Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore nutri note

nutri note

Published by Nan'n Sirikorn, 2020-09-30 15:07:48

Description: nutri note

Keywords: nutri note

Search

Read the Text Version

48 ชนดิ อำหำร คำ่ ดชั นี Glycemic Index อินทผาลมั สูง 103 แตงโม สงู 72 โซดา สงู 74 ขนมปังแปง้ สาลสี ขี าว สงู 71 ข้าวโอ๊ตสาเรจ็ รูปโดยเฉล่ยี สูง 83 ขา้ วฟ่าง สงู 71 ครัวซองค์ 67 ขา้ วโอต๊ ปานกลาง 67 ข้าวโพด ปานกลาง 60 ครวั ซอง ปานกลาง 67 แคนตาลปู ปานกลาง 65 ก๋วยเตยี๋ ว ปานกลาง 75 มกั กะโรนี ปานกลาง 64-67 ว้นุ เส้น ปานกลาง 63 ทเุ รยี น ปานกลาง 62.4 สปั ปะรด ปานกลาง 62.4 ลาใย ปานกลาง 57.2 นา้ ตาลทราย ปานกลาง 64 น้าผงึ้ ปานกลาง 58 โรตี ปานกลาง 59 พซิ ซา่ ปานกลาง 60 ปานกลาง

49 ชนิดอำหำร คำ่ ดัชนี Glycemic Index แพนเค้ก ปานกลาง 67 ขนมปัง ปานกลาง 59 มะมว่ ง ปานกลาง 56 ลูกเกด ปานกลาง 64 สม้ ปานกลาง 55.6 กวี ี่ ปานกลาง 58 ฟักทอง ปานกลาง 66 หัวผกั กาด ปานกลาง 64 เบียร์ ปานกลาง 66 Coca Cola ปานกลาง 63 ไอศกรีมปกติ ปานกลาง 57 องุ่น ปานกลาง 59 แพนเคก้ ปานกลาง 67 เมด็ มะม่วงหิมพานต์ 22 เชอรร์ ี่ ต่า 22 เค้กกล้วย ตา่ 55 นมพรอ่ งมันเนย ต่า 39 เผอื ก ตา่ 51 ขา้ วโพดหวาน ต่า 53 มะมว่ ง ต่า 47.5 มะละกอ ตา่ 40.6 ต่า

50 ชนดิ อำหำร ค่ำดัชนี Glycemic Index กล้วย ต่า 38.6 กลว้ ยไข่สุก ตา่ 44 กะหล่าปลี ตา่ 10 กลว้ ยน้าว้า ตา่ 37 แก้วมงั กร ตา่ 37 ขา้ วบารเ์ ลย์ ตา่ 25 แครอท ต่า 49 เชอร์รี่ ต่า 22 ซปุ มะเขือเทศ ต่า 38 แตงกวา ต่า 15 อาโวคาโด ตา่ 15 ทบั ทิม ตา่ 18 ข้าวไร ตา่ 29 ถั่วดา ต่า 20 ถว่ั เหลอื ง ต่า 20 กาแฟดา ต่า 0 ข้าวกล้อง ตา่ 55 หน่อไม้ฝร่ัง ตา่ 0 ถ่ัวลิสง ต่า 15 ถั่วเหลอื งตม้ ต่า 26 ทเุ รียน ตา่ 39

51 ชนดิ อำหำร คำ่ ดชั นี Glycemic Index นมขาดมนั เนย ตา่ 32 นมถ่วั เหลอื ง ตา่ 34 นมพรอ่ งมนั เนย ต่า 32 นมสด ต่า 40 น้ามะเขือเทศ ต่า 38 น้าสปั ปะรด ต่า 46 น้าแอปเป้ลิ ตา่ 40 บรอ็ คโคล่ี ตา่ 10 ส้ม ตา่ 42 ผักกาดแกว้ ตา่ 10 ผกั โขม ต่า 15 พริกหยวก ตา่ 10 มะเขอื ยาว ต่า 15 ละมุด ต่า 47 ลูกพีช ต่า 42 สตรอเบอร่ี ตา่ 40 สม้ โอ ตา่ 25 หวั หอม ต่า 10 เห็ด ต่า 10 นา้ ส้ม ต่า 52 ขนนุ ตา่ 51

52 ชนดิ อำหำร คำ่ ดัชนี Glycemic Index ขนมปังโฮลวที ต่า 53 ผักชฝี รั่ง ต่า 0 พรกิ ไทย ต่า 0 ผกั ขม ตา่ 0 ลาซานย่า ตา่ 47 ไข่ ตา่ 0 เกรฟฟรตุ๊ ตา่ 25 ผกั กาดแก้ว ผกั สลดั ตา่ 10 พริกหยวก ตา่ 10 Chronic kidney disease (CKD) กำรแบง่ ระยะของCKD

53 พยำกรณโ์ รคไตเรอื รังตำมควำมสัมพนั ธข์ อง GFR และระดบั อัลบมู ินในปัสสำวะ ทีม่ า: คาแนะนาสาหรบั การดแู ลผู้ปว่ ยโรคไตเรือ้ รังกอ่ นการบาบัดทดแทนไต พ.ศ.2558 ไตอกั เสบเฉียบพลัน (Nephrotic Syndrome) โรคไตเนฟโฟรติกเกิดจากมีความผิดปกติของหน่วยไต(Glomerulus) ที่ทาหน้าที่กรองปัสสาวะทาให้ ร่างกายสูญเสียโปรตีนออกทางปสั สาวะ จึงมีระดับโปรตีนในเลือดต่า บวม และภาวะไขมันในเลือดสูง โดยสาร อาหารท่เี ก่ยี วข้อง และสาคัญกบั โรคไตเนฟโฟรตกิ ได้แก่ โปรตนี ไขมัน และโซเดียม 1. โปรตนี ผู้ป่วยโรคไตเนฟโฟรติกจะมีการสูญเสียของโปรตีนทางปัสสาวะ ดังน้ันจะต้องได้รับโปรตีนที่เพียงพอ และควรเลือกแหล่งโปรตีนที่มีคุณภาพสูง (High Biological Value) เพราะมีกรดอะมิโนท่ีจาเป็นครบทุกชนิด และร่างกายสามารถนาไปใชไ้ ด้ดที าให้ของเสียเกิดขึ้นน้อย เพื่อชะลอการเสื่อมของไต และทดแทนการสูญเสีย ของโปรตีน แตห่ ากได้รบั โปรตนี มากเกนิ ไปจะทาให้เพิม่ การสูญเสียโปรตนี และทางานของไต ควรบรโิ ภคอำหำรท่ีมีโปรตนี คณุ ภำพสงู เปน็ โปรตีนทพี่ บได้ในอาหารประเภทเนื้อสตั ว์ และ ผลิตภณั ฑจ์ ากสัตว์ เช่น ไข่ นม เนอื้ สัตว์ ปลา ไก่ เนอื้ ววั หมู ควรหลีกเลี่ยง เน้ือสตั ว์ท่ีตดิ มนั เคร่อื งในสตั ว์ และสัตว์ทะเลบางชนดิ ได้แก่ กุ้ง ปู ปลาหมึก เพราะมีปริมาณคลอเลสเตอรอลสูง อาจทาให้กระตุ้นการสร้างไขมันที่ตับเพ่ิมข้ึน ควร รับประทำนโปรตีนท่ีมีคุณภำพสูงอย่ำงน้อย 50 % ของปริมำณโปรตีนทังหมด ตามคาแนะนาของแพทย์ หรอื นักโภชนาการ

54 2. ไขมนั ภาวะไขมันในเลือดสูงเป็นภาวะแทรกซ้อนของโรคไตเนฟโฟรติก ท่ีมีการสูญเสียโปรตีนทางปัสสาวะ จึงทาให้กระตุ้นการสร้างไขมันท่ีตับมากผิดปกติ ดงั น้ันการควบคุมอาหารท่ีมีไขมันสูงจะช่วยเพอื่ ป้องกันปัจจัย เสี่ยงต่อภาวะหลอดเลือดแดงแข็งได้ โดยแนะนำให้บรโิ ภคไขมันไม่อิ่มตวั เช่น นำมันถ่ัวเหลอื ง นำมนั รำขำ้ ว นำมนั งำ นำมนั มะกอก นำมนั ทำนตะวัน และนำมันคำโนลำ แต่เม่ือหายจากโรคไตเนฟโฟรติก ภาวะไขมนั ใน เลือดสงู จะหายด้วย ควรหลีกเลยี่ งอำหำรท่มี ไี ขมนั อำหำรที่มีกรดไขมันอ่ิมตัวสูง เป็นไขมันที่พบในสัตว์และผลิตภัณฑ์จากสัตว์ เช่น เนื้อสัตว์ติดมัน เครื่อง ในสตั ว์ พบในผลติ ภัณฑจ์ ากพชื เชน่ กะทิ น้ามันปาล์ม และนา้ มนั มะพรา้ ว อำหำรทม่ี ีไขมนั ทรำนสส์ ูง เนยขาว มาการนี ผลิตภัณฑแ์ ปรรูปตา่ ง ๆ เชน่ คกุ ก้ี เคก้ โดนัท อำหำรที่ทำให้ไตรกลีเซอไรด์ในเลือดสูง อาหารประเภทแป้ง น้าตาล ขนมหวาน ผลไม้รสหวานจัด เครื่องดม่ื ทีม่ รี สหวาน และเครอื่ งดื่มแอลกอฮอล์ อำหำรทีม่ คี ลอเลสเตอรอลสงู กงุ้ หอย ปลาหมกึ ตับ ไข่แดง ไขป่ ลา และเครอ่ื งในสัตว์ 3. โซเดยี ม : หากร่างกายมกี ารสญู เสียโปรตีนทางปสั สาวะส่งผลให้ไตมีการดดู กลับของน้าและเกลือแร่มา สะสมในรา่ งกายทาให้เกิดอาการบวม ควรหลกี เล่ียงอำหำรที่มโี ซเดียม : โซเดยี มพบนอ้ ยในอาหารธรรมชาตแิ ต่จะพบมากในเครือ่ งปรุง อาหาร แปรรูปและอาหารหมักดอง เครอื่ งปรงุ เกลอื ซอสปรุงรส ผงชรู ส นา้ ปลา ผงปรุงรสกะปิ ซอสมะเขือเทศ ซอสพริก นา้ จิ้ม เครอ่ื งแกง ตา่ ง ๆ อำหำรแปรรูป บะหม่ีก่งึ สาเร็จรูป ปลากระป๋อง ไส้กรอก ลกู ชิน้ ขนมกรุบกรอบ ขนมปงั กงุ้ แหง้ อำหำรหมักดอง ผักและผลไม้ดอง แหนม กุนเชียง ไข่เค็ม ปลาร้า น้าบูดู เต้าเจ้ียวหากรับประทาอาหารท่ีมี โซเดียมสูงมาก ๆ จะทาให้เกิดการคั่งของน้าในร่างกาย ส่งผลให้เกิดอาหารบวม ความดันโลหิตสูง และหัวใจ ล้มเหลว ข้อแนะนำในกำรลดโซเดยี ม ▪ หลีกเลี่ยงการปรุงอาหารเพ่มิ ▪ หลกี เลยี่ งอาหารแปรรปู และอาหารหมกั ดอง ▪ ประกอบอาหารแยกกับสมาชิกในบ้าน ▪ อา่ นฉลากโภชนาการเพื่อเปรยี บเทียบปรมิ าณโซเดียมในอาหาร

55 ▪ เมื่อทานอาหารนอกบา้ น ควรตักทานเฉพาะส่วนท่เี ปน็ เน้ือ ไมร่ าดน้าแกง สมุนไพรกับผูป้ ว่ ยโรคไต สมุนไพรทีม่ โี พแทสเซยี ม รูปภำพ อลั ฟัลฟา (Alfalfa) ผกั ชี (ใบ) Coriander (leaf) อีฟนื่ง พริมโรส (Evening Primrose) มะระผล, ใบ Bitter Melon (fruit, leaf) ขมิ้น (เหง้า) Turmeric (rhizome) ดอกคาฝอย Safflower (flower) ลูกยอ Noni โสมอเมรกิ ัน American Ginseng

ใบบวั บก 56 Gotu Kola รปู ภำพ แดนดไิ ลออน) ราก, ใบ( Dandelion (root, leaf) กระเทยี ม ใบ)) Garlic (leaf) ตะไคร้ Lemongrass มะละกอ) ใบ, ผล Papaya (leaf, fruit) ชิโครรี (ใบ) Chicory (leaf) สมนุ ไพรที่มฟี อสฟอรสั เมลด็ แฟลกซ์ หรอื เมลด็ ลินิน Flaxseed (seed) มลิ ค์ ทิสเซิล Milk Thistle

ต้นหอม (ใบ) 57 Onion (leaf) รูปภำพ โพสเลน Purslane เมล็ดทานตะวนั Sunflower (seed) ดอกบวั Water Lotus ❖ สมนุ ไพรที่ควรหลกี เล่ยี งในผ้ปู ่วย สมนุ ไพรทีค่ วรหลกี เลยี่ งในผู้ปว่ ยโรคไต สมุนไพรจีนโบราณ (ปกั ค้ี) (Astragalus) บารเ์ บอร์ร่ี Barberry เหลอื งชชั วาลย์ (เล็บวฬิ าร์) Cat's Claw

58 ขึน้ ฉ่าย Apium Graveolens ตน้ หญา้ หนวดแมว Java Tea Leaf หญ้าหางมา้ Horsetail รากชะเอมเทศ Licorice Root รากออรีกอนเกรฟ Oregon Grape Root เพนนรี อยลั Pennyroyal รากพาร์สลีย์ Parsley Root โยฮิมบี Yohimbe

59 ควำมดันโลหติ สงู คำ่ ในกำรวนิ จิ ฉัยควำมดันโลหิตสูง ตารางการจาแนกโรคความดนั โลหิตสูงตามความรุนแรงในผใู้ หญอ่ ายุ18 ปี ขึน้ ไป Category SBP DBP (มม.ปรอท) (มม.ปรอท) < 80 Optimal < 120 และ 80/84 85-89 Normal 120-129 และ/หรือ 90-99 100-109 High normal 130-139 และ/หรือ >110 < 90 Grade 1 hypertension (mild) 140-159 และ/หรอื Grade 2 hypertension (moderate) 160-179 และ/หรือ Grate 3 hypertension (severe) >180 และ/หรอื Isolated systolic hypertension (ISH) >140 และ หมายเหตุ: SBP = systolic blood pressure; DBP = diastolic blood pressure. เมื่อความรุนแรงของ SBP และ DBP อยู่ต่างระดับกัน ให้ ถือระดับท่ีรุนแรงกว่าเป็นเกณฑ์ สาหรับ ISH ก็แบ่งระดับ ความรุนแรง เหมอื นกนั โดยใช้แต่ SBP ท่มี า: แนวทางการรกั ษาโรคความดันโลหิตสูงในเวชปฏบิ ัตทิ ัว่ ไป พ.ศ.2558 Classification of Blood Cholesterol Levels

60 ค่ำท่ีใช้ในกำรตดิ ตำม Source: American Association Of Clinical Endocrinologists Medical Guidelines for Clinical Practice, 2012 DASH Diet (Dietary Approaches to Stop Hypertension Diet) เป็นแนวทางโภชนาการเพื่อหยุดความดันโลหิตสูง หลักการสาคัญของการรับประทานอาหารแบบ DASH คือ ลดการบริโภคอาหารท่ีมีเกลือโซเดียม ไขมันอิ่มตัว ไขมันรวมและคอเรสเตอรอลลง และเพ่ิมการ รบั ประทานใยอาหาร โปรตนี แคลเซียม แรธ่ าตตุ า่ ง ๆ อยา่ งโปแตสเซยี มและแมกนีเซียม รวมถงึ ปรมิ าณสารไน เตรทที่มีผลการศกึ ษาถึงการลดความดนั โลหติ สงู ได้ สดั สว่ นกำรรับประทำนอำหำรตำมหลกั DASH ใน 1 วัน จะประกอบด้วย 1. ธัญพชื ชนิดต่าง ๆ โดยเน้นเป็นธญั พืชไม่ขัดสี 7-8 ส่วนบริโภค (หรือประมาณ 7-8 ทัพพี) เพ่ือเพิม่ การ รบั ประทานใยอาหารทช่ี ่วยการขบั ถา่ ยและลดความเสี่ยงโรคเรอ้ื รงั 2. ผักและผลไม้อย่างละ 4-5 ส่วนบริโภค (หรือประมาณ 4-5 ทัพพี และผลไม้ 3-4 ส่วน) เพิ่มการ รับประทานใยอาหาร วิตามินและแร่ธาตุต่าง ๆ ท่ีช่วยเสริมสร้างการทางานของร่างกาย โดยเน้น รบั ประทานผักและผลไมส้ ด หลีกเลีย่ งผกั และผลไมก้ ระปอ๋ งหรือผลติ ภณั ฑ์แปรรูปต่าง ๆ

61 3. เน้ือสัตว์ไขมันต่าอย่างเน้ือปลา 2-3 ส่วนบริโภค (หรือประมาณ 4-6 ช้อนกินข้าว) การลดการ รับประทานสัตวเน้ือแดง การตัดส่วนไขมันหรือหนังของเน้ือสัตว์และเลือกรับประทานเน้ือสัตว์ไขมัน ต่าจะช่วยลดการบริโภคไขมัน นอกจากน้ีการเพิ่มการรับประทานเนื้อปลาจะช่วยเพิ่มการบริโภคกรด ไขมันโอเมกา้ 3 ทช่ี ว่ ยชว่ ยบารงุ หัวใจอกี ด้วย 4. นา้ มนั หรอื ไขมัน 2-3 ส่วนบริโภค (หรือไมเ่ กิน 6 ช้อนชา) การรับประทานไขมนั ที่มากเกนิ ไปกอ่ ให้เกิด โรคต่าง ๆ แต่ถึงอย่างนั้นไขมันยังเป็นสารอาหารจาเป็นที่ช่วยให้การดูดซึมวิตามินชนิดท่ีละลายน้า รวมถงึ เปน็ แหล่งของกรดไขมันทจี่ าเปน็ ตอ่ ร่างกาย 5. ถั่วชนิดต่าง ๆ เช่น อัลมอนด์ ถั่วเลนทิล 4-5 ส่วนบริโภค(หรือประมาณ 4-5 ฝ่ามือ)ต่อสัปดาห์ * เนื่องจากถ่วั ชนดิ ต่าง ๆมกี รดไขมนั ชนดิ ทด่ี อี ยู่ ท้ังกรดไขมันโอเมก้า 3, 6, 9 6. ของหวานชนิดตา่ ง ๆ ไม่เกิน 5 ส่วนบริโภคตอ่ สัปดาห์* แนะนาให้รับประทานนาน ๆ ครั้ง และอาจมี การใช้สารแทนความหวานในการปรงุ ประกอบ 7. เครื่องเทศหรือสมุนไพรต่าง ๆ ในการเสริมรสชาติอาหาร และลดการใช้เกลือหรือเครื่องปรุงที่มี โซเดยี มสงู ในการปรุงแตง่ อาหาร (มลู นิธหิ ัวใจแหง่ ประเทศไทยในพระราชูปถัมภ,์ 2560) TLC Diet ท่ีมา : national cholesterol Education Program Adult Treatment Panel III, 2001 TLC ย่อมาจาก Therapeutic Lifestyle Change Diet เป็นวิธีการดูแลทางโภชนบาบัดทางการแพทย์วิธี หน่ึง ทม่ี ีประสิทธิภาพในการดแู ลผปู้ ่วยท่มี ภี าวะไขมนั ในเลือดผิดปกติไดเ้ ป็นอยา่ งดี

62 อำหำรคีโตเจนคิ (ketogenic diet) เป็นวิธีการเลือกบริโภคอาหารท่ีมีผลทาให้ร่างกายเกิดการผลิตสารคีโตน (ketone) หลักการสาคัญ คือ การเน้นบริโภคอาหารที่มีส่วนประกอบของไขมันและโปรตีนในปริมาณสูง เพื่อให้ร่างกายได้สารอาหารและ พลงั งานท่มี ากพอใหอ้ มิ่ ท้อง แตม่ ีปริมาณคารโ์ บไฮเดรตต่ามาก การศึกษาเชิงวิทยาศาสตร์ยงั ไมส่ รุปชัดเจนวา่ การที่บริโภคอาหารคโี ตเจนิคนีส้ ามารถลดนา้ หนักได้อยา่ งไร การกนิ แบบ Ketogenic จะจากัดการให้พลงั งานอยทู่ ี่รอ้ ยละ 70-80 ของพลงั งานทรี่ ่างกายตอ้ งการ ต่อวัน และแบง่ สดั สว่ นการกนิ โดยเป็นพลงั งานทไ่ี ดร้ ับจากคาร์โบไฮเดรตไมเ่ กินรอ้ ยละ 10 โปรตนี ไมเ่ กินรอ้ ย ละ 30 ของพลงั งานทง้ั หมด สว่ นท่ีเหลือเป็นพลังงานจากไขมนั มากกวา่ รอ้ ยละ 60 (สดั สว่ นนอี้ าจแตกตา่ งกนั ตามแต่ละตารา แตห่ ลักการเหมอื นกนั คือ เพิ่มการกนิ ไขมนั เปน็ พลังงานหลกั และจากัดสดั สว่ นการกิน คาร์โบไฮเดรต) 1. กินคาร์โบไฮเดรตไม่เกนิ ร้อยละ 10 ของพลังงานทั้งหมดต่อวนั โดยทั่วไปจะให้กนิ คาร์โบไฮเดรตได้ ไม่เกิน 50 กรัมต่อวัน นั่นคืออาหารแลกเปลี่ยนหมวดข้าว-แป้งได้ไม่เกิน 3 ส่วนต่อวัน เช่น ใน 1 วัน ผู้ที่กิน อาหารคีโตนสามารถกนิ ข้าวสวยได้ไมเ่ กนิ 3 ทัพพี หรือขนมปงั ไม่เกิน 3 แผ่น หรือข้าวเหนียวนง่ึ ไมเ่ กิน 3 ช้อน โต๊ะ เพ่ือควบคุมระดบั น้าตาลในเลือด ส่วนผักที่มีรสหวานและผักท่มี ีหัวใต้ดินจัดเป็นอาหารกลุ่มคาร์โบไฮเดรต จาเป็นต้องหลีกเล่ียง เช่น ฟักทอง ข้าวโพด แครอท มันฝรั่ง มันเทศ เผือก หัวไชเท้า ดังนั้นผู้ที่รับประทาน อาหารคีโตนตอ้ งทราบชนิดอาหารทเี่ ป็นแหล่งของคารโ์ บไฮเดรตท่รี ่างกายสามารถย่อยและดดู ซมึ เข้าสู่รา่ งกาย สามารถนับปริมาณคาร์โบไฮเดรตที่รบั ประทาน อา่ นฉลากโภชนาการใหเ้ ป็นและนาไปใช้ประกอบการเลือกกนิ คาร์โบไฮเดรตได้ 2. กินโปรตีนไม่เกินร้อยละ 30 ของพลังงานท้ังหมด ควรเลือกโปรตีนคุณภาพจากเน้ือสัตว์และ ผลิตภัณฑจ์ ากสัตวเ์ นื่องจากมกี รดอะมิโนจาเป็นและคณุ คา่ ทางโภชนาการสูงกว่าโปรตีนจากพชื แหล่งโปรตีนที่ แนะนา ไดแ้ ก่ ไข่ไก่ ปลาทู ปลาแซลมอน ปลากกะพง เน้ือหมูสันนอก ถ่ัวเปลือกแข็ง เช่น อัลมอนต์ แมคคาเด เมีย เมล็ดมะม่วงหิมพานต์ ฮาเซลนัท วอลนัท เป็นตน้ หลีกเล่ียงการบริโภคถ่ัวฝัก เช่น ถ่ัวลันเตา ถั่วเหลืองทั้ง เมลด็ เนอ่ื งจากมคี ารโ์ บไฮเดรตสงู 3. กินไขมันไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของพลังงานท้ังหมด ควรเลือกกินไขมันที่มาจากธรรมชาติทั้งพืช และสัตว์ โดยเน้นการกินไขมันดี คือ ไขมันที่ไมอ่ ่ิมตัวทั้งเชิงเดีย่ ว(monounsaturated fatty acid) เชน่ น้ามัน มะกอก น้ามันคาโนลา น้ามันอะโวกาโด อัลมอนต์ แมคคาเดเมีย เมล็ดมะม่วงหิมพานต์ ฮาเซลนัท วอลนัท และไขมันไม่อิ่มตัวเชิงซ้อน (polyunsaturated fatty acid) เช่น น้ามันข้าวโพด น้ามันเมล็ดดอกคาฝอย น้า มันงา ปลาทะเล นอกจากนี้บางสูตรจะใช้ไขมันที่มีกรดไขมันอ่ิมตัวสายกลาง (medium-chaintriglyceride; MCT) เพอ่ื ใหเ้ กดิ ภาวะ ketosis ทเี่ รว็ ขึ้น (จฑุ ารัตน,์ 2562)

63 อำหำรสำหรบั ผปู้ ่วยธำลัสซเี มีย อำหำรทเี่ หมำะสมสำหรับผปู้ ว่ ยโรคธำลัสซเี มยี - ปริมาณสารอ้างองิ ของโฟเลททีค่ วรไดร้ บั ประจาวนั สาหรบั คนไทย (Dietary reference in take for Thais, DRI) จาแนกตามกลุ่มอายุ ดังน้ี กลุม่ อำยุ ปริมำณสูงสุดของโฟเลทท่รี บั ได้ (ไมโครกรมั /วัน) เด็กก่อนวัยเรียน 400 เด็กวัยเรียน 800 วยั ทางาน ผสู้ งู อายุ หญงิ ต้ังครรภ์ 1,000 หญิงใหน้ มบุตร 1,000 (กลมุ่ วจิ ยั อาหารเพ่อื โภชนาการ สานักโภชนาการ กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ ) ตัวอย่างปรมิ าณโฟเลทในอาหาร อำหำร ปริมำณโฟเลท (ไมโครกรัม/100 กรัม) กลุม่ ผกั ผกั คะน้า 80.10 แมงลัก 75.10 โหระพา 106.30 สาระแหน่ 74.70 ผักชีฝรงั่ 40.20 กลมุ่ ผลไม้ กล้วยไข่ 35.41 กลว้ ยนา้ วา้ 37.16 กลว้ ยหอมทอง 15.28 แคนตาลูป 18.08 มะมว่ งเขียวเสวยสกุ 67.47 สม้ จีน 19.80 สับปะรดศรีราชา 17.89 กลมุ่ เนือสัตว์ เนอื้ ไกอ่ ก 60.90 เนอ้ื ไก่สะโพก 71.86 เนอ้ื หมูสนั ใน 36.40

64 เน้ือววั สันใน 50.09 กล่มุ ถว่ั เมล็ดแหง้ ถวั่ ดา 230.11 ถวั่ เขยี ว 186.40 ถ่วั ลิสง 126.66 ถัว่ เหลอื ง 168.89 (กลมุ่ วิจยั อาหารเพื่อโภชนาการ สานกั โภชนาการ) - ปริมาณสูงสดุ ของวติ ามินดีท่สี ามารถรับไดใ้ นแต่ละวัน (Tolerable Upper Intake Levels (ULs)) อำยุและเพศ ปริมำณสงู สุดของวิตำมนิ ดีที่ได้รับได้ในแต่ละวนั (International Unit (IU)*) ทำรก 0-5 เดอื น 1,000 6-11 เดอื น 1,500 เดก็ 2,500 1-3 ปี 3,000 4-8 ปี 4,000 4,000 ผ้ชู าย (อายุมากกวา่ 9 ป)ี 4,000 ผหู้ ญงิ (อายุมากกวา่ 9 ปี) 4,000 หญงิ ตัง้ ครรภ์ (อายุ 14-50 ปี) หญงิ ใหน้ มบตุ ร (อายุ 14-50 ปี) ตวั อยา่ งปริมาณวิตามนิ ดใี นอาหารธรรมชาติ ชนิดของอำหำร แหลง่ ที่มำ วธิ ปี รุง ปริมำณวิตำมนิ ดใี นอำหำรหนว่ ยสำกล ปลาแซลมอน หรอื วิธีกำรแปรรูปอำหำร (International Unit (IU)) ปลาทนู า่ เลี้ยงตามธรรมชาติ 600-1,000 (วติ ามินบี 3) ปลาซาดีน ปลาแมคเคอเรล บรรจใุ นกระปอ๋ ง 100-250 (วิตามนิ บี 3 หรือวิตามินบี 2) เหด็ หอม เลีย้ งในฟาร์มและอบ 240 (วติ ามนิ บี 3 หรือวิตามนิ บี 2) นา้ มนั ตับปลา (1 ชอ้ นชา) ไข่แดง (1 ฟอง) เลีย้ งในฟาร์มและทอด 123 (วติ ามินบี 3 หรอื วติ ามนิ บี 2) บรรจใุ นกระปอ๋ ง 230 (วิตามินบี 3) บรรจุในกระปอ๋ ง 300 (วิตามนิ บี 3) บรรจุในกระปอ๋ ง 250 (วิตามนิ บี 3) เหด็ สด 100 (วิตามนิ บี 2) เหด็ ตากแหง้ 1,600 (วิตามินบี 2) 400-1,000 (วติ ามนิ บี 3) 20 (วติ ามินบี 3 หรือวติ ามินบี 2) (ปรมิ าณสารอาหารอา้ งอิงทค่ี วรไดร้ ับประจาวันสาหรับคนไทย, 2563)

65 อำหำรทคี่ วรหลกี เลย่ี งสำหรบั ผปู้ ว่ ยโรคธำลสั ซเี มยี ตารางแสดงผลติ ภณั ฑท์ ี่มปี รมิ าณธาตุเหล็กสูง ผลติ ภัณฑจ์ ากพืชและเหด็ ทม่ี ปี ริมาณธาตุเหลก็ สูง (ปยิ นชุ โรจนส์ ง่า, 2558)

66 กระดกู หักเนื่องจำกกระดกู พรุน กระดูกพรุน คือภาวะที่มวลกระดูกน้อยลง เนื่องจากมีการสลายกระดูกเร็วกว่าการสร้างกระดูก มวลกระดูกท่ีลดน้อยลงทาให้ความแข็งแรงกระดูกลดลง จนกระทั่งในที่สุดไม่สามารถจะรับน้าหนักหรือ แรงกระทาต่างๆได้ ส่งผลให้กระดูกแตกหรือหักได้ง่าย ขอ้ ควรปฏิบตั เิ พ่อื ปอ้ งกนั กระดกู หักเนือ่ งจำกกระดกู พรนุ 1. รบั ประทานอาหารที่มแี คลเซยี มและวติ ามนิ ดสี ูง อย่างสม่าเสมอ 2. ออกกาลังกายเป็นประจา ( weight-bearing and muscle-strengthening exercise )เช่น การ เดิน การวิ่ง เต้นแอโรบิก กระโดดเชือก รามวยจีน เต้นรา เป็นต้น ร่วมกับการยกน้าหนัก จะช่วยเพิ่มความ แขง็ แรง ท้งั กระดูกและกล้ามเนอ้ื 3. รับแสงแดด ช่วยให้ร่างกายสังเคราะห์วิตามินดี ควรจะออกไปรับแสงแดดอ่อนๆ ยามเช้าหรือยาม เยน็ วันละ 10-15 นาที 4. รกั ษานา้ หนกั ตวั อย่าใหต้ า่ กว่าเกณฑ์ 5. หลกี เลี่ยงพฤติกรรมท่ีเสยี่ งต่อการเกดิ ภาวะกระดูกพรนุ เช่น • ไม่ด่ืมน้าอัดลมปริมาณมาก เพราะกรดฟอสฟอริกในน้าอัดลมทาให้เกิดการสลายแคลเซียมออก จากกระดกู มากขนึ้ • หลีกเลี่ยงการดื่มแอลกอฮอล์ ในปริมาณมาก เพราะแอลกอฮอล์จะขัดขวางการดูดซึมแคลเซียม ของลาไส้เลก็ • งดการสูบบหุ ร่ี เพราะบุหรก่ี ระตุน้ ให้เกิดการสลายแคลเซยี มออกจากกระดูกมากข้นึ 6. ควรปรึกษาแพทย์เพื่อตรวจกรองโรคกระดูกพรุน ในผู้ท่ีเป็นกลุ่มเส่ียงต่อการเกิดกระดูกพรุนหรือ กระดูกหกั ปรมิ าณแคลเซียมทเ่ี หมาะสมของแต่ละช่วงอายมุ ีดงั นี้ ช่วงอำยุ ( ปี ) ปริมำณแคลเซยี มท่ีเหมำะสม (มก./วนั ) เด็ก (1-9 ปี) 800 วัยรุน่ (10-19 ปี) 1,200 ผู้ใหญ่ (20-60 ปี) 800 หญิงมคี รรภ์และให้นมบุตร 1,200 หญิงวยั หมดประจาเดอื น 1,000 วัยสงู อายุ (60 ปีขึ้นไป) 800

67 อำหำรประจำถน่ิ 3 จังหวัดชำแดนภำคใต้ ภำพอำหำร อำหำรคำว ชอ่ื เฉพำะของอำหำร นาซิดาแฆ ไก่กอและ หรือ ไก่ฆอและ ขา้ วยาปักใต้ หรือ นาซิกาบู ละซอ

68 ช่ือเฉพำะของอำหำร ภำพอำหำร ซาเต รอเญาะ ซอเลาะลาดอ

69 อำหำรวำ่ งและอำหำรหวำน ภำพอำหำร ชื่อเฉพำะของอำหำร โรตี ขา้ วเหนยี วสงั ขยาหรอื ปโู ละกายอ ตูปะซตู งหรือหมึกตม้ หวานยัดไสข้ า้ วเหนยี ว กอื โป๊ะ

70 ชอื่ เฉพำะของอำหำร ภำพอำหำร ขนมอาเกา๊ ะ โรตีปาแย มะตะบะ

71 กำรคำนวณอำหำร (พลงั งำน) ทำงหลอดเลือดดำ

72

73

74

75

76

77

78

79 จดั ทำโดย นำงสำวอำนีซะห์ เหมมนั 5920310237 นำงสำวซันมำ หลีหมดั 6020310060 นำงสำวซำมีเรำะห์ แวสมำแอ 6020310061 นำงสำวนูรุลฮูดำ สำแล 6020031065 นำงสำวแวอำมเี นำะห์ ดือเระ 6020310067 นำงสำวสริ กิ ร ทองดำ 6020310068 นกั ศกึ ษำสำขำโภชนศำสตรแ์ ละกำรกำหนดอำหำร

80


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook