Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Best Practice กศน.ตำบลโพนงาม

Best Practice กศน.ตำบลโพนงาม

Description: ผลงาน

Search

Read the Text Version

Best Practice กศน.ตาบลโพนงาม ประจาปงี บประมาณ ๒๕๖๔ นายฉันทิตย์ ศรีจันทร์ ครู กศน.ตาบลโพนงาม ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอกดุ ชมุ สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จังหวัดยโสธร สานักปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

ผลงาน/นวัตกรรมการปฏิบัติท่ีเป็นเลศิ (Best Practices) การทอผา้ พันคอลายตาหม่อง 1. ความเป็นมาและความสาคัญ การจดั การศึกษาอาชพี ในปจั จบุ นั มีความสาคัญมาก เพราะจะเป็นการพฒั นาประชากรของ ประเทศให้ มคี วามรู้ ความสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพ เป็นการแก้ปญั หาการว่างงานและ สง่ เสริมความเข้มแข็งให้แก่เศรษฐกิจชุมชน ซ่ึงกระทรวงศกึ ษาธิการไดก้ าหนดยทุ ธศาสตร์ 2555 ภายใต้ กรอบเวลา 2 ปี ท่ีจะพัฒนา 5 ศักยภาพของพ้นื ที่ใน 5 กลุ่มอาชีพใหม่ ให้สามารถแข่งขันได้ใน 5 ภูมภิ าค หลกั ของโลก “รู้เขา รเู้ รา เทา่ ทนั เพอ่ื แขง่ ขันไดใ้ นเวทโี ลก” ตลอดจนกาหนดภารกจิ ท่ีจะยกระดบั การจดั การศกึ ษาเพ่อื เพิ่มศกั ยภาพและขดี ความ สามารถให้ประชาชนได้มอี าชีพทีส่ ามารถสร้างรายได้ ทม่ี ่ันคง โดยเนน้ การบรู ณาการใหส้ อดคล้องกบั ศักยภาพดา้ นตา่ งๆ ม่งุ พฒั นาคนไทยใหไ้ ด้รบั การศกึ ษาเพอื่ พัฒนา อาชพี และการมีงานทาอย่างมี คุณภาพ ทัว่ ถึงและเท่าเทียมกัน ประชาชนมีรายได้มน่ั คง มั่งคง่ั และมี งานทาอยา่ งย่ังยนื มคี วามสามารถเชิงการแข่งขนั ท้ังในระดับภูมภิ าคอาเซียนและระดับสากล ซ่ึงจะเป็น การจดั การศกึ ษาตลอดชีวติ ในรปู แบบใหม่ที่สร้างความมั่นคงให้แก่ ประชาชนและประเทศชาติ. การทอผา้ งานจากไมไ้ ผ่ เปน็ หตั ถกรรมหน่ึงที่บ่งบอกถึงภูมปิ ญั ญาของท้องถ่นิ มีคุณค่าทางศลิ ปะและความงามของ การทอผ้า มรี ูปทรง โครงสร้าง และลวดลายทส่ี ามารถบอกความเป็นเอกลักษณ์ของชุมชนไดเ้ ป็นอย่างดี ไม้ไผเ่ ป็นวัสดุทห่ี างา่ ย เป็นการใชว้ สั ดุธรรมชาตใิ หเ้ ป็นประโยชน์สูงสดุ นอกจากจะเป็นการใชเ้ วลาวา่ งให้ เป็นประโยชน์แล้ว ยังมีสว่ นชว่ ยสบื สานภูมิปัญญาท้องถ่ิน เพมิ่ รายได้ สง่ เสริมสู่การประกอบอาชีพต่อไป 2. วัตถุประสงค์ 1. มีความรแู้ ละทกั ษะในการประกอบอาชีพ สามารถสร้างรายไดท้ ีม่ ่นั คง มั่งคง่ั 2. ตัดสินใจประกอบอาชพี ให้สอดคลอ้ งกบั ศักยภาพของตนเอง ชุมชน สงั คม และสงิ่ แวดลอ้ มอยา่ งมี คณุ ธรรม จริยธรรม 3. มเี จตคติทดี่ ีในการประกอบอาชีพ 4. ประชาชนในพื้นที่ท่ีวา่ งงานมีอาชพี เสริมและยังต่อยอดอาชีพเดิมมีรายไดเ้ พิม่ ขึ้น 5. มีโครงการประกอบอาชพี เพ่ือใช้เปน็ แนวทางในการพฒั นาอาชีพของตนเอง 3. กระบวนการผลิตผลหรือขัน้ ตอนการดาเนินงาน 3.๑ การวางแผน (Planning) ไดด้ าเนินการ ดงั นี้ ตามท่ีได้ร่วมประชุมจัดทาแผนปฏิบัติการ กศน.อาเภอกุดชุม ประจาปีงบประมาณ 256๕ ได้มีการ กาหนดจัดโครงการ โดยมีการประชุมวางแผน ขออนุมัติโครงการ แต่งต้ังคณะกรรมการดาเนินงาน ดาเนินการจัดกิจกรรม/โครงการตามทว่ี างแผน และประเมินผลและรายงานผลการจัดกิจกรรม/โครงการ ซ่ึง เหตุผลความจาเป็นในการจัดโครงการนี้ เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นการดาเนินงาน สานักงาน กศน. ประจาปีงบประมาณ 256๕ ยุทธศาสตร์ที่ 2 ลดความเหล่ือมล้า สร้างโอกาส และยกระดับคุณภาพการศึกษา จุดเน้นการ ดาเนินงาน ข้อท่ี 2.6 มุ่งเน้นการฝึกหลักสูตรวิชาชีพระยะส้ัน สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน บริบทของ พ้ืนที่และส่งเสริมการใช้ระบบเทคโนโลยีเพ่ือการพัฒนาอาชีพ ในอันท่ีจะประกอบอาชีพท่ีสร้าง รายได้ได้จริง เพื่อให้คนไทยทุกกลุ่ม ทุกช่วงวัย เข้าถึงโอกาสทางการศึกษานอกระบบ และ การศึกษาตาม อัธยาศัยท่ีมีคุณภาพอย่างทั่วถึงเท่าเทียม เป็นพลเมืองดี มีศักยภาพ และมีความพร้อมในการแข่งขันในระดับ สากล เปาู ประสงค์ ประชาชนผรู้ ับบริการ ทุกกลุ่ม ทุกช่วงวัย มีความรู้ความสามารถรอบ ด้านเพียงพอต่อการ

ดารงชวี ิตอยู่ในสงั คมอย่างมีความสุขบนพื้นฐานของคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ มีศกั ยภาพในการผลิตทางเศรษฐกิจ การสร้างสังคมคุณภาพ การมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศ และมีความ ใฝุรู้อยา่ งตอ่ เนอื่ งตลอดชีวิต 3.1.1 การวิเคราะห์ความสาคญั ในการประกอบอาชีพ 1)ความสาคัญของอาชีพต่อตนเอง การประกอบอาชีพของแต่ละบุคคล มีความสาคัญหลายประการ ดังน้ี - อาชีพช่วยสร้างรายได้ - ไดใ้ ช้ทักษะและความสามารถ - สะท้อนบุคลิกภาพและความเป็นตัวเอง - สรา้ งคณุ คา่ ให้แกต่ ัวเอง 2) ความสาคญั ของอาชีพต่อครอบครัว ครอบครัวเป็นหน่วยสังคมที่เล็กที่สุด สมาชิกของครอบครัว ประกอบด้วย พ่อ แม่ ลูก ซึ่งมี ภาระหน้าท่ีที่จะต้องปฏิบัติต่อกัน เช่น พ่อแม่มีหน้าที่เล้ียงดูลูกและให้ การศึกษา เพื่อประกอบอาชีพใน อนาคต ลูกมีหน้าท่ีศึกษาเล่าเรียนจนสาเร็จการศึกษา แล้วแสวงหาอาชีพ เพ่อื หารายได้มาเลย้ี งดูตนเอง พอ่ แม่ และทุกคนในครอบครวั ให้มมี าตรฐานความเป็นอยูท่ ด่ี ขี น้ึ 3) ความสาคัญของอาชีพต่อชุมชน ครอบครัวเป็นส่วนหน่ึงของชุมชนหรือสังคม หากสมาชิกแต่ละ ครอบครัวประกอบอาชีพท่ีสุดจริต ถูกต้องตามกฎหมาย และมีอาชีพท่ีม่ันคง รายได้ดี และมีโอกาสก้าวหน้า ภายในชมุ ชน ทาให้ชุมชน เข้มแข็ง เศรษฐกิจของชมุ ชนเจริญรุ่งเรืองสามารถพึง่ พาตนเองได้ 4) ความสาคัญของอาชีพต่อประเทศชาติ เม่ือประชาชนในชาติมีการประกอบอาชีพ มีรายได้มา เล้ียงตนเองและครอบครัว ทาให้อัตราการ ว่างงานลดน้อยลง ย่อมเป็นการแก้ไขปัญหาสังคมให้กับรัฐบาล สภาพสังคมมีความเป็นอยู่ท่ีดี มีการใช้ ทรัพยากรภายในชุมชน รายได้เกิดการหมุนเวียน ทาให้เศรษฐกิจ โดยรวมของประเทศกา้ วหน้า ผลจากการท่ี ประชาชนประกอบอาชีพ มีงานท า มีรายได้ชุมชนมีความเข้าแข็ง และชาระภาษีให้แก่รัฐ เพ่ือรัฐจะได้นาไป พัฒนาประเทศในด้านต่าง ๆ เช่น การสร้างถนน สะพาน เข่ือน โรงไฟฟูา เป็นต้น การประกอบอาชีพของ ประชาชน ในชุมชนและในประเทศ จึงเป็นการช่วยพัฒนา ประเทศชาติไดอ้ ีกทางหนงึ่ 3.1.2 การวางแผนการจดั กจิ กรรม ๑) ประชุมคณะบุคลากร กศน.อาเภอกุดชุม เพ่ือกาหนดขอบข่ายการจัดการเรียนรู้ เปูาหมาย สาระสาคัญ จุดประสงค์ ภาระชิ้นงาน เวลาเรียน เพ่ือทราบหลักสูตร การเรียนรู้ โดยยึดหลักสูตร สถานศึกษา สานักงาน กศน. และมาตรฐานตวั ชว้ี ดั หลักสูตรแกนกลาง ๒) กาหนดบุคลากรรับผิดชอบงาน จัดเตรียมหลักสูตรการเรียนรู้ แผนการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ โดยกาหนดพื้นท่ี เปูาหมาย กลุ่มผู้เรียนท่ีสนใจอาชีพ ตามหลักสูตรท่ีมีการสารวจความต้องการของ ชุมชนและหลักสูตรที่เปิดสอน โดยดาเนินการจัดการเรียนการสอน ระหว่างวันที่ ๑4 – 20 ธันวาคม 2564 ตามคาสงั่ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอกุดชมุ ท่ี 27 /2564 3.2 การปฏบิ ตั ิการ (Doing) ได้ดาเนนิ การ ดงั นี้ 3.2.1 โครงการ กศน. เพ่อื ประชาชน “แบบช้นั เรยี นวิชาชพี ” อาเภอกดุ ชุม วิชา การทอผ้าพันคอ ลายตาหม่อง หลักสูตร 35 ชั่วโมง โดยมีวิทยากร คือ นางจี ปูองศรี เป็นวิทยากรให้ความรู้ กลุ่มเปูาหมายท้ัง 15 คน สถานที่จัด ศาลากลางบ้านนางาม หมู่ ๖ ตาบลโพนงาม อาเภอกุดชุม จังหวัด ยโสธร ระยะเวลาในการวนั ท่ี 14-20 ธันวาคม พ.ศ. 256๔ โดยการจดั กจิ กรรมดงั น้ี

๑) คาสั่งแตง่ ตง้ั ท่ไี ด้รับมอบหมายงานต่าง ๆ - คาสั่งแต่งตั้งวิทยากร คาสั่งแต่งต้ังการทาเบิกจ่ายวัสดุ/ค่าตอบแทนวิทยากร คณะ นเิ ทศ ติดตามผลการปฏิบตั งิ าน - วิทยากร/ครู กศน.ตาบล - ขออนุญาตจัดตั้งกลมุ่ - ขออนมุ ตั ิโครงการ - แผนการจดั กิจกรรม - หลักสตู รวชิ าที่เปิดสอน 2) คณะนเิ ทศ ตติ ามผลการปฏิบตั ิงาน ศกึ ษามาตรฐาน ตัวชี้วัด สาระหลักสูตรสถานศึกษา หลกั สตู รท้องถิน่ จุดประสงค์ สมรรถนะที่สาคัญ ของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ภาระชน้ิ งาน แนวทางการจดั กจิ กรรม จานวน 35 ช่วั โมง ๓) จดั ทาแผนการจดั กิจกรรม ให้ได้ผลลพั ธ์ปลายทางเปน็ หลกั จากคาถามนาดงั น้ี - การจัดกิจกรรม โครงการ กศน.เพื่อประชาชน การฝึกอาชีพระยะสั้น รูปแบบช้ัน เรียนวิชาชีพ หลักสูตรต้ังแต่ 31 ช่ัวโมงขึ้นไป วิชา การทอผ้าพันคอลายตา หมอ่ ง หลกั สตู ร 35 ช่วั โมง - การทอผ้าพนั คอในชุมชนของเราเกดิ ขึ้นได้อย่างไร และมีความสาคญั อยา่ งไร - การทอผ้าพนั คอ มอี งคป์ ระกอบและกจิ กรรมอะไรบ้าง - การทอผา้ พนั คอ เปน็ กิจกรรมที่เราควร และสามารถอนุรักษ์ไว้ให้คงอยู่ในชุมชน ได้อยา่ งไร - การทอผ้าพันคอ สามารถนามาส่งเสริมใหเ้ ปน็ อาชีพในชุมชนไดห้ รอื ไม่ อยา่ งไร - การทอผ้าพันคอ เมอื่ สง่ เสริมใหเ้ ป็นอาชพี ในชุมชนแล้ว สามารถต่อยอดอาชีพ ไป ในทศิ ทางใดบ้าง ๔) จดั กิจกรรม/ดาเนนิ งานตามแผนการจดั และหลักสตู รการเรยี นรู้ ๕) ออกแบบการวดั ประเมนิ ผลการจดั กิจกรรม ความสาเร็จของงาน 3.2.2. การเตรียมวัสดุอุปกรณ์ -การเตรยี มเส้นดา้ ย ... -การย้อมเส้นดา้ ย โดยวิธีการใช้สารธรรมชาติ ... -การเตรียมฟืมทอผ้า ... -การยอ้ มเส้นยนื ยืน ... -การเตรียมเสน้ ยนื ... -การต่อเส้นยนื ... -การเตรียมเส้นพุ่งที่ทาการย้อมสีต่างๆ ... -การกรอเส้นพงุ่ เข้าหลอด ๓.2.3 วธิ ีการดาเนินงาน ขั้นตอนที่ ๑ การกรอดา้ ย

การกรอเสน้ ดา้ ยหรือการปน่ั กรอเส้นดา้ ย เข้าในหลอด (ท่อพลาสติก) มีท้ังขนาดเล็ก และขนาดใหญ่ ด้ายหลอดเล็ก จะใช้สาหรบั ทอผ้าพ้ืน ด้ายหลอดใหญใ่ หเ้ ป็นดา้ ยยืน ดา้ ยหลอดใหญ่หรือดา้ ยยนื น้ัน ช่างจะใชเ้ วลาปัน่ กรอท้ังหมด ๗๖ หลอด ใชด้ ้าย ๑,๑๒๐ เสน้ จะได้ ความกวา้ งของหนา้ ผ้าเมือ่ ทออกมาแลว้ ประมาณ ๓๙ นิ้วคร่ึง เปน็ ขนาดมาตรฐาน แตเ่ ดิมเครื่องกรอเสน้ ด้าย ยนื น้ีเรยี กวา่ ไน และระวงิ หรอื หลากรอเส้นด้าย ใชม้ ือหมนุ แต่ปจั จุบนั ชา่ งได้คิดค้นโดยนามอเตอรไ์ ฟฟาู ของ จกั เยบ็ ผา้ มาใช้ การกรอด้ายช่างจะไล่ดา้ ยข้ึน – ลง สลบั หวั – ทา้ ยไปเร่อื ย ๆ เพ่ือใหด้ ้ายทพี่ ันมีความเสมอกัน ข้นั ตอนที่ ๒การเดนิ ด้ายยืน หรอื ค้นเส้นด้ายยืน -นาหลอดด้ายใหญท่ ั้งหมดไปตั้งบนแผงทม่ี ีขาตัง้ หลอดมีความยาวประมาณ ๑๐ เมตร -นาปลายเสน้ ด้ายทั้งหมดท่ีตัง้ อยบู่ นขาต้ังหลอดมามดั รวมกันแล้วดงึ ไปมดั กับแครเ่ ดินเสน้ ดา้ ย เดนิ เส้นด้ายโดยใช้ไมป้ ลายแหลมตรึงเส้นดา้ ยเข้ากับหลักคน้ ทง้ั เท่ียวข้ึนและเท่ยี วลงจนครบ ทกุ หลัก เมื่อเดนิ เส้นดา้ ยครบแต่ละเที่ยวจะต้องเก็บไขวเ้ ส้นด้ายดว้ ยการใชห้ วั แม่มือเกี่ยวเส้นด้ายแลว้ นาไป คลอ้ งกับหลกั เก็บไขว้ - เดนิ เสน้ ด้ายและเกบ็ ไขว้เสน้ ด้ายสลบั กนั ไป จนครบตามความตอ้ งการ จากนั้นนาเสน้ ด้ายออกจาก เครอ่ื งเดนิ ด้ายแล้วถักเสน้ ด้ายรวมกัน - เสน้ ดา้ ยที่ออกจากหลักเกบ็ ไขว้ สอดเขา้ ฟนั หวีจนครบทุกเส้น โดยใช้ไมไ่ ผ่แบน ๆ สาหรับคล้อง เสน้ ดา้ ยเข้ากับฟนั หวี ข้นั ตอนท่ี ๓การร้อยฟนั หวี หรอื การหวีเส้นด้าย การหวเี ส้นด้าย คอื การจัดเรียงเสน้ ด้าย และตรวจสอบเสน้ ดา้ ยไม่ใหต้ ิดกันหรือพันกันจนยงุ่ กอ่ นที่จะ นาเข้าเครื่องทอนาเส้นด้ายทเี่ ดนิ ครบทุกเสน้ มาพนั เขา้ กับหลกั บนมา้ ก๊อบป้ี ตอกสลกั ม้าก๊อปปใ้ี ห้แน่น จากนนั้ ชา่ งรอ้ ยฟันหวี จะทาหน้าทค่ี ัดเสน้ ดายออกทีละเส้น เพื่อใหด้ ้ายตรงกบั ช่องฟันหวแี ล้ว นา เสน้ ดา้ ยมารอ้ ยใน “ไม้ร้อยฟันหวี” ซงึ่ มลี กั ษณะโคง้ งอเหมือนเคียว แต่อันเลก็ กวา่ จะเป็นเหลก็ หรือไม้ไผก่ ็ได้) โดยนามาสอดรอ้ ยเขา้ ไปในฟันหวที ลี่ ะเสน้ จะเร่มิ จากด้านซ้ายไปขวา โดยฟันหวนี ีจ้ ะมีทัง้ หมด ๑,๑๒๐ ซี่ ความ ยาวเทา่ กบั ๔๓ นว้ิ ครึง่ ความกวา้ งของหน้าผ้า ประมาณ ๓๙ นวิ้ คร่ึง เม่อื ร้อยเสน้ ด้ายเข้าฟนั หวีเสร็จแล้ว ชา่ งจะดงึ เสน้ ด้ายมาพันเข้ากับใบพัดม้วนด้ายหรอื ม้ากังหัน จากน้นั ช่างจะดันฟนั หวจี ากม้ากังหนั เข้าไปหาม้าก็อปป้พี ร้อมกับใชไ้ มแ้ หลมแหลมเส้นด้ายใหแ้ ยกออกจากกัน ปอู งกนั เพื่อไม่ให้เส้นด้ายพันกัน โดยจะกรดี เสน้ ดา้ ยจากใบพดั ม้วนจนถงึ ตวั ม้าก็อปปี้ เสร็จแล้วปล่อยสลักมา้ ก็ อปป้ี หมุนเสน้ ดา้ ยพนั เข้ากบั พัดจนครบหมดทุกเสน้ แล้วนาม้วนด้ายทไี่ ดร้ ับการหวีเสร็จแล้วมาวางบน “ กี่ ” (เครอ่ื งทอผา้ ) ข้นั ตอนท่ี ๔การเกบ็ ตะกอ การเก็บตะกอเป็นการเกบ็ ด้ายยนื โดยจะนาดา้ ยท่ีผ่านการหวีมาแลว้ และใชด้ ้ายขวา ๘๐ % ซึง่ เป็น ด้ายทีม่ ีความมันน้อย มารอ้ ยสลับด้ายยนื เพอื่ ทาหน้าที่สลับเส้นดา้ ยขนึ้ - ลง โดยใชเ้ คร่อื งมอื ที่เป็นไม้ไผ่ เรยี กวา่ ไม้ก้ามปมู าใชใ้ นการเก็บตะกอ ขน้ั ตอนการเกบ็ ตะกอ - นาม้วนดา้ ยทีไ่ ด้รบั การหวมี าแลว้ วางบนเคร่ืองทอผ้า (ก่ี) โดยวางมว้ นด้ายใหเ้ ขา้ กับสลักของเครื่อง ทอ - นาปลายเสน้ ด้ายมารวมกนั ทุกเสน้ แลว้ ดงึ มาผูกกบั ไม้รองเทา้ ด้านบนเคร่ืองทอผา้ ใหต้ ึงแน่นเสมอกนั ทกุ เสน้

- ใช้ด้ายสขี าว ๘๐ เปอรเ์ ซ็นต์ สาหรับเกบ็ ตะกอแลว้ ผูกติดกับไมท้ ่ีใช้เทา้ เหยยี บใหเ้ ส้นดา้ ยสามารถ ขยับขนึ้ ลงได้ การเก็บตะกอผ้าน้ี ชา่ งจะกลับมว้ นด้ายยืนดา้ นบนข้ึนเพ่อื ทาการเก็บตะกอด้านลา่ งก่อนเพราะการเก็บ ตะกอด้านล่างจะเก็บยากกว่าดา้ นบน เม่อื เสรจ็ แล้วจึงจะเก็บดน้ บนท่หี ลงั 3.3 การตรวจสอบ (Checking) ไดด้ าเนินการ ดังนี้ คณะกรรมการนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมินผล สรุปผลการดาเนินการ จากแบบสอบถาม ความคิดเหน็ ครู ผเู้ รยี น เพื่อรวบรวม สรุปความสาเร็จ ปญั หาอุปสรรคในการจดั กจิ กรรม 3.4 การปรับปรุงแก้ไข (Action) ได้ดาเนนิ การ ดังนี้ มกี ารสรุปผลการดาเนินการจดั การเรียนรู้ กิจกรรม กาหนดขอ้ เสนอและแนวทางแก้ไข ปัญหาท่ีเกิดจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การฝึกอาชีพระยะสั้นในชุมชน รูปแบบช้ันเรียนวิชาชีพ หลักสูตร ตั้งแต่ 31 ช่ัวโมงข้ึนไป วิชา การทอผ้าเส้นพลาสติก (ตะกร้า, กล่องใส่ของ) มาเป็นแนวทางในการพัฒนา งาน ในครั้งตอ่ ไป 4. ผลจากการดาเนินงาน / ผลสัมฤทธิ์ / ประโยชน์ทไ่ี ดร้ ับ จากการจัดกิจกรรม โครงการ กศน.เพ่ือประชาชน การฝึกอาชีพระยะสั้น ช้ันเรียนวิชาชีพ หลักสูตร ต้งั แต่ 31 ชว่ั โมงข้ึนไป วิชา การทอผา้ พันคอลายตาหมอ่ ง มผี ลงาน ดงั น้ี 4.1 ดา้ นคณุ ภาพกจิ กรรม จานวนผู้เรียน จานวนผู้สาเร็จการศึกษา จานวนสื่อแต่ละประเภท จานวนบุคลากรผู้จัดการเรียนรู้ ได้รับการสนับสนุนและการพัฒนาคุณภาพ การจัดกิจกรรมได้รับการสนับสนุนจากสถานศึกษา ทั้งด้าน หลกั สตู ร กระบวนการจดั การเรียนรู้ และสงิ่ อานวยความสะดวกต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการจัดกิจกรรมใน การฝึกทักษะอาชีพ ซึ่งกิจกรรมได้มุ่งเน้นท่ีจะ ฝึกทักษะอาชีพ เพิ่มความชานาญ สร้างอาชีพใหม่ ๆ และ สนับสนนุ การรวมกลมุ่ ในชุมชน ที่มีวตั ถปุ ระสงค์และเปูาหมายเดยี วกนั การจดั การศึกษาเพ่ือพัฒนาความรู้ความสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพของบุคคลและกลุ่ม คน โดยใชท้ ุนทางสงั คมเป็นปัจจยั สนับสนนุ การดาเนนิ งาน มุ่งเนน้ การปฏิบัตจิ ริงท่ีบูรณาการกับวิถีชีวิต เพ่ือ แก้ไขปญั หาการว่างงานและเสริมสร้างความเข้มแขง็ ให้กับชุมชน การจัดกระบวนการเรียนรู้ เน้นสารวจความ ต้องการของคนในชุมชนเพื่อที่จะจัดกิจกรรมเพื่อตอบสนองต่อความต้องการของคนในชุมชนอย่างแท้จริง คุณภาพกิจกรรมข้ึนอยู่กับความสนใจและความพึงพอใจของผู้เรียนผู้รับบริการ และความสามารถของ วิทยากรทีม่ ีการถา่ ยทอดความรตู้ อ่ ผู้รบั บรกิ ารอย่างเต็มความสามารถ 4.2 ด้านความพึงพอใจของผ้เู รียนผรู้ ับบรกิ าร ความพึงพอใจของผู้เรียนผู้รับบริการ ส่วนใหญ่อยู่ในระดับดีขึ้นไป ท้ังน้ีเป็นความพึงพอใจท่ีได้จาก การสารวจความต้องการของผเู้ รยี นผู้รับบริการ การจัดกระบวนการเรียนรู้เป็นการจัดข้ึนเพ่ือสนองตอบความ ต้องการของผู้เรียนผู้รับบริการในชุมชน ในระดับความพึงพอใจของผู้เรียนผู้รับบริการ เป็นตัวกาหนด แนวทางในการประเมินกิจกรรมการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ ตามหลักสูตรท่ีสถานศึกษาได้ทาการ จัดการเรียนการสอน ว่ามีความสอดคล้องกับความต้องการของผู้รับบริการในพ้ืนที่มากน้อยเพียงใด และ สามารถนามาวิเคราะห์แนวทางการจัดการเรียนรู้คร้ังต่อไปได้ ให้ตรงกับความต้องการของผู้รับบริการอย่าง

ทั่วถึง และสามารถจัดการเรียนการสอนได้หลากหลายหลักสูตร และสามารถพัฒนาปรับปรุงหลักสูตรให้มี คุณภาพยิง่ ขนึ้ 4.3 ดา้ นจานวนเป้าหมายของผเู้ รยี นผรู้ ับบรกิ าร ด้านจานวนของกลุ่มเปูาหมาย กศน.ตาบลโพนงาม ได้ต้ังเปูาหมายในการจัดการเรียนการสอน ใน เขตพืน้ ท่บี รกิ าร รวมท้ังหมด 1๗ หมู่บ้าน และได้มีการจัดการะเรียนรู้แบบกระจายสู่พื้นท่ีบริการ หรืออีก แนวทางคือการส่งเสริมการจัดกิจกรรมให้กับกลุ่มที่ทาการฝึกทักษะอาชีพกับ กศน.ตาบล อย่างต่อเน่ือง เปาู หมายการจดั การเรยี นการสอนกาหนดท่ีกลุ่มละ 15 คน ในปีงบประมาณ 2565 กศน.ตาบลโพนงาม จัดการศกึ ษาเพ่อื พัฒนาอาชพี โครงการศนู ยฝ์ กึ อาชพี ชมุ ชน ช้ันเรียนวชิ าชพี หลักสูตรต้งั แต่ 31 ช่ัวโมงข้ึน ไป วิชาการทอผา้ พนั คอลายตาหม่อง จานวน 35 ชว่ั โมง จานวน 1 กล่มุ อาชีพ จานวนผูเ้ รียน 15 คน 4.4 ด้านบุคลากรของ กศน.อาเภอกุดชมุ ด้านบุคลากร กศน.อาเภอกุดชมุ ได้รับคาส่ังแต่งต้ังให้เป็นคณะกรรมการ ในการดาเนินกิจกรรมจน แล้วเสรจ็ เปน็ ท่ีเรยี บร้อย โดยมีการวางแผนในการประชาสัมพันธ์การเข้าร่วมกิจกรรมของสถานศึกษา ให้กับ ผูเ้ รยี นผู้รบั บริการ การประสานงานเครือขา่ ย ขอความรว่ มมอื ในด้านสถานท่ี วิทยากรและสิ่งที่เป็นประโยชน์ และจาเป็นตอ่ การจัดกิจกรรมในครั้งนี้ ท้ังนี้บุคลากรทุกคนได้ปฏิบัติงานร่วมกันอย่างเต็มความสามารถ และ ร่วมรับผิดชอบร่วมกนั ทางานเป็นทีม ต้ังแต่การดาเนินข้ันแรกจนเสร็จส้ินภารกิจด้วยความเรียบร้อย มีการ สรุปผลการปฏิบัติงาน เพ่ือทราบปัญหาและหาแนวทางแก้ไขร่วมกัน วิเคราะห์สถานการณ์ที่เกิดข้ึน นามา เปน็ แนวทางในการปฏิบัติงานในครั้งต่อไป เพื่อเน้นให้มีคุณภาพและเกิดประโยชน์ต่อผู้เรียนผู้รับบริการอย่าง สงู สดุ 4.5 ด้านคุณภาพของหลักสตู ร 4.5.1 สามารถจัดทาหลักสูตรการเรียนรู้ จัดทาแผนการจัดกิจกรรม โครงการ กศน.เพ่ือประชาชน การฝึกฝึกอาชีพระยะสั้น รูปแบบช้ันเรียนวิชาชีพ หลักสูตรตั้งแต่ 31 ชั่วโมงข้ึนไป วิชาการทอผ้าพันคอ ลายตาหมอ่ ง จานวน 35 ชว่ั โมง ทุกกล่มุ เปูาหมาย ทกุ ชุมชนในเขตตาบลโพนงาม 4.5.2 กิจกรรมในหลักสูตรการเรียนรู้ ผู้เรียน บุคลากร ท่ีเกี่ยวข้องสามารถนาไปปฏิบัติอย่างเป็น รูปธรรมและมปี ระสทิ ธิภาพ 4.6 ด้านคณุ ภาพผู้เรยี น 4.6.1 ผู้เรียนเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับ การฝึกอาชีพ ตามโครงการ กศน.เพื่อประชาชน การฝกึ อาชีพระยะส้ัน รูปแบบช้ันเรียนวิชาชีพ หลักสูตรต้ังแต่ 31 ช่ัวโมงขึ้นไป วิชาการทอผ้าพันคอลาย ตาหมอ่ ง จานวน 35 ชั่วโมง 4.6.2 ผู้เรยี นเกดิ ทกั ษะในการแสวงหาความรูด้ า้ นอาชีพ ในการปฏิบัติกิจกรรมประกอบอาชีพ รับรู้ ขอ้ มลู ตามหัวข้อ หลกั สตู รทกี่ าหนด และสามารถแจกแจงความรใู้ ห้ผู้อ่นื เขา้ ใจได้ 4.6.3 ผเู้ รียนมีทกั ษะในการคดิ ลาดบั และคน้ คว้าข้อมูล จัดหมวดหมูอ่ าชพี สร้างความรู้ใหม่ ตอ่ ยอดอาชีพ ตามความคิดของตนเอง 4.6.4 ผู้เรยี นสามารถวางแผนการทางาน การดาเนนิ งาน การสรา้ งชิ้นงาน ของตนเอง 4.6.5 สามารถ่ายทอดความรู้ ความคิด ความรสู้ ึกและประสบการณท์ ่เี กิดข้นึ กบั ตนเองได้ 4.6.6 ผเู้ รยี น มคี วามสขุ สนกุ พึงพอใจในหลักสตู รที่จดั การเรียนร/ู้ กิจกรรมทางดา้ นอาชีพ 4.6.7 ผู้เรียนเห็นคุณค่าของการประกอบอาชีพ อาชีพในท้องถ่ิน และเกิดความตระหนักท่ีจะรักษา อนรุ กั ษ์ และสบื ทอด อาชพี การทอผ้า ให้คงอยอู่ ย่างยัง่ ยืน 5. ปจั จัยความสาเรจ็

5.1 ความร่วมมือ ผู้บริหาร คณะครู ผู้เรียน ประชาชนในชุมชน อยู่ในระดับมากท่ีสุด เพ่ือพัฒนา หลักสูตรท้องถิ่น หลักสูตรอาชีพให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน ชุมชน สถานการณ์จริง เพื่อจะ นาไปพฒั นาใหเ้ กดิ ประโยชนส์ ูงสุดกับผเู้ รยี นและชุมชน 5.2 ความร่วมมือจากภาคีเครือข่าย คณะกรรมการสถานศึกษา ตลาดอาชีพ ประชาชนในชุมชน วิทยากรท้องถ่ิน ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถิน่ องค์กร หน่วยราชการอนื่ มสี ่วนรว่ มในระดับมาก 6. เคลด็ ลบั ๑. การบรรยายใหค้ วามรู้เกีย่ วกบั การเตรยี มการประกอบอาชพี ท่ีชัดเจน ๒. ศึกษาข้อมูลจากเอกสาร ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ ผู้รู้ เก่ียวกับเรื่องวิธีการการทา การออกแบบ การ เตรยี มวสั ดุอปุ กรณ์ ๓. แลกเปล่ียนเรียนรู้ การทอ การออกแบบลายตา่ ง ๆ รูปแบบลายผ้า ๔. การฝึกปฏบิ ัตจิ รงิ เก่ยี วกับการทอผ้าพันคอ การออกแบบ เพื่อรู้แนวทางปฏิบัติ การแก้ปัญหาใน การทากจิ กรรม 7. การส่งเสริมการขาย 1) การบรหิ ารจัดการในการประกอบอาชีพ การทอผา้ พนั คอลายตาหม่อง - การสารวจและศกึ ษาแหล่งวัสดุ อุปกรณ์ - การคดิ ราคาตน้ ทุน กาไร - การสง่ เสริมการขาย / การขาย /การทาบัญชรี า้ นค้าอยา่ งง่าย 2) การจัดจาหนา่ ย -จัดจาหนา่ ยผา่ น facebook ของผูเ้ รยี น -จดั จาหน่ายผ่าน เพจ กศน.ตาบลโพนงาม -จัดจาหนา่ ยผา่ น เพจ OOCC กศน.ตาบลโพนงาม -จัดจาหน่ายผา่ น เพจ ของดีตาบลโพนงาม คัดเลือกโดย กศน.ตาบลโพนงาม 8. บทเรียนทไี่ ด้รับ (Lesson Learned) ผลจากการดาเนินการ การฝึกอาชีพ ตามโครงการ กศน.เพื่อประชาชน การฝึกอาชีพระยะสั้น รูปแบบชนั้ เรียนวิชาชีพ หลกั สตู รตง้ั แต่ 31 ชั่วโมงขนึ้ ไป วิชา การทอผา้ พนั คอลายตาหม่อง 6.1 พบแนวทางการพัฒนาการเรียนการสอน การฝึกอาชีพ หลักสูตรอาชีพระยะส้ัน ท่ียึดผู้เรียน เป็นสาคัญและมีส่วนร่วม คานึงถึงผลที่เกิด กับผู้เรียนสูงสุด ส่งผลให้หน่วยงาน องค์กร ภาคีเครือข่าย ต่าง เข้ามาใหค้ วามร่วมมอื ชว่ ยเหลอื ในการการฝกึ อาชีพ ตามโครงการ กศน.เพ่ือประชาชน การฝึกอาชีพระยะสั้น รปู แบบช้ันเรียนวชิ าชีพ หลักสตู รตัง้ แต่ 31 ชั่วโมงขึ้นไป วิชา การทอผา้ พันคอลายตาหมอ่ ง 6.2 มกี ารวางแผนงาน การดาเนินงาน มีหลักสตู รวชิ าชพี ฝึกอาชีพ ซ่ึงมีการร่วมคิด ร่วมใจ ร่วม แรง ร่วมมือ โดยใช้หลักการทางานเปน็ ทีมการมีสว่ นรว่ ม 9. การนาไปใช้ ดงั นี้ การทอผ้าเป็นอาชีพท่ีชาวบ้านหารายได้ช่วยจุนเจือครอบครัวในยามท่ีเสร็จสิ้นจากการทานา คนใน ชุมชนรู้จักและมีภูมิปัญญาด้านการทอผ้าเป็นพื้นฐานอยู่แล้ว ซ่ึงสืบทอดมาจากบรรพบุรุษ ผ้าเป็นผลิตภัณฑ์ หัตถกรรม ทบี่ ่งบอกถึงความรุ่งเรอื ง ประเพณี วฒั นธรรมของพืน้ บ้าน มีการสืบทอดเทคนิควิธีการมาหลายช่วง

อายุคน ซ่ึงมีพ้ืนฐานการพัฒนาลวดลายในแบบต่างๆ อย่างต่อเนื่อง โดยมีพ้ืนฐานในการออกแบบจากสภาพ การดารงชีวิต วฒั นธรรม ประเพณี ความเชือ่ ศาสนา และธรรมชาติทแ่ี ตกต่างกันในแต่ละยคุ สมัย เดิมสมัยก่อนในชุมชนมีการปลูกฝูาย เล้ียงไหม มีกรรมวิธีการทอผ้าแบบโบราณใช้วัตถุดิบในพ้ืนที่ นามาทอผ้าเคร่ืองนุ่งห่ม เมื่อก่อนน้ีกลุ่มทอผ้ามีมาก ผลผลิตล้นตลาดราคาผลิตภัณฑ์ถูก แต่วัตถุดิบแพง กลุ่ม อาชีพบ้านนางาม ต่อมาเม่ือทางสถานศึกษา ได้เข้ามาส่งเสริมให้การสนับสนุน ให้มีการทอผ้า สร้างอาชีพ ส่งเสริมให้เกิดอาชีพ ท้ังเชิงพาณิชย์ โดยมีชาวบ้านมาเป็นสมาชิกกลุ่ม ทาให้มีอาชีพเสริม มีศูนย์การเรียนรู้ ชมุ ชน มสี ถานที่ฝึกอบรม ในการออกแบบผลิตภัณฑ์ เกิดจากความต้องการของผู้ซื้อ และการนาไปใช้งานเป็น หลกั เนน้ ความสวยงาม ประณตี และเรียบร้อยจากการที่ได้รับการสนับสนุนจาก กศน.อาเภอกุดชุม ทาให้กลุ่ม มีความเจริญก้าวหน้ามากข้ึน ส่งผลให้ชาวบ้านได้มีรายได้ให้กับครอบครัวอีกทางหน่ึง ประจวบกับมีการ ส่งเสริมการขายชิ้นงานที่ทาได้ ของผู้เรียน ผ่านทางเพจของตนเองและของ ของสถานศึกษา ทาให้ผู้เรียนท่ีมี ความชานาญแลว้ ทาการผลิตและเพ่ือจาหนา่ ยไดม้ ากขน้ึ ผ้าพันคอลายตาหม่อง เป็นศิลปะการทอผ้าที่มีลวดลายสวยงาม การออกแบบ สีสันของเส้นด้าย ลวดลายต่าง ๆ ตามความต้องการของลูกค้า มีความละเอียดประณีต เรียบร้อย ได้มาตรฐาน คงทน สม ประโยชน์ ราคาไมแ่ พง มีการพฒั นารูปแบบทันสมัยอย่างต่อเนือ่ งและเป็นสากล แต่กระบวนการผลิตยังใช้แบบ ด่ังเดิม ทาให้มองเห็นคุณค่าและแสดงถึงเอกลักษณ์ความเป็นไทย ซึ่งเป็นความภาคภูมิใจของผู้เรียน เป็น ผลงานจากการสร้างสรรค์ช้ินงานที่ประสานภูมิปัญญาของคนรุ่นเก่ากับคนรุ่นใหม่ ให้เข้ากันได้อย่างลงตัวและ เหมาะสม การส่งเสริมและการอนุรักษก์ ารทอผ้า โดยให้มีการผลิตอย่างต่อเน่ือง มีการพัฒนารูปแบบตลอดเวลา จึงมีการถา่ ยทอดใหก้ ับผูท้ ่ีต้องการเรียน เพอ่ื เปน็ พืน้ ฐานในการประกอบอาชพี ให้กบั แม่บ้าน นักเรียน นักศึกษา ผู้ท่ีสนใจท่ัวไป เพ่ือเป็นการสืบสานภูมิปัญญาของคนรุ่นเก่าสู่คนรุ่นใหม่ได้อย่างมีคุณภาพและเป็นการอนุรักษ์ และปูองกันภูมิปัญญามิให้สูญหาย ปัจจุบันการทอผ้าของ บ้านนางาม ตาบลโพนงาม เป็นอีกหนึ่งอาชีพของ คนในชมุ ชนเนอื่ งจากเป็นอาชพี เสริมท่ีทาให้เกดิ รายได้ดีทาให้คนในชมุ ชนมรี ายได้ที่มั่นคง 10. การเผยแพร่ / การได้รบั การยอมรับ / รางวลั ทไี่ ดร้ บั 7.1 เผยแพร่ผลงาน/นวัตกรรมทีเ่ ป็นเลศิ ไปยังกลุ่มเครือข่ายฯ เช่น องค์การบรหิ ารสว่ นตาบล โพนงาม พฒั นาชมุ ชน กลมุ่ เครือข่ายอาชีพ ฯลฯ หลักฐานจาก เพจ OOCC สานักงาน กศน. , OOCC กศน.อาเภอกดุ ชมุ จงั หวัดยโสธร , OOCC กศน.ตาบลโพนงาม อาเภอกดุ ชุม จงั หวัดยโสธร 7.2 การจัดกิจกรรม/โครงการอบรมการสร้างเครือข่ายดิจิทัลชุมชน หลักสูตร Digital Literacy Curriculum , โครงการอบรมการสร้างเครือข่ายดิจิทัลชุมชน หลักสูตร E – Commerce สาหรับประชาชน ทั่วไป ผู้ประกอบอาชีพ ได้เข้าร่วมกิจกรรม พร้อมทั้งนาเทคนิควิธีการ กลับไปปฏิบัติและบริหารจัดการ ผลติ ภัณฑอ์ าชีพ ผลผลิตของตนเอง 7.3 การจัดทาฐานขอ้ มลู เผยแพร่ผา่ นทางเว็บไชต์ - OOCC สานักงาน กศน. (https://www.facebook.com/groups/527693294312349/) - OOCC กศน.อาเภอกุดชุม จังหวดั ยโสธร (https://www.facebook.com/groups/298153394322835/) - OOCC กศน.ตาบลโพนงาม อาเภอกดุ ชุม จังหวดั ยโสธร (https://www.facebook.com/OOCC-กศนตาบลโพนงาม-อาเภอกุดชมุ -จงั หวดั ยโสธร) - ของดีตาบลโพนงาม คัดเลอื กโดย กศน.ตาบล

(https://www.facebook.com/ของดตี าบลโพนงาม-คดั เลือกโดย-กศนตาบล) - กศน.ตาบลโพนงาม จงั หวดั ยโสธร (https://www.facebook.com/กศน.ตาบลโพนงาม-จงั หวัดยโสธร) ข้อเสนอแนะ 1. ขอ้ เสนอแนะในการนาไปใช้ 1.1 ผอู้ อกแบบกจิ กรรมจงึ ควรคานงึ ถึงรปู ของแบบฝกึ ทักษะ และการเพ่ิมเง่ือนไข แรงจงู ให้มากขึน้ เพอื่ ให้ผ้เู รียนเกดิ ความกระตือรือร้นเพิ่มขนึ้ 1.2 การพัฒนาฝึกทกั ษะ และกจิ กรรมเรียนรูใ้ นบทเรียนน้ันต้องได้รบั ความร่วมมือจากผู้เช่ยี วชาญ ดา้ นตา่ ง ๆ อาทิ เชน่ ดา้ นเนอ้ื หา ดา้ นรูปแบบการทา เปน็ ต้น จงึ จะทาให้กจิ กรรมและแบบฝึกทกั ษะท่ีสรา้ งมี คณุ ภาพและประสทิ ธิภาพ 2. ขอ้ เสนอแนะในการศกึ ษาคน้ ควา้ ครง้ั ต่อไป 2.1 ควรมกี ารออกแบบลักษณะตามการใช้งานจริงของผู้ใช้ ตกแตง่ เอกสาร เพ่ือให้ผู้เรยี นสามารถ บันทึกเกบ็ ไวด้ ูย้อนหลังได้ 2.2 ควรศึกษาเชงิ สารวจหาข้อมูลจากหลาย ๆ ฝุาย เช่น ผสู้ อนทา่ นอ่นื ผู้เรยี น หรอื ผู้ทีเ่ กยี่ วข้องอ่นื ๆ เพอ่ื จะได้สร้างและพัฒนาจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ให้ตรงกับความตอ้ งการของผู้เรยี น 3. แนวทางการพัฒนาในอนาคต 1. ปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ หลักสูตรอาชีพ และจัดทาแผนการจัดกิจกรรม เข้าสู่ระบบ ส่ือออนไลน์ การสรา้ งเครือขา่ ยชุมชนดจิ ทิ ัล จัดทาเวบ็ ไซต์สาหรบั ช่องทางอาชพี 2. จัดกิจกรรมให้เกิดความคุ้มค่า เน้นประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการจัดกิจกรรม รวมถึงการ จัดทาหลกั สตู ร ใหส้ อดคล้องกับความตอ้ งการของชมุ ชน และนาผลไปพฒั นาต่อไป

รปู ภาพจดั กิจกรรม โครงการฝึกทกั ษะอาชีพระยะสนั้ (กลุ่มชนั้ เรยี น) วชิ า การทอผ้าพันคอลายตาหม่อง หลกั สตู ร ๔๐ ช่ัวโมง ดาเนินการ ณ บ้านเลขที่ ๕๒ บา้ นนางาม หมู่ ๖ ตาบลโพนงาม อาเภอกุดชุม จงั หวัดยโสธร

วทิ ยากรช่วยแนะนาสมาชกิ ภายในกล่มุ



ผลผลติ ผา้ พนั คอลายตาหม่อง

คณะผจู้ ดั ทา ทป่ี รกึ ษา ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอกุดชมุ นางสาวียะ พันธฤ์ุ ทธ์ิ ครู ชานาญการ คณะนิเทศตดิ ตาม การจัดกิจกรรม ครู ผู้ชว่ ย นางศุ รา คมจติ ร บรรณารกั ษป์ ฏบิ ตั ิการ นายวิเชยี ร คาเบา้ เมือง นางสาวณัฐนาฏ เบญมาตย์ ครู กศน.ตาบลโพนงาม ออกแบบ/จดั พมิ พร์ ูปเลม่ ครู กศน.ตาบลโพนงาม นายฉันทิตย์ ศรีจันทร์ รวบรวมและเรียบเรยี ง นายฉนั ทติ ย์ ศรจี นั ทร์

OOCC ตาบลโพนงาม กศน.ตาบลโพนงาม ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอกดุ ชุม สานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จงั หวดั ยโสธร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook