รายงานการประชมุ คณะกรรมการ กปภ. ครงั ที 10/2564 วนั ที 26 ตลุ าคม 2564 หนา้ 51 ของ 53 หนา้ เพือความเหมาะสมกับการดาํ รงความลับและความคล่องตวั ในการยืนขอ้ เสนอทีบริษัทฯ จะตอ้ งปฏิบตั ิตาม TOR ใหม่ทีมีความย่งุ ยากเพิมขนึ ทังปริมาณขอ้ มลู และปริมาณเอกสาร คณะกรรมการ บริษัทฯ ไดพ้ ิจารณามอบอาํ นาจให้ประธานและกรรมการผู้จัดการใหญ่ เป็นผูด้ าํ เนินการและมีอาํ นาจ ในการลงนามอนมุ ตั ริ ายละเอยี ดต่างๆ บนเอกสารทีจะใชย้ ืนขอ้ เสนอ ปัจจบุ นั ยังไม่ทราบผลการพิจารณาผชู้ นะการคดั เลือกเอกชนในการจัดใหเ้ ช่า/บรหิ ารระบบ ทอ่ สง่ นาํ สายหลกั ในภาคตะวนั ออกของกรมธนารกั ษ์ การประเมนิ ผลกระทบตอ่ บรษิ ัทฯ กรณีบรษิ ัทฯ ไม่ไดร้ บั การคดั เลือก 1. ผลกระทบตอ่ การบริหารโครงขา่ ยท่อสง่ นาํ 1) ผลกระทบต่อโครงข่ายระบบทอ่ ส่งนาํ (Water Grid) บริษัทฯ มีระบบท่อสง่ นาํ สายหลกั เชือมโยงทีรบั บรหิ ารจากระบบท่อของกรมธนารกั ษ์ และทีบริษัทฯ ลงทุนเอง เป็นโครงข่ายท่อส่งนาํ (Water Grid) ทีมีความยาวรวม 491.8 กิโลเมตร ซึงมี ความสามารถในการส่งจ่ายนาํ ในพืนทีโดยเฉลีย 655 ล้าน ลบ.ม./ปี โดยโครงข่ายท่อส่งนาํ ดังกล่าว เป็นการเชือมโยงระหว่างแหล่งนาํ หลักของภาครัฐ (อ่างเก็บนาํ ) แม่นาํ สายหลักและแหล่งนาํ เอกชน ใหก้ บั ผใู้ ชน้ าํ ในพืนที EEC หากกรมธนารักษ์ให้เอกชนรายใหม่บริหารระบบท่อ อาจส่งผลให้ความสามารถ ระบบท่อส่งนาํ ของบริษัทฯ ลดลงประมาณ 218 ล้าน ลบ.ม/ปี หรือคิดเป็นร้อยละ 33 เมือเทียบกับ ความสามารถระบบท่อสง่ นาํ ทีมอี ยใู่ นปัจจบุ นั (ลดลงจาก 655 ลา้ น ลบ.ม./ปี เหลอื 437 ลา้ น ลบ.ม./ปี) 2) ผลกระทบดา้ นการลงทนุ วางทอ่ ทดแทนระบบทอ่ เดมิ ของกรมธนารกั ษ์ เพือใหบ้ ริษัทฯ มีโครงข่ายระบบท่อส่งนาํ เชือมโยงแหล่งนาํ ทงั 3 จงั หวดั กรณีไม่ไดร้ บั คัดเลือกให้เช่าบริหารระบบท่อของกรมธนารักษ์ พิจารณาประเมินแนวทางเลือกและราคาค่าก่อสรา้ ง ในการลงทนุ ก่อสรา้ งระบบทอ่ สง่ นาํ ทดแทนแยกเป็น 2 แนวทาง ประกอบดว้ ย แนวทางที 1 กอ่ สรา้ งระบบส่งนาํ สายหลกั ทดแทนระบบท่อส่งนาํ เดิมของกรมธนารกั ษ์ ทังหมด เนืองจากกรมธนารกั ษ์ใหบ้ ริษัทฯ ส่งมอบทรัพยส์ ินทังหมดคืนใหก้ รมธนารักษ์ บริษัทฯ จึงตอ้ ง ดาํ เนินการจัดหาทีดนิ และก่อสรา้ งระบบสบู นาํ พรอ้ มวางท่อทดแทนทงั 6 โครงการ ระยะทางวางทอ่ ทงั หมด ประมาณ 140 กิโลเมตร ใชง้ บประมาณลงทนุ รวมประมาณ 10,230 ลา้ นบาท แนวทางที 2 ก่อสรา้ งระบบส่งนาํ ทดแทนบางส่วน เนืองจากกรมธนารักษ์อนุญาต ใหบ้ รษิ ัทฯ ใชท้ ีดินพรอ้ มสิงปลกู สรา้ งเดิมทีไดข้ ออนญุ าตก่อสรา้ งไวต้ อ่ ไปได้ ไดพ้ ิจารณาความสามารถของ ระบบทอ่ ปัจจบุ นั พบว่า เพือระบบโครงขา่ ยระบบท่อสง่ นาํ สามารถใชง้ านไดจ้ ะตอ้ งก่อสรา้ งระบบท่อทดแทน 3 โครงการ ระยะทางวางทอ่ รวมประมาณ 69 กิโลเมตร ใชง้ บประมาณลงทนุ รวมประมาณ 3,658 ลา้ นบาท ่ราง
รายงานการประชมุ คณะกรรมการ กปภ. ครงั ที 10/2564 วนั ที 26 ตลุ าคม 2564 หนา้ 52 ของ 53 หนา้ 2. ผลกระทบดา้ นการไดร้ บั จดั สรรนาํ จากกรมชลประทาน กรมชลประทานจดั สรรนาํ ใหแ้ กบ่ รษิ ทั ฯ ผา่ นระบบทอ่ ของกรมธนารกั ษ์ ในปรมิ าณนาํ จัดสรร 155 ลา้ น ลบ.ม./ปี และบริษัทฯ ไดม้ ีการลงทนุ พัฒนาระบบท่อส่งนาํ เพิมและขอจัดสรรจากกรมชลประทาน โดยมีหนังสืออนุญาตใหส้ บู นาํ จากทางนาํ ชลประทานตามพระราชบญั ญัติการชลประทานหลวง พ.ศ. 2485 ซงึ แกไ้ ขเพิมเติมโดยพระราชบญั ญัติการชลประทานหลวง (ฉบบั ที 2) พ.ศ. 2497 และ (ฉบบั ที 3) พ.ศ. 2507 อนญุ าตใหบ้ ริษัทฯ ใชท้ ีดนิ วางทอ่ และสบู นาํ เพือกิจการจ่ายนาํ ดิบเพือการอปุ โภค - บรโิ ภค และอตุ สาหกรรม เพิมขึนเป็ น 371 ล้าน ลบ.ม./ปี ในปัจจุบันเมือครบกาํ หนดตามเงือนไขในการขอรับใบอนุญาต บริษัทฯ สามารถยืนคาํ ขอรบั ใบอนุญาตภายในกาํ หนดเวลาดังกล่าวแลว้ ให้ใชน้ าํ ต่อไปไดจ้ นกว่าอธิบดี กรมชลประทาน จะมีคาํ สงั ไมอ่ นญุ าต ทังนี หากกรมธนารักษ์ให้สิทธิภาคเอกชนรายอืนเช่าบริหารท่อส่งนาํ สายหลัก ในพืนทีภาคตะวันออก กรมธนารกั ษ์อาจพิจารณาประสานกรมชลประทานเพือขอคืนปริมาณนาํ จัดสรร 155 ล้าน ลบ.ม./ปี ให้กับผู้บริหารท่อรายใหม่ส่งผลให้ปริมาณแหล่งนาํ ต้นทุนของบริษัทฯ ลดลง รอ้ ยละ 32 เมือเปรียบเทียบกับแหล่งนาํ ต้นทุนทีมีอยู่ในปัจจุบัน (ลดลงจาก 371 ลา้ น ลบ.ม./ปี เหลือ 216 ลา้ น ลบ.ม./ปี) ซงึ อาจมคี วามเสยี งการขาดแคลนนาํ 3. ผลกระทบดา้ นปรมิ าณนาํ จาํ หนา่ ย ตน้ ทนุ การบรหิ ารจดั การ และรายได้ 1) ผลกระทบดา้ นปรมิ าณนาํ จาํ หนา่ ย การประเมินปริมาณความตอ้ งการใช้นาํ ผ่านระบบท่อของกรมธนารักษ์ทีบริษัทฯ เช่าบรหิ าร ซึงไดพ้ ิจารณาการส่งจ่ายนาํ ใหก้ ับภาคอปุ โภค-บริโภค และภาคอตุ สาหกรรม พบว่า ปริมาณ การรบั นาํ ตามสญั ญามคี วามตอ้ งการใชน้ าํ ผา่ นระบบท่อสง่ นาํ ดอกกราย - มาบตาพดุ - สตั หบี ระบบทอ่ สง่ นาํ หนองปลาไหล - หนองค้อ และระบบท่อส่งนาํ หนองค้อ - แหลมฉบัง ระยะที1 และระยะที 2 รวม 467 ลา้ น ลบ.ม./ปี และเมือพิจารณาเงือนไขในสญั ญา และเงือนไขอืนๆ หากบรษิ ัทไม่ไดร้ บั คดั เลือกใหเ้ ช่า บรหิ ารระบบท่อกรมธนารกั ษ์ บรษิ ัทฯ ไดป้ ระเมินผลกระทบตอ่ ปริมาณนาํ จาํ หน่ายทีหายไปจากการไม่ไดร้ บั บริหารระบบท่อของกรมธนารกั ษ์เทียบกับปรมิ าณนาํ จาํ หน่ายตามแผนหลกั คาดปริมาณนาํ จาํ หน่ายลดลง รอ้ ยละ 25 – 46 2) ผลกระทบดา้ นรายไดแ้ ละกาํ ไรสทุ ธิในกรณีบรษิ ัทฯ ไมไ่ ดร้ บั การคดั เลือกคาดการณว์ ่า จะสง่ ผลกระทบกบั ผลการดาํ เนินงานรายปีของบรษิ ัทฯ ทงั รายไดแ้ ละกาํ ไรสทุ ธิของงบการเงนิ รวมของบรษิ ัทฯ การประเมินผลกระทบกบั กปภ. กรณีบรษิ ัทฯ ไมไ่ ดร้ บั การคดั เลอื ก 1. ผลกระทบต่อผลประกอบการและมูลค่าของบริษัทฯ คาดการณ์ว่าจะส่งผลกระทบกับ ผลประกอบการ และสะทอ้ นผลไปยงั มลู คา่ ของบริษัทฯ ในตลาดหลกั ทรพั ย์ ่ราง
ร่าง
Search