การพฒั นานวตั กรรมการศึกษา นางสาวปรียาภทั ร์ ชลสินธุ์ รหสั นิสิต 62170512 สาขาวชิ าหลกั สูตรและการสอน
คานา หนงั สือเรื่องนวตั กรรมการศึกษาเลม่ น้ี เป็นส่วนหน่ึงของ รายวชิ านวตั กรรมและเทคโนโลยที างการศึกษา จดั ทาข้ึนเพอ่ื เผยแพร่เน้ือหาความรู้เกี่ยวกบั ความหมาย ประเภท และ ตวั อยา่ ง ของนวตั กรรมทางการศึกษา ผจู้ ดั ทาหวงั เป็นอยา่ งยงิ่ วา่ หนงั สือเล่มน้ีจะเป็นประโยชน์ แก่ผทู้ ี่ศึกษาไม่มากกน็ อ้ ยและหากมีขอ้ ผดิ พลาดประการใด ตอ้ งขออภยั มา ณ ที่น้ีดว้ ย ผจู้ ดั ทา
สารบญั ก ข คานา 1 สารบญั 2 ความหมายของการพฒั นานวตั กรรมการศึกษา 6 ประเภทของนวตั กรรมการศึกษา 7 แหล่งสืบคน้ ตวั อยา่ งนวตั กรรมการศึกษา 8 ข้นั ตอนการพฒั นานวั ตกรรมการศึกษา 9 การเขียนรายงานการพฒั นานวตั กรรมการศึกษา บรรณานุกรม
ความหมายของการพฒั นา นวตั กรรมการศึกษา นวตกรรม หรือ นวกรรม มาจากคาวา่ “นว” หมายถึง ใหม่ และ “กรรม” หมายถึง การกระทาเม่ือนาสองคาน้ีมารวมกนั เป็น นวกรรม หรือนวตกรรม จึงหมายถึง การกระทาใหม่ ๆหรือการ พฒั นาดดั แปลงจากส่ิงใดๆ แลว้ ท าใหด้ ีข้ึน และเมื่อนา นวตั กรรม มาใชใ้ นวงการศึกษาจึงเรียกวา่ “นวตั กรรมการศึกษา” การพฒั นานวตั กรรมการศึกษา (Educational Innovation) จึงหมายถึง การกระทาใหม่การสร้างใหม่ หรือการพฒั นาดดั แปลง จากสิ่งใดๆ แลว้ ทาใหก้ ารศึกษาหรือการจดั กิจกรรมการเรียนการ สอนมีประสิทธิภาพดีข้ึนกวา่ เดิม
ประเภทของนวตั กรรมการศึกษา นวตั กรรมที่นามาใชใ้ นทางการศึกษา ท้งั การกระทาใหม่ใดๆ การสร้างส่ิงใหม่ๆ รวมท้งั การพฒั นาดดั แปลงจากส่ิงใดๆ เพ่อื ใช้ ในการเรียนการสอน แบ่งเป็น 5 ประเภท คือ นวตั กรรมดา้ นสื่อการสอน นวตั กรรมดา้ นวธิ ีการจดั การเรียนการสอน นวตั กรรมทางดา้ นหลกั สูตร นวตั กรรมดา้ นการวดั และการประเมินผล นวตั กรรมดา้ นการบริหารจดั การ
1. นวตั กรรมดา้ นส่ือการสอน ยกตวั อยา่ งเช่น บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หนงั สืออิเลคทรอนิคส์ บทเรียนการ์ตูน บทเรียนCD/VCD หนงั สือเล่มเลก็ 2. นวตั กรรมดา้ นวธิ ีการจดั การเรียนการสอน ยกตวั อยา่ งเช่น การสอนแบบร่วมมือร่วมใจ (Cooperative Learning) การสอนแบบโครงสร้างความรู้(Graphic Organizer) การสอนแบบศูนยก์ ารเรียน (Learning Center) การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้(Inquiry Based) การสอนแบบบูรณาการ (Integrate Teaching) การสอนดว้ ยรูปแบบซิปปา (CIPPA Model)
3.นวตั กรรมดา้ นการวดั และการประเมินผล ยกตวั อยา่ งเช่น การสร้างแบบวดั ต่าง การสร้างเครื่องมือ การประยกุ ตใ์ ชโ้ ปรแกรมคอมพวิ เตอร์ 4.แนวทางการพฒั นาดา้ นการวดั และการประเมินผล เช่น 1. การสร้างแบบวดั ความมีวินยั ในตนเอง 2. การสร้างแบบวดั ความคิดสร้างสรรค์ 3. การสร้างแบบวดั แววครู 4. การพฒั นาคลงั ขอ้ สอบ 5. การพฒั นาระบบการลงทะเบียนผา่ นเครือข่ายอินเตอร์เน็ต 6. การพฒั นาการใชบ้ ตั รสมาร์ทการ์ด เพ่อื การใชบ้ ริการของ สถาบนั ศึกษา 7. การใชค้ อมพวิ เตอร์ในการตดั เกรด 8. การพฒั นาระบบฐานขอ้ มูลโรงเรียน 9. การพฒั นาโปรแกรมการวิเคราะห์ขอ้ สอบ 10. การพฒั นาฐานขอ้ มูลดา้ นการเงิน ของโรงเรียน ฯลฯ
5 นวตั กรรมดา้ นการวดั และการประเมินผล ยกตวั อยา่ งเช่น การสร้างแบบวดั ต่าง การสร้างเคร่ืองมือ การประยกุ ตใ์ ชโ้ ปรแกรมคอมพวิ เตอร 6. นวตั กรรมดา้ นการบริหารจดั การ ยกตวั อยา่ งเช่น การบริหารเชิงระบบ การบริหารเชิงกลยทุ ธ์ การบริหารแบบหลอมรวม การบริหารเชิงบูรณการ การบริหารเชิงวิจยั ปฎิบตั ิการ การบริหารแบบภาคีเครือขา่ ย การบริหารโดยใชอ้ งคก์ รเครือขา่ ยแบบร่วมร่วมทา การบริหารโดยใชโ้ รงเรียน บา้ น วดั ชุมชน และสถาน ประกอบการ เป็นฐาน ฯลฯ
แหล่งสืบคน้ ตวั อยา่ งนวตั กรรม เวบ็ ไซต์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร www.edu.nu.ac.th self – Access room สืบคน้ ฐานขอ้ มูลผลงานวิจยั http://www.library.msu.ac. th http://library.cmu.ac.th
ข้นั ตอนการพฒั นา นวตั กรรม ข้นั ตอนการวจิ ยั เชิงการพฒั นา (Research and Development) โดยทว่ั ไปมกั กาหนดเป็น 3 ข้นั ตอนดงั น้ี ข้นั ท่ี1 การสร้างและหาประสิทธิภาพ - ศึกษาเอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเกี่ยวขอ้ ง - ยกร่างนวตั กรรม (ส่ือ วธิ ีการสอน หลกั สูตร การวดั และการ ประเมิน และกระบวนการบริหาร) - เสนอผเู้ ชี่ยวชาญ - ทดลองใชก้ บั กลุม่ ตวั อยา่ ง/เป้าหมาย 1, 2,……. - (อาจจะหาประสิทธิภาพ E1/E2)
ข้นั ที่2 ศึกษาผลการนาไปใช้ - นาไปใชก้ บั กลุ่มตวั อยา่ ง/กลุม่ เป้าหมาย - ทาการทดสอบผลและประเมินผลการใช้ โดยอาจจะ - เปรียบเทียบก่อนใชแ้ ละหลงั ใช้ ( ใชt้ -test แบบ t-pair) - เปรียบเทียบกบั เกณฑท์ ี่ก าหนด ( ใชt้ -test แบบ one-sample) ข้นั ท่ี 3 ประเมินผล - ใชแ้ บบวดั ความพึงพอใจ แบบวดั ทศั นคติแบบวดั ความคิดเห็น หรือใชร้ ูปแบบประเมินใดๆ เพือ่ การประเมินผลการใชน้ วตั กรรม น้นั
การเขียนรายงานการพฒั นานวตั กรรม จะแบ่งส่วนสาคญั ออกได้ 3ส่วนคือ (1) ส่วนนา (2) ส่วนเน้ือความ (3) ส่วนอา้ งอิง
บรรณานุกรม มนสิช สิทธิสมบูรณ์, (2549) ระเบียบวธิ ีวจิ ยั . คณะศึกษาศาสตร์. มหาวทิ ยาลยั นเรศวร. มนสิช สิทธิสมบูรณ์, (2549) ชุดฝึกปฏิบตั ิการเหนือต ารา: การทาวจิ ยั ในช้นั เรียน.คณะศึกษาศาสตร์. มหาวทิ ยาลยั นเรศวร. มนสิช สิทธิสมบูรณ์, (2550) ชุดฝึกอบรมเหนือต ารา : การทาวจิ ยั เพ่ือเล่ือน วทิ ฐานะ. คณะศึกษาศาสตร์. มหาวทิ ยาลยั นเรศวร. Grundy,S. and Kemmis, S. (1982) Educational action research in Australia: In S.Kemmis(ed) The Action Research Reader. Victoria: Deakin University Press. Henry , C. and McTaggart, R. (1997). EAE 717 Action Research and Critical Social Science. EAE 430/632, Unit Guide, The Faculty of Education, Victoria: Deakin University Press. Kemmis,S. and McTaggart, R.(1988), The Action Research Planner. Third substantially revised edition, Victoria: Deakin University Press. Alders
Search
Read the Text Version
- 1 - 14
Pages: