณ 1,013 คน ประชากรนับถือศาสนาอิสลาม 100 % ใช้ภาษาถิ่นยาวีในการสื่อสาร ส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกรรม สภาพเศรษฐกิจค่อนข้างยากจน รายได้ ของประชาชนต่อหัวเท่ากับ 2,000 บาทต่อปี ชุมชนมีความสัมพันธก์ ับสถานศึกษาค่อนข้างดีมีส่วนร่วมในการ บริหารจัดการสถานศึกษาและสภาพชุมชนปลอดจากสารเสพติด โรงเรียนได้รับความร่วมมือจากชุมชนเป็น อยา่ งดใี นการพัฒนาโรงเรยี น การระดมทรพั ยากรทางการศึกษา ท้าให้โรงเรียนไดร้ ับการพัฒนาและสนับสนุน ในเรื่องการจดั การศึกษาเป็นอย่างดี ข้อจ้ากัดของโรงเรยี น คือ ผู้ปกครองนักเรยี นส่วนใหญ่มีอัตราการย้ายถิ่น เพื่อประกอบอาชีพบ่อย ท้าให้นักเรียนต้องย้ายติดตามผู้ปกครองหรือต้องอาศัยอยู่กับตายาย จึงส่งผลให้ นกั เรียนบางคนเปน็ เดก็ ทีม่ ปี ญั หาและเรยี นไมต่ อ่ เนอ่ื ง เป็นตน้ 5.2 แนวคิดและทฤษฎที นี่ ามาใช้ 1. ทฤษฎีการสอนของกาเย่ เป็นแนวคิดการเรียนรู้ที่เป็นล้าดับข้ันและผู้เรียนต้องเรียนรู้ เนอื้ หาจากง่ายไปหายาก 2. แนวคิดของบลูม กล่าวถึงธรรมชาติของผู้เรียนแต่ละคนวา่ มีความแตกต่างกัน ผู้เรียนจะ สามารถเรยี นรู้เนอื้ หาในหนว่ ยย่อยต่างๆได้ โดยใช้เวลาเรยี นทีแ่ ตกตา่ งกนั 3. ทฤษฎีพฤติกรรมนยิ มของสกินเนอร์ บุคคลเรียนรู้ด้วยการกระท้า โดยมีตัวเสริมแรงเปน็ ตัวการ
4. ทฤษฎีลองผิดลองถูกของธอร์นไดด์ สรุปเกณทก์ ารเรยี นรู้ คือ - กฎความพร้อม หมายถึง การเรยี นรู้เกดิ ขน้ึ เมอ่ื บุคคลพร้อมท่ีจะท้า - กฎผลที่ได้รับ หมายถึง การเรียนรู้จะเกิดขึ้น เมื่อบุคคลกระท้าซ้าและย่ิงท้ามาก ความช้านาญจะเกิดข้นึ ไดง้ า่ ย 5. ทฤษฎีพหุปัญญา (Multiple Intelligence) ของ Howard Gardner ค้านึงถึงความ แตกต่างทางสติปัญญาของเด็ก ซ่ึงแต่ละคนมีวิธีการเรียนรู้ท่ีมปี ระสิทธิผลแตกต่างกนั ทุกคนมีสติปัญญาทั้ง 8 ด้าน ท้ังท่ีอาจจะมากหรือน้อยที่แตกต่างกันไป บางคนอาจะสูงทุกด้าน บางคนอาจจะสูงเพียงด้านเดียวหรือ สองด้าน ส่วนด้านอื่นๆปานกลาง ทุกคนสามารถพัฒนาปัญญาแต่ละด้านให้สูงข้ึนถึงระดับใช้การได้ ถ้ามีการ ฝึกฝนท่ีดี มีการให้ก้าลังใจท่ีเหมาะสมในสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ และปัญญาด้านต่างๆสามารถ ทา้ งานรว่ มกนั ได้ 6. แนวทาง/รปู แบบการพฒั นาการจดั การเรียนรู้ โรงเรยี นบา้ นกลบู ีไดด้ ้าเนินการพัฒนาการเรยี นร้ขู องโรงเรียนโดยใชก้ ระบวนการ “KELOH MODEL” โดยมีกระบวนการ ดงั นี้ 1. Knowledge ก้าหนดการจดั การเรียนรู้ 1.1 การวางแผนการเรยี นรู้ โดย 1) ศึกษาหลักสูตร จดุ เนน้ นโยบายท่ีเก่ียวกับการศกึ ษา 2) จดั ท้าแผนการเรยี นรู้ 3) พัฒนาสอื่ นวัตกรรม 1.2 ใชน้ วตั กรรมในการจดั การเรยี นการสอน - เนน้ นักเรยี นเปน็ ส้าคัญ - บูรณาการภูมิปญั ญาท้องถิ่น 1.3 วดั ผลประเมนิ ผลตามสภาพจริง และประเมนิ ความพึงพอใจ 1.4 มกี ารปรบั ปรุง ทบทวน พฒั นา และแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ 2. Ethics ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยสอดแทรกคุณธรรมให้กับนักเรียน เน้นโครงงานคุณธรรม 3. Learning โรงเรียนจัดการเรียนการสอนโดยมุ่งวิชาการ และสานทักษะอาชีพ โดยแบ่งนักเรียน ออกเป็น 2 กล่มุ คือ 1. กลมุ่ ความถนดั ด้านวชิ าชีพ โดยจัดเปน็ กจิ กรรมเสริมหลกั สตู ร 2. กลุม่ พัฒนาดา้ นการอ่านออกเขียนได้ ซึง่ แบ่งนกั เรียนออกเปน็ 3 กลุ่มยอ่ ย ได้แก่ 2.1 กล่มุ สีแดง คอื กลุ่มนักเรียนท่อี ่านหนงั สอื ไมอ่ อก เขียนไม่ได้ และคดิ วเิ คราะห์ ไมเ่ ป็น 2.2 กลมุ่ สเี หลอื ง คือ กลมุ่ นักเรียนทีอ่ ่านไม่คลอ่ ง เขียนไมค่ ลอ่ ง และคิดวเิ คราะห์ ไม่เปน็ 2.3 กลมุ่ สีเขียว คือ กลมุ่ นกั เรยี นทีอ่ ่านหนังสอื คล่อง เขียนคล่อง คิดวิเคราะหเ์ ป็น
กลมุ่ ที่ 1 หรือกลมุ่ สแี ดง มจี ดั การพฒั นาการเรยี นรู้เพื่อสง่ เสรมิ ใหน้ ักเรยี นอ่านออกเขียนได้ โดยใช้ส่ือ หน้าเดียว โดยสือ่ จะมรี ูปแบบการฝึกอ่านค้าซ้าๆเพ่ือฝึกทบทวนใหน้ กั เรียนได้มีทักษะการจ้า และมกี ารฝกึ อ่าน แบบแจกลกู สะกดค้า กลมุ่ ท่ี 2 หรอื กลุ่มสีเหลือง มีจัดการพฒั นาการเรยี นรเู้ พ่ือส่งเสรมิ ใหน้ ักเรยี นอา่ นออกเขยี นได้ โดยใช้ แบบฝึกการอา่ นและการเขียน เพ่อื ฝกึ ฝนให้นักเรยี นมพี ัฒนาการในการอา่ นและการเขยี นทีด่ ีข้นึ กลมุ่ ที่ 3 หรือกลุ่มสเี ขียว มีการจัดการเรยี นรู้ทส่ี ง่ เสรมิ ทกั ษะการอ่าน การเขยี น และการคิดวเิ คราะห์ โดยใชแ้ บบฝึกการอา่ นและการเขยี นทมี่ คี วามยากกวา่ กลุ่มสเี หลือง โดยมีการจดั การเรยี นการสอนในคาบแรกของทุกวนั ใชเ้ วลาเรียน 1 ชั่วโมง โดยมคี รผู ูร้ ับผิดชอบคอย ดแู ลติดตามความกา้ วหนา้ ในดา้ นการอ่านของนกั เรียนแตล่ ะกลุ่ม 4. Opportunity โรงเรยี นนา้ ผลจากการวเิ คราะห์ SWOT ดา้ นโอกาสในทอ้ งถิ่น ซึง่ โรงเรียนมีต้นทนุ ทางสังคม คือ มีชุมชนที่เข้มแข็ง มีแหล่งเรียนรู้ มีทุในพ้ืนท่ี ไม่ว่าในด้านทรัพยากรธรรมชาติ ด้าน ศลิ ปวัฒนธรรม โดยเนน้ การมีส่วนร่วมของชุมชนในการพฒั นาการเรียนรู้ 5. H - Head กจิ กรรมพฒั นาสมอง - Heart กิจกรรมพฒั นาจติ ใจ - Hand กจิ กรรมพัฒนาทกั ษะปฏบิ ตั ิ - Health กิจกรรมพฒั นาสขุ ภาพ โรงเรียนส่งเสริมความถนัดของนกั เรียนในช่ัวโมงลดเวลาเรียนเพ่ิมเวลารู้ เพื่อฝึกทักษะต่างๆและเน้น ทักษะอาชพี เพื่อใหน้ กั เรียนมีจติ ส้านึกรกั บ้านเกิดและน้าความรไู้ ปประกอบอาชพี ได้ 7. ผลการพัฒนาการเรียนรู้ 1. นักเรยี นใหค้ วามร่วมมอื ในการทา้ กจิ กรรมเป็นอย่างดี มคี วามกระตือรอื รน้ และสนใจในการเข้าร่วม กจิ กรรม 2. นกั เรยี นมีการพฒั นาทกั ษะด้านการอ่านและการเขยี นท่ีดขี น้ึ 3. นกั เรยี นได้แสดงศกั ยภาพของตนเองตามความถนดั และความสนใจ 4. ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนของนกั เรยี นชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 1-6 สูงขน้ึ 5. นกั เรยี นมจี ิตสา้ นึกท่ีดี รัก และหวงแหนในสิ่งทม่ี ีอยูใ่ นท้องถ่นิ 8. ปัญหา/อุปสรรคของการพัฒนาการจดั การเรยี นรู้ 1. นักเรียนขาดเรยี นบ่อย ทา้ ใหข้ าดความต่อเนอื่ งในการเรยี นการสอน 2. นักเรยี นไม่กลา้ แสดงออก ขาดความมนั่ ใจในตนเอง 3. เวลาไมเ่ พยี งพอต่อการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ 4. นักเรยี นบางคนไมเ่ ข้าใจการสือ่ สารภาษาไทย 5. นักเรียนแตล่ ะคนมคี วามพรอ้ มไม่เทา่ กนั ทัง้ ดา้ นสังคม อารมณ์ สตปิ ญั ญา เศรษฐกิจ ความสามารถ ท่ีแตกต่างกัน
Search
Read the Text Version
- 1 - 4
Pages: