Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ประเมินผลการปฏิบัติงาน

ประเมินผลการปฏิบัติงาน

Published by tunshanog.yaikang, 2022-03-26 03:43:00

Description: รวมเล่มประเมิน

Search

Read the Text Version

แฟ้มสะสมผลงาน PORTFOLIO (1 ต.ค. 2564 - 31 มี.ค. 2565) ประจำปี 2565 นางสาวธัญชนก ใหญ่กลาง พนักงานราชการ ตำแหน่ง บรรณารักษ์ ห้องสมุดประชาชนอำเภอวังน้ำเขียว ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังน้ำเขียว สำนักงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดนครราชสีมา สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

คำนำ รายงานผลการปฏิบตั งิ าน ครง้ั ที่ 1 ประจำปง บประมาณ 2565 (1 ต.ค. 2564 – 31 ม.ี ค. 2565) จดั ทำขึ้นเพื่อรายงานผลการปฏบิ ตั ิงาน ดา นการบรกิ าร หอ งสมุดประชาชนอำเภอ วังน้ำเขียว โดยใชหลกั การหอ งสมดุ 3D ในการปฏบิ ัตงิ านใหบรรลุเปาหมายและวัตถุประสงค ในเชงิ ปริมาณและคณุ ภาพ รายงานผลการปฏบิ ัติงานฉบบั นี้ สามารถนำไปใชเปน ฐานขอ มลู การวางแผนการ ปฏบิ ตั งิ านในปงบประมาณตอ ไป ใหป ระสบความสำเร็จมากย่งิ ขนึ้ (นางสาวธญั ชนก ใหญกลาง) บรรณารักษ หองสมุดประชาชนอำเภอวงั น้ำเขยี ว

สารบญั หนา คำนำ 1 สารบัญ 3 6 ขอ มูลผูรบั การประเมนิ 16 สว นที่ 2 ขอ มลู พน้ื ฐาน 16 20 ประวตั คิ วามเปน มาหองสมุดประชาชน 24 ขอ มลู การประเมิน 29 33 ตัวชีว้ ัดท่ี 1 การบริหารงานทวั่ ไป ตวั ชีว้ ัดที่ 2 งานเทคนคิ หอ งสมดุ ตัวชีว้ ัดที่ 3 การบรกิ ารในหองสมดุ ตัวช้วี ดั ที่ 4 ความถกู ตองดา นวชิ าการหองสมดุ ตัวชีว้ ัดท่ี 5 ดานการปรบั ปรงุ และพฒั นาหองสมดุ ภาคผนวก

 ประเมินพนกั งานราชการ ตำแหนง บรรณารักษ ประจำป ๒๕๖5 หอ งสมุดประชาชนอำเภอวังน้ำเขียว ศนู ยก ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอวงั น้ำเขียว สำนกั งานสงเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยจงั หวดั นครราชสมี า รอบการประเมิน  คร้งั ที่ 1 ( ต.ค. 64 - มี.ค. 65) ขอมลู ผูร ับการประเมนิ ชือ่ ผรู ับการประเมิน นางสาวธญั ชนก ใหญกลาง ตำแหนง บรรณารักษ วฒุ กิ ารศึกษาระดับปรญิ ญาตรี สาขาวชิ าบรรณารักษศาสตรและสารนเิ ทศศาสตร สงั กดั ศนู ยก ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอวงั น้ำเขียว ชือ่ ผูประเมนิ นายเชิดชัย กลงึ พุดซา ตำแหนง ผอู ำนวยการศนู ยการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวงั น้ำเขียว ชอื่ ผูประเมิน นางกิง่ ดาว นิตยไพบลู ย ตำแหนง ผอู ำนวยการศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอปก ธงชยั ชอ่ื ผปู ระเมิน นางปฐ มาภรณ ทองธีระ ตำแหนง ครู ค.ศ. 1 1

ประวัติการศึกษา วชิ าเอก ปท ี่สำเรจ็ ชือ่ สถานศกึ ษา วุฒิ การศึกษา สถาบนั ราชภฎั บรุ ีรัมย 2546 ประกาศณยี บัตรปรญิ ญาตรี บรรณารกั ษศาสตรและ สารนิเทศศาสตร มธั ยมศึกษาตอนปลาย - 2538 ศนู ยบรกิ ารการศึกษานอกโรงเรยี น อำเภอหนองก่ี มัธยมศึกษาตอนตน - 1.1 ประวตั ิการทำงาน ตำแหนง 2535 โรงเรียนหนองก่ีพทิ ยาคม ที่ ชือ่ หนวยงาน 1. กศน. อำเภอวังนำ้ เขยี ว บรรณารักษ ระยะเวลาทำงาน 2. กศน. อำเภอแกง สนามนาง บรรณารกั ษ 1 มถิ นุ ายน 2564 – ปจ จบุ นั 3. กศน. อำเภออำเภอหนองกี่ บรรณารักษ 3 ก.พ 2563 – 31 พ.ค. 2564 10 ก.พ. 2557 – 31 ม.ค 2563 2

สว นที่ 2 ขอ มลู พน้ื ฐาน ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังน้ำเขียวสถานท่ีต้ัง ตั้งอยูท่ี ถนน ๓๐๔ ราชสีมา-กบินทรบุรี หมูที่ ๑๐ ตำบลวังน้ำเขียว อำเภอวังน้ำเขียว จังหวัดนครราชสีมา รหัสไปรษณีย ๓๐๓๗๐ หมายเลขโทรศพั ท ๐๔๔–๒๒๘๖๑๕ E – mail : [email protected] สังกัด สำนักงานสงเสริม การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จังหวัดนครราชสมี า ประวตั ิความเปน มาของสถานศึกษา ประวัตสิ ถานศกึ ษา กระทรวงศึกษาธิการ ไดประกาศจัดตั้งศูนยบริการการศึกษานอกโรงเรยี นอำเภอวังน้ำเขียว เมื่อวันที่ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๓๕ ตอมา วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๓๖ จังหวัดนครราชสีมาไดแตงต้ังให นายเสนาะ อาจศิริ มาปฏิบัติ ราชการในหนาท่ีหัวหนาศูนยบริการการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอวังน้ำเขียว โดยจัดตั้งสำนักงานชั่วคราวท่ีศาลา วดั หลวงราชบำรุง ( กม. ๗๙ ) ถนนราชสมี า – กบินทรบรุ ี อำเภอวังนำ้ เขียว จังหวัดนครราชสีมา ตอมาป ๒๕๓๙ กรมการศึกษานอกโรงเรียนไดจัดสรรงบประมาณการกอ สรางหองสมุดประชาชนโดยใหศูนยบริการการศึกษานอก โรงเรียนอำเภอวังนำ้ เขียว พจิ ารณาหาสถานที่ในการดำเนินการกอสรา งที่เหมาะสม ซ่ึงไดกำหนดพื้นท่ีบริเวณสวน ราชการอำเภอวังน้ำเขียว เน้ือท่ปี ระมาณ ๑ ไร สถานท่กี อสรางหองสมดุ และไดทำพิธีเปดใช เม่ือวนั ที่ ๖ ธันวาคม ๒๕๓๙ ศูนยบริการการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอวังน้ำเขียวจึงไดยายที่ทำการมาต้ังสำนักงานที่ หองสมุด ประชาชนอำเภอวังน้ำเขียว ตอมาไดกอสรางอาคารสำนักงานขึ้น เม่ือป พ.ศ. ๒๕๔๘ แลวเสร็จในป พ.ศ. ๒๕๕๐ ตั้งอยูหนาหองสมุดประชาชนอำเภอวังน้ำเขียว ปจจุบันไดเปลี่ยนชื่อเปน ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยอำเภอวังน้ำเขียว โดยประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เม่ือวันท่ี ๑๐ มีนาคม ๒๕๕๑ ตาม พระราชบญั ญตั สิ งเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย อาณาเขต ทิศเหนอื ตดิ ตอกบั อำเภอปก ธงชัย จังหวดั นครราชสมี า ทิศตะวันออก : ติดตอกับอำเภอครบรุ ี จงั หวัดนครราชสีมา ทศิ ใต : ติดตอ กับอำเภอนาดี จงั หวดั ปราจีนบุรี ทิศตะวนั ตก : ติดตอกบั อำเภอปากชอง จงั หวดั นครราชสีมา 3

แผนท่ีตั้งอำเภอวังน้ำเขยี ว 4

๕. โครงสรางการบริหารงาน ศูนยก ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ ผูอ ํานวยการ กลุมงานบริ ิหารทวั่ ไป กลมุ งานการศึกษานอกระบบ งานยุทธศาสตรแ ละแผนงาน -งานการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน -งานขอ มลู สารสนเทศและ -งานการศกึ ษาตอเน่ือง รายงาน -งานเทียบระดบั การศึกษา -งานงบประมาณและระดม -งานแนะแนว ทรัพยากร -งานการศกึ ษาสาํ หรับคนพิการ -งานการเงนิ บญั ชี พัสดุ -งานพัฒนาสื่อ หลักสตู ร -งานนิเทศภายใน -งานวิจยั พฒั นาคณุ ภาพ -งานธรุ การ -งานธรุ การชั้นเรียน -งานขอมูล ประวัติ (ก.พ.7) -งานวัดและประเมินผล -งานฝกอบรมและพฒั นา -งานกจิ กรรมนกั ศึกษา บคุ ลากร - -งานเลขานุการคณะกรมการ สถานศึกษา -งานประชาสมั พนั ธ -งานศนู ยราชการใสสะอาด -งานสรา งเสริมคุณธรรม จริยธรรมในถานศึกษา -งานประกนั คุณภาพ

อำเภอวงั นำ้ เขยี ว คณะกรรมการสถานศึกษา กลมุ งานอธั ยาศัย/ภาคเี ครือขาย -งานการศึกษาตามอธั ยาศัย -งานสงเสริมพฒั นาแหลงเรยี นรู -งานสงเสรมิ นิทรรศการและ เผยแพร -งานสง เสรมิ ภาคเี ครอื ขา ย -งานอาคารสถานที่ -งานสง เสรมิ อาสามัครฯ ๕

หองสมดุ ประชาชนอำเภอวังน้ำเขียว ประวัตคิ วามเปน มาของหอ งสมดุ ความเปนมาของหองสมุดประชาชนสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ เริ่มจัดตั้งขึ้นเปนคร้ังแรกเมื่อป พ.ศ. ๒๔๙๕ โดยกรมศึกษาธิการหรือระทรวงศึกษาธิการในปจจุบันมีชื่อเรียกวา “หองสมุดประชาชน” จัดต้ังขึ้น เพือ่ รวบรวมหนงั สอื และบรกิ ารการอา นเพอ่ื ปะชาชน หองสมุดประชาชนอำเภอวังน้ำเขียว ตั้งอยูบนเน้ือท่ีจำนวน ๑ ไร ลักษณะของอาคารเปนคอนกรีต จำนวน ๑ ชั้น จัดต้ังในป พ.ศ.๒๕๓๙ และแวดลอมดวยแมกไมบรรยากาศรมรื่นเปนหนวยงานในศูนยการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอวังน้ำเขยี ว สงั กัดสำนักงานสงเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา ตามอัธยาศัย กระทรวงศึกษาธิการ มีภารกิจหลักคือ ใหบริการการศึกษาตามอัธยาศัยและการจัดการศึกษานอก โรงเรยี นเปน ภารกจิ รอง นอกจากน้ียังใหบ ริการแหลงขอ มลู ทองถิ่นเปน ภารกิจเสริม นโยบายและจุดเนนการดำเนินงานของหองสมุดประชาชน วสิ ยั ทัศน หองสมุดประชาชนอำเภอวังน้ำเขียว มุงมั่นการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กาวทัน เทคโนโลยี เพื่อการเรียนรตู ลอดชวี ิตตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพยี ง พนั ธกิจ 1. พัฒนาหองสมดุ ใหเปนหองสมดุ มชี ีวติ เปนแหลงเรยี นรตู ลอดชวี ติ ของผรู บั บริการ 2. พัฒนาหอ งสมุดใหเ ปนแหลง เรียนรเู ช่อื มโยงกับแหลง เรียนรูอนื่ เพื่อเขาสปู ระชาคมอาเซยี น 3. สง เสริมการเรียนรูโดยใชส อ่ื เทคโนโลยแี ละบูรณาการภูมิปญ ญาทองถ่ินสรา งความเขมแข็งใหกบั ผรู ับบรกิ ารทกุ กลมุ เปา หมาย 6

เปา ประสงค 1. หอ งสมดุ เปนศูนยก ลางขอมูลขาวสาร 2. หอ งสมดุ เปนศนู ยก ลางการเรียนรขู องชมุ ชน 3. การพฒั นาหองสมุดประชาชนใหเปน ศนู ยกลางการจดั กิจกรรมชุมชน 4. การพฒั นาหอ งสมดุ ประชาชนใหเปน เครือขายการเรียนรูชมุ ชน ตัวชว้ี ัด 1. ปริมาณของผเู ขารวมกจิ กรรมกลุมเปาหมายตางๆของหองสมุด 2. ผเู ขารวมกจิ กรรมและกลุมเปาหมายตางๆมีความพึงพอใจในดานตางๆดังน้ี - การใหบรกิ ารตา งๆของหองสมดุ - สือ่ สารสนเทศและทรัพยากรทสี่ ง เสริมการเรยี นรู - การจัดกจิ กรรมสง เสริมการเรยี นรแู ละสงเสริมการอา น 3. ผูเ ขารว มกจิ กรรมและกลมุ เปาหมายตา งๆสามารถนำความรไู ปประยุกตใ ชใ นชีวิตประจำวนั และ การ ประกอบ อาชีพ แนวทางการดำเนนิ งาน 1. จัดหาหนังสือ และส่ือการเรยี นรทู ี่มีคณุ ภาพ เพยี งพอตอความตอ งการ และเหมาะสมสำหรับ ประชาชนทกุ กลุมเปาหมาย 2. สรางบรรยากาศและสภาพแวดลอ มที่เอ้ือตอ การอาน การเรียนรู การคนควา และสะทอนเอกลักษณ ของชุมชน 3. พัฒนาและสง เสริมคณุ ภาพบรรณารักษและบคุ ลากรผปู ฏบิ ตั งิ านหองสมดุ ใหมคี วามเปน มืออาชีพ มี จติ บริการ เปน นักจดั กจิ กรรมสงเสรมิ การอานและการเรียนรู และเปนผบู ริหารจัดการความรูท ด่ี ี 7

นโยบายดา นการศึกษาตามอธั ยาศัย 1. การสงเสริมการอา น 1.1 พัฒนาระดับความสามารถในการอานของประชาชนทุกกลุมเปาหมายใหไดระดับอานคลอง เขียน คลอ ง คิดวิเคราะหพ ้นื ฐานผานกระบวนการเรยี นการสอนท่มี ีคณุ ภาพ 1.2 พัฒนาคนไทยใหมนี สิ ัยรักการอาน ใฝเ รียนรู โดยปลกู ฝงและสรา งเจตคติใหเ ห็น คุณคาและประโยชนของการอาน ประชาสัมพันธสงเสริมใหทุกคนมีสวนรวม และกำหนดมาตรการจูงใจเครอื ขาย สงเสริมการอา น 1.3 สงเสรมิ ใหม ีการสรางบรรยากาศและส่งิ แวดลอมทเ่ี อ้ือตอการอานใหเ กิดขึ้นในสงั คมไทย โดยสนับสนุนการพัฒนาแหลงการอานใหเกิดขึ้นอยางกวางขวาง และหลากหลาย รวมทั้งมีความพรอมในดานส่ือ อปุ กรณท ่ีสนบั สนุนการอานและการจดั กิจกรรมเพื่อสงเสริมการอา นท่ีหลากหลหาย โดยเฉพาะงานมหกรรมรักการ อานในสวนภูมภิ าค 1.4 สง เสรมิ และสนับสนนุ การสรางเครือขา ยสงเสรมิ การอา นโดยจัดใหม ีอาสาสมัครสงเสรมิ การอาน ในทกุ ตำบล 1.5 สงเสริมใหมี “นครแหงการอาน” ในจังหวัดที่มีความพรอมเพ่ือสรางเสริมบทบาทของการสงเสริม การอาน 2.หองสมุดประชาชนมีชวี ิต 2.1 มุงเนนพฒั นาหองสมดุ ประชาชนทกุ แหงใหเปน ศูนยกลางการเรียนรูตลอดชวี ติ ของชุมชน 2.2 จัดตั้งหองสมุดประชาชนในอำเภอที่ยังไมมีหองสมุดประชาชน เพ่ือจัดบริการใหกับประชาชนอยาง ครอบคลุมและท่ัวถึง โดยเนนการระดมทรพั ยากรและความรวมมือจากภาคเี ครือขายในการดำเนินงาน 2.3 จัดหาโครงสรางพ้ืนฐานดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อเชื่อมโยงกับแหลงการเรียนรู ตางๆสำหรบั ใหบ ริการในหอ งสมุดประชาชน 2.4 จัดกิจกรรมสงเสริมการเรียนรูในรูปแบบท่ีหลากหลายท้ังภายในและภายนอกหองสมุด เพ่ือปลูกฝง นิสัยรกั การอาน และพัฒนาศกั ยภาพการเรยี นรูดว ยตนเองของประชาชน 2.5 จัดหนวยบรกิ ารเคลอ่ื นทพ่ี รอ มอปุ กรณเพอื่ สงเสรมิ การอา นและการเรยี นรแู กประชาชนในพ้นื ทต่ี า งๆ 2.6 พัฒนาศักยภาพบุคลากรท่ีรับผดิ ชอบการบริการของหองสมดุ ประชาชน ใหมีความรู ความสามารถใน การใหบ ริการสนบั สนนุ การดำเนนิ งาน หองสมุด 3 ดี 2.7 แสวงหาภาคีเครือขา ยเพอื่ ใหเกิดการมสี ว นรวมในการสนบั สนุนการดำเนินงานหองสมดุ ประชาชน 8

กิจกรรมท่ดี ำเนินการทผ่ี า นมา หอ งสมุดไดดำเนนิ การจดั กจิ กรรมตามแผนปฏิบัติงานทีก่ ำหนดตามความเหมาะสม เชน กิจกรรมวันสำคญั กิจกรรมสง เสรมิ การอานในรูปแบบตางๆ กิจกรรมตามโครงการ เชน โครงการหอ งสมุดเคลือ่ นทีร่ วมกบั อำเภอ โครงการวนั เด็กแหงชาติ และโครงการสงเสรมิ การอานในรูปแบบตา งๆ สง่ิ ท่ีไดร ับจากการดำเนินงานโครงการหรอื การพฒั นาหอ งสมดุ ประชาชนโดยทว่ั ไป ทกุ เพศทุกวยั ไดเ หน็ ความสำคญั ของหอ งสมดุ ซึ่งเปนแหลง เรียนรู แหลง การศกึ ษาคนควา ท่ีสำคัญของชุมชน ทำใหประชาชนเขามาใชบริการศึกษาคนควาเพ่ิมมากขึ้น ทำใหเกิดนิสัยรักการอาน นอกจากนี้ หองสมุดยังเปนสถานที่พักผอนหยอนใจของประชาชนในยามวางไดเปนอยางดี จากการดำเนินงานโครงการสงเสริม สง เสริมการอานสงเสริมการเรยี นรูในรูปแบบตา งๆ ทำใหประชาชน ไดรับความรูทห่ี ลากหลายจากโครงการตางๆ ของ หองสมุด ทำใหครอบครัวของประชาชนมีนิสัยรักการอานหนังสือเพ่ิมมากข้ึนสามารถนำความรูท่ีไดรับจากการอาน จากการแนะแนวนำไปใชในการดำรงชีวิตประจำวันไดเปนอยางดี อนาคตบทบาทหนาที่ของหอ งสมดุ ประชาชน หองสมุดประชาชนเปนแหลงเรียนรูประเภทหน่ึง ตามมาตรา 25 ที่กำหนดไวในพระราชบัญญัติการศึกษา แหงชาติ พ.ศ.2542 และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2545สำนักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศัย (สำนักงาน กศน.) จึงไดกำหนดนโยบายและแนวทางที่จะพัฒนาหองสมุดประชาชนสกู ารเปน ศูนยกลางการเรียนรูตลอดชีวิตสำหรับนักเรียน นักศึกษา และประชาชนทุกกลุมเปาหมาย เปนการยกระดับคุณภาพ และมาตรฐานหองสมุดของสถานศึกษา กศน. ใหเปนแหลงเรียนรูตลอดชีวิต เปนศูนยกลางเช่ือมโยงเครือขายการ เรยี นรชู ุมชนท่มี ีคุณภาพ เพียงพอตอความตองการและเหมาะสมสำหรบั ผูบริการทกุ กลุมเปาหมาย พฒั นาและสงเสริม คุณภาพผปู ฏิบัติหนาทบี่ รรณารักษหองสมดุ ประชาชนใหม คี วามเปนมอื อาชพี มีจิตบริการ มีความรูลึก รรู อบ รกู วาง รู ไกล ทันสมัย ทันตอความเปล่ียนแปลงของสังคม เปนนักจัดกิจกรรมสงเสริมการอานและการเรียนรู เปนนักจัดการ ความรูท่ดี ี และเปน ผปู ฏิบัติงานอยา งมีความสขุ กรอบแนวทางการดำเนนิ งาน “หองสมุด 3 ดี ตามที่กระทรวงศึกษาธกิ ารไดกำหนดนโยบายการพัฒนาหองสมุดของสถานศึกษาใหเปนแหลงการเรียนรู เปนแหลงศึกษาคน ควา ของนกเรียน ครู ผูบริหาร ผปู กครองและชุมชน เพ่ือพัฒนาคณุ ภาพ โอกาส และสรางการมี สวนรว มในการพฒั นาการศึกษา โดยเฉพาะการเตมิ เตม็ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยใหเปน “ การศึกษาตลอดชีวิต” ท่ีเนนการพัฒนาใน 3 องคประกอบหลัก ไดแก หนังสือดี บรรยากาศดี และ บ รรณ ารักษ ดี เพื่ อ ขับ เค ล่ือ น การศึ ก ษ าต ล อ ดชี วิต แล ะน ำไป สู การส รางสังคม แ ห งการเรียน รู 9

เปา ประสงคต ามนโยบาย “หองสมุด 3 ดี ” เพื่อยกระดับคุณภาพและมาตรฐานของหองสมุดประชาชน สำนักงาน กศน.ทุกแหงใหเปน“หองสมุด 3 ด”ี ไดแก ดีที่ 1 หนังสือดี จัดหาหนังสือ และสื่อการเรียนรูที่มีคุณภาพ มีเนื้อหาสาระถูกตอง ไมเปนพิษเปนภัย และตรงใจผอู า นในรปู สือ่ สิ่งพิมพ สอ่ื อิเล็กทรอนิกส และสือ่ อื่นๆเพ่ือสง เสรมิ การอา นและการเรียนรู ของประชาชน ทกุ กลมุ เปา หมาย ดีท่ี 2 บรรยากาศดี จัดหาและพัฒนาหองสมุดประชาชนที่มีบรรยากาศและสภาพแวดลอมเอ้ือตอการ อา น การเรียนรู การคนควา อดุ มไปดว ยความรู ความบันเทิง และเช้ือเชญิ ใหทุกคนเขา มาใชบรกิ ารเสมือนหนึ่งเปน บานหลังที่สอง ท่ีสะดวก สะอาด รมรื่น ปลอดโปรง และปลอดภัยสำหรับทุกคนท่ีเขามาใชบริการ เปนหองสมุด ประหยดั พลังงาน และสะทอนเอกลกั ษณของชุมชน ดีที่ 3 บรรณารักษดี พัฒนาตนเองอยูตลอดเวลา บรรณารักษและบุคลากรผูปฏิบัติงานหองสมุดที่เปน ตัวกลางในการเชื่อโยงความรูในหองสมุดกับผูใชบริการ มีความเปน “มืออาชีพ” มีจิตรบริการ มีความรูลึก รูรอบ รูกวาง รูไกล ทันสมัย ทันความเปล่ียนแปลงของสังคม เปนนักจัดกิจกรรมสงเสริมการอานและการเรียนรู เปนผบู รหิ ารจดั การความรทู ดี่ ี และเปนผปู ฏิบตั งิ านอยางมีความสุข บทบาทหนา ท่ขี องเจา หนา ท่ีหอ งสมุดบรรณารกั ษ 1. สำรวจสภาพหองสมุดเพอ่ื ปรบั ปรุง ซอมแซม ท้งั ภายนอกและภายในรายงานใหผ อู ำนวยการ สำนักสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัด (ศูนยการศึกษานอกโรงเรียนจังหวัด) เพื่อ เสนอของบประมาณ 2. จัดทำแผนพัฒนาหองสมุดประชาชน 3. จดั ทำรวบรวมสื่อทเี่ กย่ี วกับการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนใหด เี ดน เปน พเิ ศษ 4. จัดหาหนังสอื ใหมแ ละสอื่ ทส่ี อดคลอ งกับแผนยุทธศาสตรพฒั นาประเทศโดยเอาจดุ แข็งของจงั หวดั มาใชประโยชนท ีม่ เี นอ้ื หาเกยี่ วกบั เศรษฐกิจ และอาชีพ สอดคลอ งกบั การพฒั นาเศรษฐกิจในจังหวดั 5. จดั หาหนังสอื และสื่อเกี่ยวกับเศรษฐกจิ เพ่มิ เตมิ เปนระยะๆ โดยเฉพาะหนังสือพิมพ วารสาร พรอมทัง้ แนะนำหนังสอื และสอื่ 6. รับสมคั รสมาชิก เชน กลุมอาชีพตางๆ กองทุนอตุ สาหกรรมขนาดยอมเขารว มเปน สมาชิก 7. จดั เวทีเสวนา อภปิ ราย แลกเปล่ียนขา วสารขอ มูลระหวา งสมาชิก 8. สบื คนขอ มลู จากอนิ เตอรเน็ตเกีย่ วกับเศรษฐกจิ ในจงั หวดั ตนเองพรอมทง้ั ดาวนโ หลดขอมูลขอมลู จดั ทำบอรด นิทรรศการ บอรด สถติ ิ ปรบั เปลี่ยนขอ มลู ใหเ ปนปจจุบัน 9. จดั ทำเวบ็ ไซดข องหอ งสมุดและเช่ือมโยงเวบ็ ไซด (link) ขอ มูลทางดานเศรษฐกจิ กบั หนว ยงานอื่น เพอ่ื สืบคน ขอมูลสถติ ิทางดานเศรษฐกิจ 10. ใชร ะบบเช่อื มโยงแหลงเรยี นรู ในการบนั ทกึ ขอ มูลหนังสอื วัสดุ 10

บทบาทภารกจิ งาน 1. งานบรกิ ารใหยมื รับ – คนื หนังสอื 2. งานสารบรรณ รบั – โตต อบหนังสอื 3. ลงทะเบยี นหนังสือใหม หนังสือบรจิ าค 4. งานเทคนิค การจัดทำบัตรรายการ ลงเลขเรยี กหนงั สือ ซอ มแซมหนังสือที่ชำรุด 5. งานบริการแนะแนว ชวยสบื คน บริการตอบคำถามและใหค วามรตู างๆแกประชาชน 6. งานกิจกรรมสง เสริมการอา นภายใน ภายนอกหอ งสมุดและกจิ กรรมตางๆ 7. งานประชาสมั พันธขาวสารตางๆ 8. งานท่ไี ดรับมอบหมายตางๆ นโยบายดานการบริหารจดั การ งานบรหิ ารงานของหองสมุดประชาชน การบริหารหองสมุด คือ การกระทำกิจกรรมใดๆในงานของหองสมุดใหดำเนินไปโดยความเรียบรอยตาม วัตถุประสงค อันเปนหนาที่ของหองสมุดแตละประเภทๆไป โดยมีการกำหนดแนวนโยบาย วางรูปงาน และหาวิธี ตางๆรวมท้ังการเลือกหา หนังสือ วัสดุอุปกรณตางๆมาไวในหองสมุด เพ่ือใหบริการแกผูใชดำเนินไปดวยดีตาม กำลังของงบประมาณท่ีไดจัดสรรแลว (ทวี มุขธระโกษา และ ชลัช ลียะวณิช 2511:369) จารุวรรณ สินธุโสภณ ใหค วามหมายของการบริหารงานหองสมุดไวด งั นี้ (2527: 42) คอื การบรหิ ารงานหอ งสมุด หมายถงึ 1. การรูจักใชบุคลากร อันประกอบดวยบรรณารักษ และผูมีความรูความสามารถหรือความชำนาญใน เรื่องท่ีเกี่ยวกับสื่อสนเทศ ซึ่งจะทำงานในดานการจัดหาการใช การสงวนรักษา การทำสำเนาการใชเคร่ืองมือและ อุปกรณต า งๆที่เก่ียวกับสื่อสนเทศ และ ใหบ ริการแกป ระชาชน 2. การใชเงินในการกอตั้ง ดำเนินการ หรือปรับปรุงและขยายกิจการอันเปนเงินซ่ึงไดรับมาจากสวน ราชการหรอื หนว ยงานที่หองสมดุ สังกดั อยูจากการสนบั สนนุ ของเอกชน หรือองคก ารหรือจากสมาชิกของหอ งสมุด 3. จัดบริการในเรอ่ื งท่ีเกีย่ วกับการใชประโยชนจ ากสอ่ื สนเทศซ่ึงเหมาะสมและสอดคลองกับความตองการ ของสมาชกิ และผมู าใชห องสมดุ 4. จัดสถานท่ีเพ่ือใหบริการดวยวิธีการตาง ๆ ใหเกิดประโยชนแกผูใชหองสมุดตามวัตถุประสงคของ หองสมดุ และ อำนวยประโยชนแกป ระเทศเปนสว นรวม 11

การบริหารงานในหองสมุดประชาชน จึงมีลักษณะการบริหารงานเหมือนกับหองสมุดอ่ืน ๆโดยท่ัวไป ใน ประเทศท่ีมีกฎหมายหองสมุด และมีมาตรฐานหองสมุดเปนเคร่ืองมือในการดำเนินงานหองสมุด มีปญหาในการ บริหารงานหองสมุดนอย สวนประเทศไทยนั้นหองสมุดประชาชนที่ดำเนินงานโดยกรมการศึกษานอกโรงเรียน ประสบปญหาตอการดำเนินงานหองสมุดมากที่สุด ท้ังน้ีเปนเพราะขาดแคลนบุคลากรท่ีทำงานในหองสมุด ประชาชน โดยเฉลยี่ แลว หองสมุดประชาชนมบี คุ ลากรในหอ งสมดุ ตำ่ กวาเกณฑมาตรฐานทก่ี ำหนด งานบริหารหองสมดุ แบงไดเปน 4 ประเภท (ฉวลี กั ษณ บุณยะกาญจน 2522: 9) ดังตอ ไปน้ี 1. งานเทคนิคเฉพาะของหอ งสมุด 2. งานบริการ 3. งานธรุ การ 4. งานวางแผน ทำโครงการ วางนโยบาย และควบคมุ การทำงาน 1. งานเทคนิคเฉพาะของหองสมดุ 1. งานเลือกหนังสือและอุปกรณการศึกษาตางๆ การส่ังซื้อหนงั สือและการเก็บทะเบยี นตางๆเก่ยี วกบั การ จัดหาหนงั สือ และอุปกรณการศกึ ษา 2. งานตรวจรบั หนังสือเขาหอ งสมดุ การประทบั ตราหองสมุดและงานลงทะเบยี นหนงั สือ 3. งานจดั หมหู นังสอื การเตรียมหนังสือใหย ืม การทำรา งบัตรรายการ 4. งานพิมพบัตรรายการ การตรวจบัตรรายการและการแยกบัตรรายการ เขียนสันหนังสือและการปด บตั รกำหนดสงและซองหนงั สือ 5. งานสำรวจหนังสือตามธรรมดาหลังจากหองสมุดเปดใหบริการเปนเทอมหรือเปนปแลวก็จะตองมีการ สำรวจหนงั สอื เพ่ือใหทราบวา หนังสือขาดหายไปเทาไหรมขี อบกพรองอะไรบางก็จะไดรีบแกไ ข งานสำรวจนี้ควรจะ ทำทกุ ปเวลาเหมาะทจ่ี ะทำไดแก เวลาหยดุ เรยี นภาคฤดูรอน 6. งานคดั หนังสือเกาออกหนังสอื บางเลม เกาลาสมัยไมม ีผใู ชศ ึกษาคนควา ก็ควรคัดออกจากหองสมุดหรือ หนังสือบางเลมมีฉบับพิมพใหมออกมาถาเห็นวาเลมเกาไมมีคุณคาก็ควรคัดออกแลวสงไปใหหองสมุดอ่ืนท่ีจะใช ประโยชน 7. งานตระเตรียมวารสารเพ่ือเย็บเลม การเย็บเลมวารสารควรจะคำนึงถึง หลักสูตรและแนวการสอนใน สถานศึกษาบรรณารักษควรเย็บเลมวารสารท่ีมีเนื้อหาวิชาในหลักสูตรของสถานศึกษาและใชดรรชนีนิตยสารเปน แนวดวยกไ็ ดวารสารท่เี ยบ็ เลม น้นั จงึ จะมคี ณุ คา แกการเรียนการสอนในสถาบัน 8. งานซอ มหนังสือ การเขา ปกหนงั สอื ปกออน และการเขา ปกเอกสาร 9. การจดั นิทรรศการหนังสือ เพื่อใหค นไดน ำไปศกึ ษา 12

2. งานบริการ 1. งานรับจา ยหนงั สือ ไดแ ก การใหค นยมื หนังสือออกไปใชน อกหองสมดุ และรับ-คนื หนงั สือ มกี ารเกบ็ ระเบยี บการยืมทำสถติ ิ การยืมรายวนั รายเดอื นและรายปทำหนงั สอื ทวงผูยืมไปเม่ือเกินกำหนดสง สอดบัตรคนื หนังสอื และเก็บหนงั สือเขาชัน้ นอกจากนยี้ งั ชวยใหบริการตอบคำถามที่งา ยๆ เชน การคน บตั รรายการและการแจง ท่ีอยูของหนังสือ เปนตน 2. บริการตอบคำถามและหนังสอื อางองิ แนะนำการใชห นงั สืออางอิง 3. บริการแนะแนวการอา น เชน การจดั การเลาเรื่องหนงั สือ จัดโปรแกรมเลานิทาน นำการอา นหนังสือ แบบสมุ จัดแนะแนวการอานแบบตา งๆ แกนักเรยี น เปนตน 4. บริการโสตทัศนวัสดอุ ุปกรณตา งๆ 5. บริการสอนนักเรยี นใหรจู กั หนงั สอื และหองสมุด 6. บรกิ ารดรรชนีนติ ยสารและหนงั สือ 7. บริการแปล 8. บริการบรรณานุกรม 9. บริการอื่นๆ บริการหนังสือสงวนจดั หนงั สอื ใหใ ชเฉพาะชัน้ หรอื กลุมการชว ยคนควาและวจิ ัยตา งๆ 3. งานธรุ การ 1. งานสารบญั ไดแกงานรา งหนังสือโตตอบจดหมายขออนุมัตทิ ำเสาเนาเอกสารเกบ็ เสาเนาเอกสาร เปน ตน 2. งานเกย่ี วกบั บกุ คลเชนการจดั หาคนเขาทำงานหองสมุดไดแก การออกประกาศรับสมัคร การรบั สมคั ร การสอบคัดเลือก การจดั คนเขา ปฏิบัตงิ านงานสวัสดิการการเลื่อนข้ันการควบคมุ ใหการปฏบิ ัติงานตามนโยบายของ หองสมุดและการตรวจตราดูแลผลงานของเจาหนา ทีต่ างๆ 3. งานพมิ พ มีพิมพหนังสอื ราชการเกยี่ วกับหอ งสมุดเชน พิมพร ายงานของหอ งสมุด ฯลฯ 4. งานพัสดุ ไดแกการจดั หาวัสดอุ ุปกรณของหอ งสมุด ครุภณั ฑตางๆ (ฉวลี ักษณ บณุ ยะกาญจน 2522 : 9-10) สำหรับหองสมุดประชาชนในประเทศไทยโดยเฉพาะหอ งสมดุ ประชาชนสังกัดกรมการศึกษานอกโรงเรยี น ยังไมม ีความจำเปนในการจดั ระบบการบรหิ ารหองสมดุ ใหแยกยอยลงไปเพราะยังขาดแคลนบุคลากรหองสมุดและ จำเปนตองปฏิบัติงานทกุ ดานของการดำเนนิ งานหองสมุดอยูแ ลว 13

4. งานวางแผน ทำโครงการ วางนโยบาย และควบคุมการทำงาน 1. สงเสริม และพัฒนาการนิเทศการศกึ ษาทง้ั ระบบ 2. สง เสรมิ ใชกระบวนการนเิ ทศในการพฒั นาบุคลากรใหมีความรคู วามสามารถในการปฏบิ ัตงิ านและ จดั กระบวนการเรยี นรเู พื่อนำไปสกู ารพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษานอกระบบ 3. กำกับ ตดิ ตาม และรายงานผลการดำเนินงานใหทันกำหนดเวลาโดยใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารและส่ืออ่นื ๆ ที่เหมาะสม ระบบการบรกิ ารภายในหองสมุด ระบบทศนยิ มดิวอี้ ระบบทศนิยมดิวอ้ี (Dewey Decimal Classification) เรียกยอๆ วา D.C. หรือ D.D.C เปนระบบการจัดหมวดหมู หนังสือในหองสมุดที่นิยมระบบหน่ึง คิดคนขึ้นโดยชาวอเมริกัน เมลวิล ดิวอี้ ในขณะท่ีเขา กำลังเปนผูชวย บรรณารกั ษอ ยูท วี่ ทิ ยาลยั แอมเฮอรส (Amherst College) ลักษณะท่วั ไปของระบบทศนยิ มดิวอ้ี ระบบทศนิยมดิวอ้ี เปนระบบที่คิดขึ้นโดยการแบงวิชาความรูออกเปนหมวดหมูตามหลักทฤษฎี (Theoretical systems) กลาวคอื กำหนดการแบงหมวดหมูวชิ าความรใู นแตละหมวดหมู โดยคำนงึ ถึงลำดับพัฒนาการของการเกิด วชิ าความรูในแตละสาขาเปน สำคญั เริ่มจาก 100 ปรัชญา (Philosophy) เปนเนื้อหาความรูแรก เปนเรอ่ื งท่ีมนุษยคิดเกี่ยวกบั ตน คือใคร มาจากไหน ความดีหรือ ความชัว่ คืออะไร เปนอยางไร 200 ศาสนา (Religion) เปนวิชาที่มนุษยคิดเกี่ยวกับพระเจา พระเจาคือใคร จะชวยใหมนษุ ยหลุดพนจากความทุกข ไดอยางไร 300 สังคมศาสตร (Social sciences) ถัดจากคิดเกี่ยวกับตัวเอง คือ การที่มนุษยคิดเกี่ยวกับบุคคลอื่น การอยูรวมกัน ตอ งมกี ารคิดถึงประเดน็ ตางๆ ที่เก่ียวกับผอู ืน่ 400 ภาษาศาสตร (Language) การท่ีมนุษยเปนสัตวสังคม จึงตองเรียนรูเก่ียวกับถอยคำและการสื่อสารเพื่อการ ติดตอ สมาคม 500 วิทยาศาสตร (Science) มนุษยคิดเก่ียวกับสิ่งที่เปนปรากฏการณในธรรมชาติ ทำไมจึงเกิด มีการคิด พิสูจน ได ขอ เทจ็ จรงิ ทีอ่ ธิบายปรากฏารณตา งๆ และบันทกึ ขอ เท็จจริงนั้นๆ ไว 600 วิทยาศาสตรประยุกต หรือเทคโนโลยี (Technology) เมื่อมนุษยนำความรูท่ีเปนวิทยาศาสตรมาประยุกตใช เพอ่ื ใหเกิดความสขุ สบาย 700 ศิลปกรรมและการบันเทิง (Arts and recreation) มนุษยคิดสรางสรรคจากความประทับใจของตนเปนงานเชิง ศลิ ปะ ดนตรี และความบันเทิง 800 วรรณคดี (Literature) งานศิลปะท่ีสรา งขึ้นถูกมนุษยน ำมาถายทอด และบอกเลาผานทางตัวอักษร 900 ประวัติศาสตรและภูมิศาสตร (History and geography) มนุษยบันทึกเรื่องราวตางๆ ที่เกี่ยวกับคน สถานที่ เหตุการณเ อาไวใ หค นรุนหลังไดรบั รู 14

000 เบ็ตเตลด็ หรือความรทู ั่วไป (Generalities) การเอาความรอู นื่ ๆ ที่ไมอาจจัดไวในหมวดหมอู น่ื ได มารวมไวด ว ยกัน สำหรับหองสมดุ ประชาชนอำเภอวงั นำ้ เขียวมีหนงั สอื สำหรับใหบ ริการ โดยแบงประเภทหนังสือดงั นี้ เลขหนงั สอื หมวดวชิ า สันหนังสือ 000 เบด็ เตล็ด ขาว 100 ปรชั ญา มว ง 200 ศาสนา เหลือง 300 สังคมศาสตร น้ำเงิน 400 ภาษาศาสตร สม 500 วทิ ยาศาสตร ฟา 600 วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี เขียว 700 ศิลปะและนันทนาการ ชมพู 800 วรรณคดี เทา 900 ภมู ิศาสตรป ระวตั ศิ าสตร แดง 15

ขอ มูลการประเมิน  รายละเอยี ดตัวชี้วัด  ตัวชว้ี ดั ที่ 1 การบริหารงานทว่ั ไป ๑.๑ การทำแผนและสรุปผลการดำเนนิ งานประจำป บรรณารกั ษ มีการจัดทำแผนการดำเนินงานของหองสมดุ เปน ประจำออยางตอเนื่อง เมื่อมีการดำเนินการ ตามแผนที่วางไวไ ดมีการสรปุ ผลาการปฏบิ ตั ิงานประจำป เพอื่ เปน แนวทางในการพฒั นาและปรับปรุงการใหบริการ แกผ ูใ ชบริการเกดิ ความพงึ พอในในการเขารบั บริการและเขารวมกจิ กรรมตา งๆ ของหอ งสมุดทั้งนี้ เพ่ือพฒั นา หอ งสมุดใหมีชวี ิต รอ ยละ ๙๖ ขึ้นไป 16

๑.๒ อำนวยความสะดวกแกผูใ ชบ ริการ งานที่หอ งสมดุ จดั ทำข้ึนเพื่ออำนวยความสะดวกแกผใู ชบ ริการในดานการอาน การคน ควาหาความรแู ละ สง เสรมิ การอา นใหก วางขวางและทั่วถงึ เพอ่ื ใหผใู ชบรกิ ารไดรับสารสนเทศอยางรวดเรว็ และตรงตามความตองการ มากทส่ี ดุ รวมถึงการจัดบรรยากาศที่ดี เปนระเบียบ ทำใหผูใชบ รกิ ารเกดิ ความรสู กึ ท่ดี ีและประทับใจเม่ือเขา มาใช บรกิ าร รอ ยละ ๙๖ ขึ้นไป 17

๑.๓ รายงานขอมลู สารสนเทศ หองสมุดประชาชน มหี นาทแี่ ละความรับผิดชอบรายงานขอมลู สารสนเทศตางๆ ใหก ับหนวยงานตน สงั กดั ทราบ เพื่อใหเ กิดการพฒั นาหองสมดุ อยา งตอเนอ่ื ง รอ ยละ ๙๖ ขึน้ ไป 18

๑.๔ ประสานงาน สง เสริม สนบั สนนุ เครอื ขา ยในการบริการ เครอื ขายความรวมมือระหวางหอ งสมุด เกดิ ข้ึนจากความพยายามในการแบง ปน ทรัพยากรรว มกนั ของ หองสมุด ภายใตข อจำกัดตางๆ ทั้งนเี้ พื่อใหเกดิ ประโยชนก ับผูรบั บรกิ ารหองสมุดและ โครงาสรา งของเครือขาย ขึ้นอยกู ับการวางแผนในการจัดต้ังเครอื ขา ย เพื่อใหบ รรลตุ ามวัตถุประสงคขององคกร รอยละ ๙๖ ขึน้ ไป 19

 ตวั ชี้วัดที่ ๒ งานเทคนิคหอ งสมุด ๒.๑ การศึกษาวิเคราะห สำรวจความตองการของกลุมเปาหมาย หองสมุดประชาชนเปนแหลงเรียนรู จงึ จำเปนตองมีความพรอม และความตองการของผใู ชบ ริการผา นส่อื ออนไลน ดงั นั้น การใหบริการตอ งเกิดประสทิ ธภิ าพสูงสุดสำหรบั การสง เสรมิ การอา น รอยละ ๙๖ ขึน้ ไป 20

๒.๒ การจัดวิเคราะหเ นอื้ หา จัดหมวดหมสู ่อื ความรทู กุ ประเภท วิเคราะหหมวดหมู คือ การจัดหมขู องเน้ือหาในหนังสือหรือทรพั ยากรสารสนเทศตา งๆ ทมี่ เี นอ หา เหมือนกนั หรือใกลเ คยี งกนั ไวดว ยกัน เพ่ือสะดวกในการคนหาและการจดั เกบ็ อยางเปน ระบบ โดยการแบง หมวดหมหู นังสือดวยระบบทศนิยมดวิ อ้ี แบง ออกเปน ๑๐ หมวดหมูใหญ ตง้ั แต ๐๐๐ - ๙๐๐ รอ ยละ ๙๖ ขึน้ ไป 21

๒.๓ ลงทะเบียนสอื่ - สมคั รสมาชิกหองสมุด โดยใชระบบเชื่อมโยงแหลงการเรียนรู การลงทะเบยี นทรัพยากรสารสนเทศเปน การบันทึกรายการทรัพยากรสารนเิ ทศหองสมดุ ทไี่ ดดำเนนิ การ นดั หามาเรยี บรอยแลสมคั รสมาชิกหองสมุด เพื่อไวเ ปน หลักฐานโดยระบุรายละเอียด ของทรพยากรสารนเิ ทศ โดย ใชระบบเช่อื มโยงแหลงการเรียนรู รอยละ ๙๖ ขึ้นไป เว็บไซตร ะบบเชื่อมโยงแหลง การเรยี นรูของหอ งสมดุ ประชาชนอําเภอวังน้ําเขียว http://lrls.nfe.go.th/LRLS/frontend/theme/index.php?Submit=Init&ID_Lib=25 22

๒.๔ จัดเก็บสถติ การใชห องสมุด ขอมลู สถติ ิการใชห องสมุดมีความสำคัญและจำเปนตอการบริหารงานหอ งสมุดเปนเคร่ืองมอื สำหรบั หอ งสมดุ ในการประเมนิ คุณคาทรัพยากรสารสนเทศ การจัดกิจกรรมสงเสริมการใชท รัพยากรสารสนเทศ รอยละ ๙๖ ขึ้นไป 180 160 140 120 100 80 60 40 20 0 ต.ค. พ.ย ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. 23

 ตวั ช้วี ัดท่ี ๓ การบรกิ ารในหองสมดุ ๓.๑ เปด ใหบ ริการหอ งสมุดตามวัน เวลา ทกี่ ำหนด หองสมดุ ประชาชนอำเภอวงั น้ำเขียว เปด ใหบริการ วันจนั ทร - วนั ศกุ ร เวลา ๘.๓๐ น. - ๑๖.๓๐ น. หยุดวันนักขตั ฤกษและวันเสาร – วนั อาทติ ย รอยละ ๙๖ ขึ้นไป 24

๓.๒ ใหบ ริการ ยมื - คืน ส่อื ความรทู กุ ประเภท บรกิ ารใหยืม - คืน ทรัพยากรสารสนเทศประเภทตางๆ ตามระเบียบการยมื ของหองสมุดประชาชน เพอ่ื ใหความสะดวกในการใช ในกรณีผใู ชยงั อา นไมจ บสามารถยืมตอไดโ ดยไมเสยี คาใชจาย รอ ยละ ๙๖ ขึน้ ไป 25

๓.๓ ใหคำแนะนำการใชห อ งสมดุ เปน บรกิ ารเพื่อใหคำแนะนำผูใชบ รกิ ารใหทราบวา หอ งสมุดจดั บริการอะไรบางใหกบั ผใู ชบ ริการ เชน การ ปฐมนเิ ทศแนะนำแกนักศึกษา เพ่อื ใหขอมูลเกย่ี วกับหองสมุด เชน ประวตั ิหอ งสมุด ระเบียบการยืม - คนื ทรพั ยากรสารสนเทศ มารยาทในการใชห องสมดุ บริการและกิจกรรมตางๆ ของหองสมุด รอยละ ๙๖ ขึน้ ไป 26

๓.๔ บรกิ ารชว ยคน และตอบคำถาม เปนบริการทบ่ี รรณารักษหรือเจาหนา ท่ีหอ งสมุด จะชว ยใหค ำแนะนำและบรกิ ารตอบคำถามแกผูใชบ ริการ ทงั้ คำถามทั่วไปเกี่ยวกบั การใชห อ งสมุด และคำถามทต่ี องคนหาคำตอบจากทรัพยากรสารสนเทศตา งๆ ในหองสมดุ รอยละ ๙๖ ขึ้นไป 27

๓.๔ บริการหองสมุดเคลือ่ นที่ เปนบรกิ ารทข่ี ยายโอกาสทางการศึกษาคน ควาใหกวา งออกไป โดยหอ งสมุดจะจัดหนงั สือและส่ิงพิมพ ออกไปใหบ ริการแกช ุมชนและหนว ยงานตางๆ เพ่ือเปนการปลูกฝงนสิ ยั รกั การอานใหแ ก เดก็ เยาวชน นกั เรียน นักศกึ ษา และประชาชนทั่วไป รอยละ ๙๖ ข้ึนไป 28

 ตวั ชว้ี ดั ที่ 4 ความถกู ตองดา นวิชาการหองสมุด 4.๑ จดั ทำคมู ือปฏิบตั ิงาน เปรียบเสมอื นแผนทีบ่ อกเสน ทางการทำงานที่มจี ดุ เร่ิมตน และจดุ สิน้ สดุ ของกระบวนการ ระบุถึงขนั้ ตอน และรายละเอียดของกระบวนการตางๆ มหี ลายขน้ั ตอน สามรถปรับปรงุ เปลี่ยนแปลง เม่ือมกี ารเปลย่ี นแปลงการ ปฏิบตั งิ าน ทัง้ นีเ้ พ่ือใหผ ูปฏิบัติงานไวใชอ างองิ มิใหเ กิดความผิดพลาดในการปฏิบตั ิงาน รอยละ ๙๖ ขึน้ ไป 29

4.2 จดั ทำคมู ือการใชหองสมดุ การจัดทำคูมอื การใชห อ งสมุด เพอื่ ใชเปนแนวทางดา นวิธกี าร ขน้ั ตอนและคำอธบิ ายตา งๆ ของการ ใหบริการสบื คน ทรัพยากรสารสนเทศ เพื่อแกปญหาชว งเวลาทีบ่ รรณารกั ษไ มไดปฏิบตั ิงานในพื้นท่ี มีภารกจิ อ่นื ซ่งึ จะชวยลดขอผดิ พลาดจากการปฏบิ ตั ิงานได สงผลใหผูใ ชบ รกิ ารไดรบั ทรัพยากรสารสนเทศที่ตรงกบั ความตองการ อยา งถูกตองสมบรู ณ รอยละ ๙๖ ขึ้นไป 30

4.3 จดั ทำแผนพับประชาสัมพันธ การประชาสมั พันธเปนงานท่ีจำเปน ตอ หองสมดุ เพราะการประชาสมั พนั ธเปน งานเชงิ สรา งสรรคท่ี กอใหเกดิ ความรู ความเขาใจ แกผ เู กี่ยวของและบุคคลท่วั ไปดวยการสรางสามพันธภาพที่ดแี ละสง เสรมิ ความเขาใจ ทถี่ กู ตองรว มกัน เพื่อทำใหเ กิดความรูสึกทดี่ ี การประสัมพันธน บั เปน เคร่อื งมือท่ีสำคญั ของการส่ือสาร เกดิ ความ รวมมือท้งั ผูป ฏบิ ัตงิ านภายใน ภายนอกหอ งสมุด และบุคคลภายนอก รอ ยละ ๙๖ ขึน้ ไป 31

4.4 จดั นิทรรศการเสรมิ ความรูต า งๆ นทิ รรศการเปน เคร่ีองมือสื่อสารความรูและประสบการณใหการศึกษา โฆษณา ประชาสัมพนั ธขา วสาร ขอ มูล จากหองสมุดไปยงั ผูใชบริการ ตลอดจนกระตนุ ความสนใจของผูใชบริการใหเขามาใชบริการของหองสมุด รูจักหนังสือ เกดิ แรงจูงใจ ท่ีทำใหต องการอานหนงั สอื มากยิ่งขึน้ จากสื่อและวตั ถุทีน่ ำมาจัดแสดงอีกดวย รอ ยละ ๙๖ ขึ้นไป 32

 ตวั ชวี้ ัดที่ 5 ดา นการปรบั ปรงุ และพัฒนาหองสดุ 5.๑ ทำความสะอาดหอ งสมุดและชนั้ หนังสือ หอ งสมดุ ประชาชนทำความสะอาดหองสมุดและช้ันหนงั สือเปน ประจำ เพื่อเปนการสรา งบรรยากาศใหนา เขา ใชบ บรกิ าร 5.2 จดั เกบ็ หนงั สอื เขาช้ันตามหมวดหมู การจดั เรยี งหนงั สอื ขน้ึ ใหถูกตอ งตามหมวดหมแู ละวิธกี ารจัดเรียงหนงั สือขน้ึ ชั้น เพื่อทำใหผใู ชสะดวกใน การคนหาสามารถเขา ถงึ หนงั สอื ทีต่ อ งการไดรวดเร็ว และทำใหห นงั สืออยูในที่ควรอยูบนชัน้ และทำใหชัน้ หนงั สอื เปนระเบยี บเรยี บรอยตลอดเวลา หองสมดุ จะติดปา ยแจง หมวดหมหู นงั สอื ไวทชี่ น้ั วางหนงั สอื 5.3 จดั มมุ หนงั สือนาอา นประจำวนั การจัดมุมแนะนำหนังสือนา อานประจำวัน มีไวใ หบ ริการ และเปนหนงั สือเหมาะสำหรบั ผทู ี่ตองการ หนงั สือใหมๆ ความรใู หมๆ มีไวใ หบริการภายในหองสมุด ลำดบั ท่ี การปรบั ปรงุ และพัฒนาหอ งสมุด ผลการดำเนินงาน 1 ทำความสะอาดหองสมุดและชัน้ หนงั สอื มกี ารปรับปรงุ และพัฒนาทุกวัน 2 จัดเก็บหนงั สอื เขา ชน้ั ตามหมวดหมู มกี ารปรับปรงุ และพัฒนาทกุ วัน 3 จัดมุมหนังสอื นา อา นประจำวัน มกี ารปรบั ปรุงและพัฒนาทุกวัน 33

5.4 งานอ่นื ๆ ทีไ่ ดรบั มอบหมาย บรรณารักษป ฏบิ ตั งิ านทไ่ี ดรับมอบหมายอยางเตม็ ความสามารถ เพื่อใหบ รรลเุ ปา หมายตรงตาม วตั ถุประสงคและใหเกดิ ประโยชนตอ หนว ยงาน องคกร และสังคม ผลการปฏิบัติงานหนาที่อน่ื ๆ (เชน โครงการ / กจิ กรรม อ่นื ๆ ทง้ั ของ กศน.อำเภอและเครือขา ย ) ท่ี วนั /เดอื น/ป โครงการ/กิจกรรม สถานท่ี หมายเหตุ หลกั ฐาน/การรับรอง 1 2 – 3 ต.ค กรรมการกลาง สอบปลายภาคเรียนที่ 2/2563 โรงเรยี นบา นระเรงิ ภาพกิจกรรม 2564 2 10 – 12 พ.ย. โครงการโคราชฟลาวเวอรดีไซด ยกระดับพัฒนา บานดนิ วงั น้ำเขยี ว ภาพกิจกรรม 2564 คณุ ภาพผลติ ภณั ฑและอตุ สาหกรรมไมดอก จงั หวดั นครราชสีมา ภาพกิจกรรม 3 16 พ.ย. โครงการสรปุ ผลการดำเนนิ งานฯ ประจำป โรงแรมสตารเ วลล 2564 งบประมาณ 2564 บาหลี จงั หวัด ภาพกจิ กรรม นครราชสมี า 4 18 พ.ย. โครงการคา ยสง เสริมประชาธิปไตยสำหรบั นักศึก โรงพยาบาลสงเสรมิ ภาพกิจกรรม 2564 กศน. ตำบลวังน้ำเขยี ว สุขภาพอำเภอวงั น้ำ ภาพกจิ กรรม เขยี ว ภาพกิจกรรม 5 23 พ.ย. ประชมุ บวชเณรเพื่อถวายเปนพระราชกุศล รชั กาล ท่วี า การอำเภอ ภาพกจิ กรรม 2564 ที่ 9 วงั น้ำเขียว 6 5 ธ.ค. 2564 รวมพธิ เี นอ่ื งในวนั คลายวนั พระราชสมภพของ ทว่ี า การอำเภอ ภาพกิจกรรม พระบาทสมเด็จพระบรมชนธิเบศรฯ วังน้ำเขียว ภาพกิจกรรม 7 8 ธ.ค. 2564 โครงการประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั ิการทบทวนการจัดทำ โรงแรมเซนเตอร ภาพกิจกรรม แผนพัฒนาการนอกระบบและศกึ ษาตามอธั ยาศัย พอยเทอรมนิ อล21 8 17 ธ.ค. 2564 ประชุกำหนดแนวทางการสำรวจขอ มลู คาใชจา ย หอ งประชมุ ยาโม สำหรบั การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา สำนักงาน กศน. ขน้ั พืน้ ฐานของสำนักงาน 9 8 ก.พ. 2565 ประชมุ จัดงานเบญจมาศบานในมานหมอก ครัง้ ท่ี อบต.ไทยสามคั คี 20 10 14 ก.พ. การตรวจประเมินผลการปฏบิ ัตงิ านของกำนนั ตำบลวังหมี อำเภอ 2565 ผใู หญบ า น ยอดเยยี่ ม วงั น้ำเขียว 11 17 ก.พ. โครงการสงเสริมคุณธรรม จรยิ ธรรมสำหรับ วดั ไทยสามัคคี 2565 นกั ศกึ ษา กศน. อำเภอวังนำ้ เขียว 34

ที่ วัน/เดอื น/ป โครงการ/กิจกรรม สถานท่ี หมายเหตุ หลกั ฐาน/การรบั รอง 12 5 – 6 มี.ค. กรรมการกลาง สอบปลายภาคเรยี นท่ี 2/2564 โรงเรยี นบา นระเรงิ ภาพกจิ กรรม 2565 13 17 ม.ี ค. โครงการนำเสนอนิทรรศการและผลงานดา น ลานกจิ กรรมหนา ภาพกจิ กรรม 2565 วชิ าการของครู และนักศกึ ษา กศน. หอ งประชมุ ยา โม 1 35

กิจกรรม มีสว นรวมในกิจกรรม/บรรยายเชงิ คณุ ภาพ 1. การอยเู วร-ยามรักษาสถานท่รี าชการ รวมมอื ในฐานะใด มหี ลักฐานอางอิงในภาคผนวก รปู แบบการจดั กจิ กรรม 2 .งานกจิ กรรม 5 ส. -ปฏิบตั หิ นาทตี่ ามท่ีรับมอบหมาย การรกั ษาความปลอดภัยดา น 3.ประชุมประจำเดือน อาคารสถานที่ -การรกั ษาความสะอาดบริเวณอาคารสถานท่ีใหส ถานศึกษามี ชีวิตชีวา ตามคำส่ังศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศยั อำเภอวังน้ำเขียว -ไดร ับมอบหมายการตรวจเวรยามอาคารสถานทภี่ าคกลางวันตาม คำสง่ั ดงั ตอ ไปน้ี คำสง่ั ท่ี /2565 ประจำเดอื น มนี าคม 2565 คำส่งั ที่ /2565 ประจำเดือน กุมภาพนั ธ 2565 คำส่งั ท่ี /2565 ประจำเดอื น มกราคม 2565 คำส่ังท่ี /2564 ประจำเดือน ธันวาคม 2564 คำสั่งที่ /2564 ประจำเดือน พฤศจกิ ายน 2564 คำส่งั ที่ /2564 ประจำเดอื น ตุลาคม 2564 ทำความสะอาดภายใน กศน.อำเภอวังนำ้ เขยี ว โดยรบั ผดิ ชอบตามคำสัง่ ทไี่ ดร ับการแตง ตั้ง ภาพถา ย รูปกิจกรรม 36

37

ห้องสมุดประชาชนอำเภอวังน้ำเขียว ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังน้ำเขียว สำนักงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดนครราชสีมา สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook