7. การใหข้ ้อตกลงใจและการแก้ไขปญั หา ปญั หาที่เกิดขึ้นกบั ผู้บงั คับบญั ชาชนั้ เหนือส่วนใหญส่ ืบเนื่องมาจาก ข้อย่งุ ยากในการปฏิบตั ิ ที่ขาดประสบการณ์ของหนว่ ยรอง ฉะนน้ั จึงมีความจาเปน็ ท่ีผู้บงั คบั บัญชาชั้นเหนอื จะต้องนาเอาคณุ ลกั ษณะ และหลกั ของการเป็นผนู้ ามาใชใ้ นการให้ขอ้ ตกลงใจและการแกไ้ ขปัญหา โดยอาศยั แนวทางจากเรอื่ งการ ประมาณสถานการณ์ (รส.101-5) และกรรมวธิ ีในการแกป้ ญั หา (บทที่ 7) ในการปฏิบัติหนา้ ที่ เนือ่ งจาก ข้อตกลงใจของผู้บงั คับบัญชาอาจมีผลกระทบกระเทือนต่อผูท้ ีอ่ ยู่ในสายการบังคับบัญชาหลายระดับดว้ ยกนั ผบู้ งั คบั บัญชาจึงจาเป็นต้องยึดถือหลักในการจัดการงานของบคุ คล และหลกั มลู ฐานของมนุษย์สมั พันธ์ไว้ ตลอดเวลา ถ้าไม่ปฏิบตั เิ ชน่ นน้ั อาจกอ่ ให้เกดิ ความไมเ่ ป็นกันเองกับหนว่ ยรอง อันเปน็ การบน่ั ทอนความ พยายามท่ีจะสรรค์สร้างสภาพแวดลอ้ มที่จะนาไปสคู่ วามสาเร็จในการนาหน่วยตลอดทัง้ สายการบงั คบั บัญชา อกี ด้วย 8. การติดตอ่ สอื่ สารภายในหน่วย ก. นโยบายหรอื ข้อตกลงใจของผู้บังคับบัญชาชน้ั เหนอื จะทาใหห้ น่วยรองยอมรับ หรือมีความเขา้ ใจ มากน้อยเท่าใด ย่อมมีความกระทบกระเทอื นตอ่ ประสิทธภิ าพของตนในฐานะผนู้ าหน่วย การติดต่อสอ่ื สาร เปน็ เรอ่ื งหน่ึงทีม่ ีความสาคญั และทาให้ความรับผิดชอบในการบงั คบั บญั ชามีความยากลาบาก การ ติดตอ่ สื่อสารทไี่ ด้ผลไมเ่ พียงแต่จะนาขา่ วสารไปยังผ้รู ับเท่าน้ัน ผู้รบั จะตอ้ งรบั และทาความเข้าใจในข่าวสาร นัน้ ด้วย ถ้าการติดต่อส่ือสารไมไ่ ด้ผลความรว่ มมือในการปฏิบตั จิ ะเกดิ ข้นึ ไมไ่ ด้ กรรมวิธใี นการใหข้ ้อตกลงใจ ขน้ึ อยู่กับความไวว้ างใจ และความสมบรู ณข์ องขา่ วสารทจี่ กจ่ายมาเพื่อใชเ้ ป็นขอ้ ตกลงใจ ข. เป็นความรับผดิ ชอบของผู้บงั คบั บัญชา ที่จะต้องใหผ้ ูใ้ ต้บังคับบญั ชาทราบข่าวสารอยู่ตลอดเวลา การแจกจ่ายคาส่งั เพียงอยา่ งเดยี วไม่เป็นการเพียงพอท่ีจะหวังไดว้ า่ จะมีการปฏบิ ตั ิใหเ้ ป็นไปตามที่ ผ้บู ังคับบัญชามงุ่ หวงั เสมอไป ควรใหโ้ อกาสผู้ใตบ้ ังคับบญั ชาเขา้ มามีส่วนร่วมในการพฒั นา แผน, นโยบาย และวธิ ีการปฏิบัตติ า่ ง ๆ จากการใหม้ ีส่วนรว่ มดังกลา่ วจะทาใหเ้ ขามีความเข้าใจดขี ึน้ ต่อปัญหาและเหตุผล ใน การใหข้ อ้ ตกลงใจนัน้ ค. การสง่ ข่าวสารไปยังหนว่ ยรองไม่ควรจากัดอยูแ่ คค่ าสั่ง หรอื คาชแี้ จงเท่าน้ัน ขา่ วสารที่เปน็ พน้ื ฐาน หรอื เก่ียวขอ้ ง ควรส่งรวมไปด้วย ตามปกติ วธิ ีการออกคาส่ัง หรือกาหนดแนวทาง มักกระทาเปน็ ลาย ลกั ษณ์อกั ษร แต่มีบ่อยครง้ั ให้ขา่ วสารท่ีเก่ียวข้องเพิ่มเติมดว้ ยวาจาแกห่ น่วยรองและได้ผลดีมาแล้ว ถา้ หากใช้ วิธีการสง่ ข่าวสาร ทั้งสองวิธี ผบู้ งั คับบัญชาจาเปน็ ตอ้ งสง่ ข่าวสารใหถ้ กู ตอ้ งตรงกนั และจะต้องมคี วามชดั เจน, กะทดั รดั ถา้ ไม่เชน่ นนั้ แล้ว จะทาให้ขา่ วสารทส่ี ง่ เป็นลายลักษณ์อกั ษร จะไปขดั แยง้ กับขา่ วสารท่ีสงั่ ดว้ ยวาจา จนเกดิ ความเสยี หายขึน้ ได้ ง. ถ้าผบู้ งั คับบญั ชาช้ันเหนอื นาหลักของการเปน็ ผ้นู ามาใช้ จะทาให้หน่วยรองมีการแลกเปล่ียน ขา่ วสารทเ่ี ป็นประโยชนก์ ันตลอดทวั่ ทั้งหนว่ ย รวมท้ังการรายงานขา่ วสารให้ผู้บังคับบญั ชาทราบก็เป็นไปอย่าง รวดเรว็ ความกลวั ถกู ตาหนิ หรือถกู ลงโทษ, ไม่มคี วามตงั้ ใจท่จี ะแก้ไขงานให้สาเรจ็ หรือทาไม่ถกู ต้องตาม เป้าหมาย เหล่านี้ เปน็ ทมี่ าของเหตผุ ลทีท่ าให้หน่วยรองรายงานขา่ วสารล่าชา้ ผ้บู งั คับบญั ชาทมี่ คี วามเชอ่ื มน่ั , น่าเคารพนับถอื , และไดร้ บั ความร่วมมือจากผใู้ ต้บังคบั บญั ชาอย่างจงรักภักดจี ะไดร้ บั ความลาบากในการ แลกเปลี่ยนข่าวสารซึง่ กนั และกนั นอ้ ยทสี่ ุด ................................................................. 50
บทที่ 9 ลักษณะผ้นู าในการรบ 1. ความสมัครใจในการรบของทหารอเมริกนั ก. ปฏกิ ิรยิ าทไ่ี มพ่ อใจของทหารในระหวา่ งการฝึกเพ่อื ทาการรบเกดิ ขึ้นไดอ้ ยา่ งไร ? มีผ้บู งั คับบญั ชา หลายคนเคยกล่าวไว้วา่ “สมมตวิ า่ ทหารเปน็ จานวนมากเกดิ มีปฏิกริ ิยาทไี่ มพ่ อใจข้นึ มา อะไรจะเกดิ ขน้ึ ? เขาจะสู้รบหรือไม่ ? ปัญหาก็ยังคงมีอยูว่ า่ เขาจะทาการสรู้ บไดด้ แี ค่ไหนเมอื นึกถึงความสามารถทเ่ี ขามอี ยู่ ? ข. กองทพั บกเคยทาการศกึ ษาในเรือ่ งความสมคั รใจไปรบของทหารอเมรกิ นั มาแล้ว การศึกษานี้ กระทาเพ่อื สนับสนุนความเชอื่ ทีว่ า่ ปฏิกริ ิยาและการปฏิบัติในระหว่างการฝึก มสี ่วนเก่ียวขอ้ งกบั การ ปฏบิ ัติการรบ และทาให้ทราบวา่ ทหารที่มีปฏกิ ริ ิยา พออกพอใจนอ้ ยที่สุดในระหวา่ งรับการฝึก มักจะเปน็ ทหารทแี่ ย่ทีส่ ดุ เมือ่ เข้าทาการรบ ผลจากการสารวจเหล่าน้แี สดงใหเ้ ห็นวา่ ทหารเป็นจานวนอย่างนอ้ ยทส่ี ุด ร้อยละ ๒๔ กล่าวว่า เขาไมอ่ าจจะฆ่าทหารของฝา่ ยศตั รไู ด้ลงคอความสาคญั จึงมีอยู่ว่า ผู้ฝึกจะตอ้ งมี ความรู้สกึ ไวต่อปฏกิ ริ ิยาของทหาร และพยายามเรง่ เรา้ ให้ทหารเกดิ ความเช่อื มน่ั มคี วามชานาญในการรบ ค. จากการศกึ ษาค้นควา้ ต่อมา ทาให้ทราบว่าอานาจการยิงของหนว่ ยทมี่ อี ยู่เปน็ จานวนมาก ไมเ่ คย พฒั นาใหด้ ขี น้ึ จากการค้นคว้าของกองทัพบก เผยใหท้ ราบวา่ ทหารยงิ ปืนไม่เป็นในเวลารบ เพราะเหตุผล ดงั นี้.- (1) ขาดความเช่ือมัน่ ในประสิทธภิ าพของอาวธุ และไม่มคี วามชานาญในการใช้อาวธุ (2) กระสุนเกา่ เก็บ (3) ขาดส่ิงกระตนุ้ เตือนให้เกดิ พลงั ใจในการต่อสู้ และเข่นฆ่าทหารฝ่ายศัตรยู ่ิงข้าศกึ มีไม่ ปรากฏตวั ดว้ ยแลว้ จะทาให้เขาคิดวา่ “เราจะฆา่ เขา หรอื จะให้เขาฆา่ เรา” (4) เกิดความหวาดกลัวท่ีจะย่ัวยใุ ห้ข้าศึกตอบโต้ คือ มคี วามปรารถนาอยากจะใหต้ กอยใู่ น ความเงียบวันตลอดทัว่ ท้ังแนว (5) เกรงวา่ จะเปน็ การเปดด เผยทต่ี ้งั ของตนเองและให้ขา้ ศึกยิงมา 2. ความหวาดกลัว ก. ความหวาดกลวั คือ อารมณช์ นิดหนง่ึ ซงึ่ ทาให้บุคคลเกดิ ความรู้สกึ ออ่ นเปลี้ยเพลยี ใจ ไปช่วั ขณะหนึ่ง เป็นวธิ ีทางของธรรมชาตใิ นการเตรียมตัวเพื่อกระทาการอยา่ งหนึง่ อย่างใด ทาใหก้ าร ปฏบิ ตั ิงานของร่างกายมคี วามต่นื ตัว มีการปลอ่ ยน้าตาลและสารจากตอ่ มในร่างกายถกู ขบั ออกมาเพิ่มมากขนึ้ เพ่ือทาหน้าที่คล้ายเชือ้ เพลิง เพือ่ เผชิญการตอ่ สู้ท่ีจะมขี นึ้ จะหมดความรสู้ ึกเมื่อยล้าขน้ึ ชั่วระยะหนง่ึ ทาให้ เลอื ดแขง็ ตัวเร็วขน้ึ ข. ถึงกระนั้นก็ตาม บางครั้ง เป็นการยากทจี่ ะทาใหท้ หารทีต่ กอย่ใู นภาวะประสาทตึงเครียด และ ตกใจ มองเห็นความหวาดกลัว ในแงข่ องปฏกิ ริ ิยาทางเคมีของรา่ งกายโดยเฉพาะในกรณที ีต่ ื่นตกใจเปน็ เวลานาน จนเกดิ เสยี ขวญั ช่วยตนเองไม่ได้หรือเปน็ อัมพาตไปท้ังตัว เพราะความกลวั ค. การฝึกทไ่ี ด้ผลและรกั ษาวนิ ัยอยา่ งถูกตอ้ ง ช่วยให้สภาวะตา่ ง ๆ เหลา่ น้ี ลดน้อยลงได้ การฝึกจะมี ส่วนใหท้ หารบังคบั นิสยั ตนเองให้ตอบสนอง คาส่งั การรบ แม้วา่ คาสง่ั ทใ่ี ช้ในการรบจะไมค่ ่อยนามาใช้ในการ ฝกึ อาจจะเปน็ ธรรมชาติอนั ทส่ี องท่ที หารจะต้องมาปฏบิ ัตหิ น้าที่เปน็ นักรบ โดยเริม่ ปฏบิ ตั ิตามหนา้ ท่ี เพื่อลด ความหวาดกลวั ในตัวใหน้ อ้ ยลง 3. ขา่ วลือ ก. ขา่ วลอื คือ การตดิ ต่อขา่ วสารถงึ กนั อย่างชนิดไมต่ ัวตน แพรห่ ลายไดง้ ่ายท่ีสุดมีความเช่ือถอื พอ ฟงั ได้ตามสภาพการณท์ ่ีเกดิ ข้ึน รว่ั ไหลไปไดร้ วดเรว็ ท่ีสดุ ขา่ วลือ เปน็ เคร่อื งทาลายความเชอ่ื มั่น สรา้ งความ ไมแ่ นน่ อนให้เกิดขึน้ ในสนามรบ เมอื่ ทหารเกิดความไม่แนใ่ จและเห็นว่า ไมป่ ลอดภัย จะเกดิ ข่าวลือเปน็ ส่งิ 51
ลวงตาลวงใจขึน้ มาวา่ มีสถานการณ์เลวร้าย เกิดข้ึนทีน่ ่นั ทน่ี ่ี ซ่งึ แท้จรงิ แล้ว ไม่มอี ะไรเกดิ ขน้ึ เลย จึงก่อให้เกิด สภาวะ ซ่งึ เปน็ จดุ ออ่ นอย่างย่ิงต่อพฤติกรรมทางอารมณ์และความหว่ันไหว ทหารแต่ละคนอาจจะรสู้ กึ ต่ืนเตน้ และมปี ฏิกริ ิยาอยา่ งไรเ้ หตผุ ลต่อข้อแนะนาท่โี งเ่ ขลา เพียงชัว่ ระยะหน่งึ ข่าวลือจะทาให้ผู้ทต่ี อ้ งการทราบ ข่าวสารเกดิ ความพอใจตามความมุง่ หวังของหนว่ ย ในระยะยาวขา่ วลือจะเปน็ สิง่ บั่นทอนความเชอ่ื ม่ันของ ทหารในสายการบงั คับบัญชา และในตนเอง เพราะเหตุนเ้ี อง ขา่ วลอื จึงช่วยทงั้ เพม่ิ ความรู้สึกตงึ เครียดใหก้ ับ ทหารแต่ละคน และมีสว่ นชว่ ยลดประสิทธภิ าพในการรบของหน่วยลงไปดว้ ยโดยสว่ นรวมแล้ว ข่าวลอื ที่ ปราศจากเหตุผลจะยนื ยงอยู่ได้ไมน่ าน แต่ขา่ วลอื ซ่งึ มีมลู ความจรงิ อย่คู ร่ึงหนง่ึ และขา่ วลอื ที่เป็นจริงท้ังเรอ่ื ง จะสามารถแพร่อยู่ไดน้ านและกอ่ ให้เกดิ อันตรายมาก ข. ข่าวลือซ่ึงช่วยให้เกดิ ขอ้ สงสยั หรือความเกลียดชงั แสดงถึงความหวาดกลวั หรือแสดงถงึ ความหวงั ซงึ่ เกิด จากอารมณข์ องผบู้ อกเล่า เม่ือขา่ วลือแพร่สะพัดออกไปไกล ๆ อยา่ งรวดเรว็ แสดงวา่ ความเกลียดความ หวาดกลวั หรือความหวัง ไดเ้ กดิ ขึ้นในหมชู่ นสว่ นใหญ่ที่บอกเล่าต่อ ๆ กนั ไป ข่าวลือ จะแพร่ออกไปไดแ้ มจ้ าก คนทไ่ี ม่เชอ่ื ในข่าวลือนั้นเพราะอย่างน้อยกเ็ ป็นโอกาสท่จี ะไดร้ ะบายอารมณข์ องตนออกไปดีกว่าจะปลอ่ ยให้ ถูกกดดนั เอาไว้ ค. ความเชอื่ มน่ั บางคร้ังมคี วามเปล่ียนแปลงข้ึนลงได้ในระหว่างความเช่ือม่ันทเ่ี กิดพอดกี บั ความ เชอื่ มนั่ จนทาให้เกดิ ระส่าระสาย ข่าวลือเป็นสาเหตุใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลงอย่างรุนแรงในความเชอื่ ม่นั เหลา่ นี้ ดว้ ยเหตผุ ลดงั กล่าวนจี้ ะตอ้ งมกี ารควบคุมขา่ วลอื ไว้ใหไ้ ดก้ ารควบคุมข่าวลือที่ได้ผลดกี ็คือ จะต้องรจู้ ัก ฟงั หไู ว้หู เพอ่ื สืบสวนดใู หแ้ นช่ ดั และแยกขา่ วลือนั้นออกมาแลว้ หาทางปฏิบัตเิ พอ่ื ทาให้ข่าวลือนัน้ หมดความ เชื่อถอื หรือหาทางขจดั ต้นตอของข่าวลือน้นั เสยี เลย ขา่ วลอื ซง่ึ เกดิ ข้นึ จากน้ามือของขา้ ศึก จาเปน็ ต้องใช้ มาตรการในการตอ่ ตา้ นขา่ วกรอง เพ่อื พิจารณาหาตน้ ตอของขา่ วลอื นนั้ มาตรการควบคมุ โดยเฉพาะซง่ึ ใช้ได้ กบั ขา่ วลอื ทกุ ชนิด ได้แก่.- (1) จดั ใหม้ โี ครงการประชาสัมพันธท์ ่ีได้ (2) แจกจ่ายข่าวสารตามแผน และการปฏบิ ัติใหส้ มบูรณ์ที่สุดเท่าทจี่ ะเปดดเผยไดแ้ ละให้ หน่วยทหารได้ทราบขอ้ เท็จจริงมากท่ีสุดเท่าทีจ่ ะทาได้ (3) คน้ หา และพยายามขจดั มลู เหตทุ ี่ทาให้เกดิ ความไม่แนน่ อน และความไมส่ มหวงั ต่าง ๆ ก่อนทีจ่ ะกอ่ ตัวใหม้ ีมากขึน้ (4) แจ้งข่าวลอื ต่าง ๆ ท่ีเกิดขึ้นในหน่วยให้ทราบท่ัวถึงกนั ทหารต้องการใฝ่หาขา่ วสารอยู่ แล้ว ถ้าสายการบังคบั บัญชาไมส่ ง่ ขา่ วสารตามความเป็นจริงให้ทราบทันทว่ งทแี ล้วการแพร่ข่าวลอื ก็จะเกิดข้ึน แทนที่ โทษท่เี ห็นไดช้ ดั จากการไมต่ อบโต้โดยตรงต่อขา่ วลือก็คือ ขา่ วลอื อนั น้ันอาจจะก่อให้เกิดความเชือ่ เพม่ิ มากข้ึน อย่างไรก็ตาม โครงการระยะยาวในการปลูกฝังความเชื่อถือในข่าวสารทส่ี ง่ มาตามสายการบังคบั บัญชา จะต้องดกี วา่ การโตเ้ ถยี งขา่ วลอื ที่แพรจ่ ากปากหนงึ่ ไปยังอกี ปากหน่งึ (5) สนบั สนนุ ให้ผู้ใต้บังคบั บญั ชาเกิดความเช่ือมน่ั ในผู้นาของตน ง. แจง้ ให้ทหารทราบถงึ บทบาทที่จะตอ้ งกระทาในสนามรบ ทหารทท่ี ราบสถานการณแ์ ละภารกจิ เปน็ อย่างดี ย่อมปฏิบตั ิงานได้ผลดีกว่าทหารทีไ่ มท่ ราบเรือ่ งอะไร และถ้าเราไม่ทาจะเกดิ ผลเสียอยา่ งไร ทัง้ น้ี เพือ่ ชว่ ยใหเ้ ขาปฏบิ ตั ิภารกจิ ให้สาเร็จลงได้ดว้ ยดี หน่วยทหารท่มี ีความหวาดระแวงต่อขีดความสามารถของ ข้าศึกอยู่ลว่ งหนา้ จะมีผลกระทบกระเทอื นโดยตรงตอ่ การปฏิบัตภิ ารกจิ ให้สาเร็จลลุ ว่ งไป 4. ความต่นื ตระหนก ก. ความตื่นตระหนกจะเกิดมขี น้ึ เมอื่ ทหารถกู ความหวาดกลวั เข้าครอบงาอาจกระทาโดยการ หลบหนอี ย่างรวดเร็ว หรือแขง็ ทือ่ อยกู่ ับท่ีก็ได้ ความต่ืนตระหนกอาจเกิดขน้ึ กับความหายนะในทันทีทันใด หรอื เกิดจากบุคคลเพียงสองสามคนหลบหนอี ันตรายมาจากสถานการณท์ ่ีคบั ขนั ภาวะวกิ ฤตซิ ึ่งเปน็ ผลต่อ 52
ความกลวั ของฝูงชนอาจเป็นเรอื่ งจริง เชน่ ในกรณีการที่ธลุ ีของกัมมนั ตภาพรงั สตี กจากการระเบดิ ของอาวธุ ปรมาณบู นพ้ืนดนิ หรอื จากการคดิ ฝนั ในสถานการณ์อนั เกดิ จากการโฆษณาชวนเชือ่ ของฝ่ายขา้ ศกึ และการ พูดจาในทางมุ่งร้ายตา่ ง ๆ เชือ้ ของความตื่นตระหนกจะยังคงแพร่อยใู่ นหมูท่ หาร ตราบเทา่ ท่ีเขาเหล่าน้นั ยังคง มีความเช่อื อยู่วา่ อันตรายอยใู่ กลต้ วั เต็มที ข. อารมณ์กลัวของคนเราน้ันจะถงึ ขน้ั ตนื่ ตระหนก กต็ ่อเมือ่ แตล่ ะคนเชอื่ วา่ ไมส่ ามารถเอาชนะตอ่ ภาวะวิกฤติน้นั ได้ เม่ือเกิดความตงึ เครยี ดทางอารมณ์ อันมีมูลเหตมุ าจากภาวะวกิ ฤตคิ นเราจะเกิดอาการ ตน่ื เต้น และจะยอมรับคาแนะนาตา่ ง ๆ อยา่ งรวดเร็วส่ิงท่กี ่อใหเ้ กดิ ความต่ืนตระหนกแกห่ นว่ ยในสนามรบได้ งา่ ยท่สี ุด ก็คือ ทหารในหนว่ ยเพียงสองสามคนเกิดความตกใจกลัว แลว้ ว่งิ หนีไปยงั แนวหลงั โดยไมฟ่ งั เสียงใด ๆ การเคล่ือนไหวในทางผิดซึง่ เกิดข้ึนอย่างกะทนั หนั โดยไมม่ ใี ครอธิบายให้ทราบไดเ้ ป็นการชกั นาโดยเปดดเผย เพ่อื ก่อใหเ้ กดิ ความหายนะ เมือ่ ความตระหนกได้แพรส่ ะพดั ออกไปแตล่ ะคนจะเข้ามาร่วมกับฝงู ชนท่ีกาลัง ชลุ มนุ หนีเอาตวั รอด โดยไมม่ ีการหยดุ ถามไถก่ ันว่าว่งิ หนกี นั ทาไม เมือ่ ขาดวนิ ยั เชน่ นบี้ คุ คลเพียงกลุ่มน้อย จะตอ้ งหาทางช่วยเหลอื คนเอง คนอน่ื ๆ ทไี่ ม่สามารถทนอยู่ได้ เมื่อสถานการณ์บง่ ชวี้ ่าจะต้องหนีเอาตวั รอด เข้าไวก้ อ่ น ความหวาดกลัวท่ีเหน็ ได้ชัดในหนว่ ยทหารเกิดอาการต่ืนตระหนก เป็นหลักฐานอนั หนึ่งซึ่งแสดงวา่ จะต้องมอี ะไรทจี่ ะต้องนา่ กลวั และจาเปน็ ท่จี ะต้องหนเี อาตัวรอด ค. ความเคล่อื นไหวท่เี กิดข้นึ จากคาแนะนาแล้วแสดงออกด้วยการหนอี ันเปน็ สาเหตุของการหนี เตลดิ เปดด เปดง ในทันทกี ารเตลิดเปดดเปดงเชน่ วา่ นีเ้ ป็นการหนีอย่างไมม่ จี ดุ หมายแตเ่ ปน็ การบงั คับใหต้ ้องตรงไป ยังทศิ ทางใดทิศทางหน่งึ บางคนอาจจะเปน็ หนแรกทีออกว่งิ ก่อนเพื่อน จากการศกึ ษาถงึ อาการตืน่ ตระหนก ในทอ้ งถิ่นบางแหง่ ในระหวา่ งวิกฤตกิ ารณใ์ นเกาหลที าให้ทราบว่าการไม่แจง้ ข่าวสารตา่ ง ๆ ใหท้ หารทราบเปน็ จุดสาคัญอันหนึง่ ท่ีทาใหเ้ กดิ ความหวาดกลัว การไม่ทราบข่าวสารประกอบทงั้ มองเห็นผ้คู นวง่ิ แตกตื่น ก่อใหเ้ กดิ ความตน่ื ตระหนกผู้นาอาจชว่ ยไมใ่ หเ้ กดิ อาการตื่นตระหนกในหน่วยทหาร ดว้ ยการพยายามแจ้ง ขา่ วสารตา่ ง ๆ ให้ทราบอยลู่ ่วงหนา้ ตลอดเวลา ถ้ามองอีกแง่หนง่ึ เปน็ การช่วยใหท้ หารไดใ้ ช้ความริเริ่มของ ตนเองและหาหนทางปฏิบัติ เพ่อื ยุติความตน่ื ตระหนกนัน้ เสยี เพ่อื รกั ษาสถานการณเ์ อาไว้ แลว้ ดาเนินการ ปฏิบตั ิตอ่ ภารกจิ นัน้ ตอ่ ไปจนสาเร็จ ง. อารมณ์ แหง่ ความกลวั จะแสดงออกด้วยการหนจี นกระทง่ั ถงึ จุดหนง่ึ จงึ เริ่มลดลงเม่ือทราบเหตุผล ทหารท่ตี กอยูใ่ นภาวะตืน่ ตระหนก จะออกว่งิ โดยปราศจากความยงั้ คดิ ความหวาดกลัวจะเพิ่มมากข้นึ เมอ่ื เหน็ เพ่ือนฝูงกาลังอลหม่านและตนเองกต็ ง้ั สตไิ มไ่ ด้ เขาจะลืมทุกอย่างแมแ้ ต่เกยี รติและวนิ ยั อารมณ์แหง่ ความ กลวั ซึง่ ก่อให้เกิดความตนื่ ตระหนก อาจจะควบคุมได้ด้วยการสอนใหร้ ู้ว่า ความหวาดกลัว เป็นอารมณ์ทไ่ี ม่ ปกติและไม่นา่ ยินดี ซง่ึ ทหารส่วนมากจะมีความรู้สึกเชน่ น้เี มือ่ ถกู ขา้ ศกึ ยิง ผนู้ าควรจะสอนให้ทหารทราบว่าวธิ ี ทด่ี ที ่ีสุดในการควบคมุ ตนเองไม่ให้เกดิ ความหวาดกลัว คอื การไม่แสดงความกลวั ออกนอกหนา้ และใหเ้ ขา ทราบว่า ถ้าทุกคนอยูใ่ นภาวะตนื่ ตระหนกแลว้ จะทาการสรู้ บใหเ้ กดิ ผลดไี ม่ได้ ท้ังอาจทาใหต้ นเองเกดิ อนั ตรายจนถึงบาดเจ็บและลม้ ตายได้ จ. หนว่ ยทหารที่ทาการรบจะตกอยู่ในสถานการณ์ท่ีคุกคามต่อชีวิต และอันตรายขอรา่ งกาย ตลอดเวลา ในระหว่างที่เกดิ ความกดดันอยู่น้นั ทกุ คนจะต้องกระวนกระวาย และมีความหวาดกลัวอันนาไปสู่ ความต่นื ตระหนกในเวลาตอ่ มา หน่วยทหารทีม่ ปี ระสบการณโ์ ดยผ่านการฝึกมาเปน็ อย่างดี มกี ารจัดท่ีดี มี วินยั ดี และมกี ารนาหนว่ ยดี มกั ไมค่ อ่ ยเกิดความตื่นตระหนก เพราะมีความเชือ่ ม่ันในความสามารถของตนเอง ท่ีจะเผชิญกบั สถานการณ์ต่าง ๆ ได้ไมว่ ่าจะร้ายแรงเพียงใดอานาจที่จะต่อต้านกบั ความหวาดกลวั และความ ตน่ื ตระหนก เช่นวา่ น้ีจะเปล่ยี นแปลงขึ้นลงตามสภาวะทางจติ วิทยาและสรีรศาสตร์ของทหารแต่ละคน ระดับ ความสาเร็จทางยุทธวธิ ีและสภาพของสนามรบ ผู้นาจะต้องคอยวดั ผลและสร้างความเช่อื มน่ั ของ ผใู้ ตบ้ ังคับบญั ชาใหแ้ ข็งแกร่งอยูเ่ สมอ และอาจตอ้ งระลึกอยเู่ สมอวา่ ถึงแม้หน่วยจะได้รับการฝกึ เป็นอย่างดี 53
และมีประสบการณ์ดี กอ็ าจจะตกอยใู่ นภาวะตน่ื ตระหนกไดเ้ ชน่ กนั เพราะผลของขา่ วลือ หรอื เหตกุ ารณ์ทไี ม่ น่ายนิ ดี ซงึ่ เกิดขึน้ นอกเหนือการควบคุม ผู้นาจะต้องเฝ้าดูการคลีค่ ลายสถานการณ์ของทหารว่า อยู่ในขน้ั วิกฤตหิ รือไม่ เพ่อื หาทางขจัดหรอื ลดสภาวการณไ์ มใ่ ห้เกิดอาการตืน่ ตระหนก ฉ. ผ้บู ังคับบญั ชาควรรับรู้ หาทางทดแทน หรอื ลดสภาวะต่าง ๆ ท่ีทาใหเ้ กิดความไม่แน่นอนและ ความตนื่ ตระหนกได้ ดังตอ่ ไปนี้.- (1) สภาวะทางกายภาพ ได้แก่ การขาดแคลน อาวธุ , กระสนุ , มอี าวุธสนบั สนุนไม่ เพียงพอ , หมอกลงจัด , ความมืด , ป่า , การทดลองยิงปนื ครั้งแรก , และการท่ขี า้ ศึกนาเอาอาวุธใหม่ ๆ ออกใช้ (2) สภาวะทางสรรี ศาสตร์ ไดแ้ ก่ ความหวิ , กระหาย , อากาศรอ้ นจดั หรอื หนาวจัด จนเกินไป และความเหน็ดเหนอื่ ยเมื่อยล้า (3) สภาวะทางจิตวทิ ยา ได้แก่ อันตราย (ท่เี กิดข้ึนจรงิ หรือ จากความนกึ คิด) ความกระวนกระวาย , ความไม่ปลอดภยั , ความรู้เท่าไมถ่ ึงการณก์ บั สถานการณ์ทางทหาร, ความตึงเครียด ทางอารมณ์ , และการรอคอยดว้ ยความหวงั (4) สภาวะทางขวญั ได้แก่ ความคิดถึงบา้ น , การขาดการติดตอ่ จากทางบ้านโดยไม่ทราบ สาเหตุ , ความเบ่อื หน่าย , ข่าวลือ, มีท่าทีทีอ่ ยากจะยอมแพ้ และขาดความเชื่อถอื ในสิง่ ทเี่ ป็นตน้ เหตุ (5) สภาวะทางยุทธวธิ ี ได้แก่ หน่วยถกู ทาลาย , มกี ารสูญหายเป็นอยา่ งมาก , มีเคราะห์ ร้าย , คาส่ังขดั แย้งกนั และการตดิ ตอ่ สือ่ สารไมไ่ ดผ้ ล ความตน่ื ตระหนกมกั ไมค่ อ่ ยเกิดจากการกระทาของ ข้าศกึ อนั ตรายจากความตืน่ ตระหนกเกดิ ขึ้นในระหว่างร่นถอย ด้วยเหตุนี้ ขณะร่นถอยต้องมีการควบคมุ อย่างระวดั ระวงั ตลอดเวลา ขณะถอนตวั มาข้างหลังตอ้ งให้ทราบขา่ วสารทุกยา่ งทเี่ ปดดเผยได้ เพ่ือใหเ้ ขาทราบ เหตุผลวา่ ทาไมจงึ ตอ้ งถอนตัว , จะตอ้ งปฏิบัติอย่างไร และเมือ่ ใดจงึ จะเริม่ ตอ่ สูอ้ ีก (6) สภาวะทางการนาหน่วย ไดแ้ ก่ การขาดผู้นา , ไมม่ ผี ้นู าที่ดี , และขาดความเชื่อมน่ั ใน ความสามารถของผนู้ า ช. วิธกี ารต่อสู้กับความตืน่ ตระหนกที่ดที ส่ี ุด คือ การปอ้ งกนั ไมใ่ หต้ นื่ ตระหนกขน้ึ ด้วยการปลกู ฝังให้ มีการนาหน่วยที่มปี ระสิทธิภาพทง้ั ในระหว่างการฝึก และในขณะการรบ ซ. เมือ่ ความตน่ื ตระหนกเรมิ่ มีทา่ ทบี งั เกดิ ขน้ึ จะตอ้ งรบี ตกลงใจปฏิบัตกิ ารอย่างหน่ึงอยา่ งใดลงไป โดยเรว็ การรว่ มมือรว่ มใจกนั ปฏิบตั ิโดยมีผู้อาสาสมคั รเปน็ ผู้นาเพยี งสองสามคนเข้ามายนื ขวางทศิ ทางหนี แล้วบังคบั ให้ทกุ คนหนั หลังกลบั โดยไม่ตอ้ งรีรอ ซึ่งอาจตอ้ งใช้วธิ ีปฏบิ ัตอิ ย่างรนุ แรงกบั บคุ คลท่ีเข้ามาใกล้ จนถึงขั้นใช้อาวุธขูบ่ ังคบั ก็จะทาให้ช่วยรกั ษาสถานการณไ์ ว้ได้เช่นเดียวกนั ทหารทต่ี กอยูใ่ นสภาพตัวสั่นงนั งก จนเกอื บจะถงึ ข้ันตน่ื ตระหนก จะไม่มอี านาจใดมาเหนยี่ วรง้ั เขาไวไ้ ด้ไปยิ่งกว่าได้เห็นเพือ่ นทหารสกั คนอยู่ ขา้ งเคียง โดยเฉพาะถา้ เปน็ ผนู้ าของตนดว้ ยยิง่ ดี จะทาใหเ้ ขาสามารถควบคุมตนเองไว้ได้ และสามารถปฏบิ ัติ หนา้ ทตี่ อ่ ไปได้ดว้ ยดี ฌ. การควบคุมความตื่นตระหนกที่ไดผ้ ล ก็คอื การปรากฏตวั ของผู้บังคบั บัญชาด้วยทา่ ทีท่ไี ม่ สะทกสะทา้ น, มีความเช่ือม่ัน, องอาจกล้าหาญ และด้วยการปฏิบตั ิอันเฉียบขาดทัง้ ในหนา้ ทขี่ องตนและ หนา้ ทีข่ องผูน้ าชั้นรองลงไป ความตนื่ ตระหนกอาจขจดั ปัดเป่าใหห้ มดไปได้ด้วยการร้องขอใหท้ หารรู้จกั รกั ศกั ด์ศิ รีของตนเอง และมีความสานึกในหน้าท่ีของตน ถ้ายังเหน็ ว่าไมไ่ ดผ้ ล ตอ้ งถึงขน้ั ลงมือลงไม้กนั ก็อาจ ตอ้ งใชม้ าตรการรนุ แรง ซง่ึ คิดว่าไดผ้ ลในการควบคมุ ความต่ืนตระหนกนน้ั เขา้ ปฏิบัติแทน ซึ่งมขี ้อพิจารณา ดงั ตอ่ ไปนี้.- (1) การเหนยี่ วร้งั ดว้ ยกาลังกาย เพอื่ ไม่ให้หลบหนี (2) ใช้ปืนยงิ ขู่ ผ้ทู ี่กาลงั วิ่งหนี 54
(3) ยิงปนื ขา้ มศีรษะ ผู้ท่ีกาลงั ว่งิ หนี (4) ถา้ การกระทาต่าง ๆ ข้างตน้ ไม่เกดิ ผล ให้ยิงเข้าใสต่ ัวบุคคลทกี่ าลงั วิ่งหนแี ตก่ ารใชว้ ธิ นี ี้ ต้องกระทาเพอื่ การยับยัง้ เทา่ น้นั มิใชเ่ พอื่ ฆ่าให้ตาย 5. ความมีจิตใจในการรุกรบ ก. การกอ่ ให้เกิดความปรารถนาทจี่ ะเขา้ ประชิด และทาลายลา้ งข้าศกึ ให้หมดส้นิ ไปเปน็ ความสาคัญ อยา่ งยง่ิ ยวด ในการเสรมิ สรา้ งความห้าวหาญใหเ้ กิดขนึ้ ในหน่วยทหารโดยทั่ว ๆ ไปอาจกระทาไดโ้ ดยมกี ารฝึก ท่ถี ูกวธิ ี ดว้ ยการปลูกฝังความเชื่อม่ันใหเ้ กิดข้นึ ในตวั บุคคลและในหนว่ ยและกระทาตลอดไปจนประสบ ผลสาเร็จในการรบ การปฏิบตั กิ ารอย่างหา้ วหาญเพื่อเขา้ ยดึ ทหี่ มายใหไ้ ด้ โดยสญู เสยี กาลงั แต่เพียงเล็กนอ้ ย เป็นสงิ่ จาเปน็ ท่ีจะต้องกระทาเป็นอยา่ งย่งิ ปัญหาในการดารงและรกั ษาไว้ซงึ่ ความห้าวหาญนี้ จะตอ้ งเข็มงวด กวดขนั กันตงั้ แต่ในเวลาปกติ ข. การยึดท่ีหมายให้คงอยตู่ ลอดไป บางครง้ั ขึ้นอยู่กับการกั ษาประสิทธิภาพของหนว่ ยซ่งึ ออ่ นกาลงั ลงเพราะการกระทาของข้าศึก โฉมหนา้ ของสงครามสมัยใหม่ซง่ึ มีการเปลยี่ นแปลงอยา่ งรวดเร็ว มีความ จาเป็นจะต้องปรบั ปรุงเปลยี่ นแปลงทั้งตัวบคุ คลและยทุ โธปกรณท์ ี่เส่อื มประสทิ ธภิ าพอย่างรบี ด่วน การ กระทาเช่นนี้จะทาใหก้ ารเคลอื่ นย้ายเป็นไปอย่างไดผ้ ล, มีทต่ี ั้งกองหนนุ และส่วนสนับสนุนอย่างถกู ตอ้ ง และมี การแบ่งมอบภารกจิ ใหห้ นว่ ยปฏิบตั ติ ามขีดความสามารถของหนว่ ย ในการรกั ษาประสิทธิภาพในการรบของ หน่วย ผนู้ าควรจะ.- (1) แน่ใจวา่ มีการปฏบิ ัติงานตามสายการบงั คับบัญชา (2) รักษาแรงผลกั ดันเอาไว้ และใช้อานาจการยงิ อย่างเต็มที่ (3) ปลูกฝังลักษณะอนั หา้ วหาญใหเ้ กิดข้ึนกบั ผใู้ ต้บงั ตบั บัญชา และมกี าลังใจท่ีจะตอ่ สู้ข้าศกึ (4) ใชอ้ านาจการยิงสนับสนุนท่ไี ดผ้ ลเพ่ิมเตมิ ใหก้ ับอานาจการยงิ ทม่ี ีอยู่ตามอตั รา (5) สอนให้หนว่ ยรจู้ ักอาศัยการยิงสนบั สนนุ เมือ่ ข้าศกึ เข้าตี (6) สอนให้ทหารรจู้ ักรอ้ งขอความช่วยเหลือ และสนบั สนนุ ซง่ึ กนั และกนั ขณะเคลือ่ นท่ี (7) หม่ันฝกึ ฝนเพือ่ ปรบั ปรงุ ความรูค้ วามสามารถ เกี่ยวกบั การใชอ้ าวุธและดาเนนิ กลยทุ ธ์ ให้ดแี ละทนั ตอ่ เหตกุ ารณ์อย่เู สมอ (8) เขม้ งวดกวดขนั วินัยในสนามรบและความรบั ผิดชอบของแต่ละคน (9) ทาตนเปน็ แบบอย่างที่ดี เพอื่ ให้ทหารยดึ ถือเป็นเยีย่ งอย่าง 6. การฟน้ื ฟปู ระสิทธิภาพในการสู้รบ ก. ประสิทธภิ าพในการส้รู บของหน่วย จะลดลงหลงั จากทไ่ี ด้ปฏบิ ัตงิ านต่อเน่อื งกนั มาเพราะการ สูญเสียอย่างหนัก หรอื ในระหวา่ งทม่ี สี ถานการณ์ตั้งรับอยา่ งยืดเย้อื และมเี วลาวา่ งมากหนว่ ยที่มีการสญู เสยี กาลงั พลและยุทโธปกรณอ์ ยา่ งหนกั จาเปน็ อย่างย่งิ ที่จะต้องกลับไปทาหน้าทเ่ี ปน็ กองหนนุ เพ่ือรับกาลัง ทดแทนและปรบั กาลงั ใหม่ ข. วธิ ีท่ีได้ผลทสี่ ุดในการฟนื ฟูความเชอื่ มนั่ และความรกั หมู่คณะของหน่วยซึง่ พา่ ยแพห้ รือปฏบิ ตั ิงาน ไมไ่ ดผ้ ลในการรบ ก็คือให้โอกาสปฏบิ ัตงิ านทใ่ี กลเ้ คยี งกันหรอื เหมือนกนั ทาอกี ครั้งหนง่ึ อาจตอ้ งเพิม่ การฝึกให้ หนกั ขึน้ อกี มีการเปลี่ยนตวั ผูบ้ ังคับหน่วยเพ่อื ความเหมาะสมและคอ่ ย ๆ เพิม่ ภารกจิ ใหห้ นักและลาบากขึ้นที ละน้อยอย่างต่อเนื่อง ค. การปฏบิ ัติต่อไปน้ีจะชว่ ยในการเสริมสร้างความเช่ือถือ ความรกั หม่รู ักคณะ และชว่ ยดารง ประสทิ ธภิ าพในการรบของหน่วยได้ คอื .- 55
(1) ต้องทราบสถานภาพกาลังพล, อาวธุ , ยทุ โธปกรณ์และการฝกึ เพอ่ื ใหก้ ารทดแทนกาลัง พล และยุทโธปกรณเ์ ป็นไปอย่างรวดเร็ว และการจัดทหารใหม่เข้าแทรกตามหน่วยตา่ ง ๆ เปน็ ไปอยา่ ง เหมาะสมถกู ตอ้ ง (2) ถ้าสังเกตการณ์ปฏิบตั ิของหน่วยด้วยตนเอง เพ่อื ให้การประเมนิ ค่าขีดความสามารถ ของหนว่ ยเปน็ ไปอย่างถูกต้อง ถ้าสถานการณบ์ งั คับอาจต้องให้หนว่ ยทาการฝกึ เพิม่ เติม เพ่ือให้เกดิ ความ ชานาญยิ่งข้ึน (3) ปรับปรุงเทคนิคในการรบให้เขม็ งวดข้ึน และแจกจา่ ยวิธกี ารท่ีไดพ้ ิสูจนว์ ่าดแี ลว้ ให้ หนว่ ยตา่ ง ๆ ทราบ (4) เฝ้าสงั เกตสถานะ ทางกาย ทางใจ และทางอารมณ์ของทหารในหน่วยอย่างใกล้ชิด ด้วยการกระจ่ายขา่ วสารเกี่ยวกับความสญู เสียของฝา่ ยข้าศกึ , จานวนเชลยศกึ ท่ีจบั ได้ และจานวนยทุ โธปกรณ์ ของข้าศกึ ที่ถูกทาลายใหท้ หารทราบอยู่เสมอ (5) ปรบั ปรุงพลานามยั และสวัสดกิ ารของหนว่ ย โดยเนน้ หนกั ในเร่ืองวนิ ยั ในสนามเพอ่ื ลดความสญู เสียทีไ่ มจ่ าเป็นจากเหตตุ า่ ง ๆ ตลอดจนโรคภยั ไขเ้ จบ็ , การสุขาภิบาลในสนามท่ีไม่ดีพอและการ ปอ้ งกันการยงิ จากข้าศกึ (6) แนใ่ จว่า สายการบังคับบญั ชาไม่ขาดตอน ด้วยการทดแทนกาลังพลให้ทันทีเม่อื มกี าร สูญหายเกดิ ขนึ้ (7) อธิบายสถานการณ์ต่าง ๆ ให้ทหารเข้าใจ โดยชใี้ ห้เหน็ วา่ การนงิ่ เฉยหรือการตั้งรบั เปน็ ฉากเรมิ่ ต้นของการรบดว้ ยวธิ รี กุ (8) ใหร้ างวลั และคาชมเชยในความหา้ วหาญท้ังเปน็ บุคคลและเป็นหน่วย โดยแสดงใหเ้ หน็ ความเชอ่ื มน่ั ในความสามารถในการรบของหน่วย (9) จัดให้มแี ผนการยงิ สนบั สนุนและใหน้ าไปใชอ้ ย่างถกู ตอ้ ง 7. การสนบั สนนุ หน่วยที่ขาดลอย ก. ในบางครง้ั การปฏิบตั ิของข้าศกึ ในสนามรบอาจทาให้หน่วยตอ้ งแยกขาดออกจากกันอัน เน่อื งมาจากขาดการติดต่อสอ่ื สาร จนหน่วยตอ้ งพลดั พรากกระจัดกระจายกนั อยู่ ทาให้ผบู้ ังคับบัญชาหนว่ ย รองต้องปฏบิ ตั กิ ารอย่างอิสระ หน่วยขนาดเล็กจงึ มีความจาเปน็ ต้องมีการฝึกเตรยี มรบั สถานการณเ์ ช่นว่าน้ี โดยออกคาสง่ั ให้หน่วยปฏบิ ัติหนา้ ที่แบบมอบภารกจิ ใหใ้ นกรณที ีไ่ ด้รับมอบอานาจใหป้ ฏิบัตหิ น้าท่ีแบบแยก การ ในสถานการณเ์ ชน่ นี้ หนว่ ยตอ้ งมผี บู้ ังคับบัญชาทีพ่ อใจจะปฏิบัติหน้าท่ีอยา่ งน้ี และมีความมั่นใจใน ความสามารถของผบู้ งั คับบัญชาในการแกป้ ัญหาต่าง ๆ ใหห้ ลุดพน้ ไปได้ ท้งั น้ี เพ่อื นาช่อื เสยี งมาให้แก่หนว่ ย และเพอ่ื ปอ้ งกนั มใิ ห้ความเช่ือมัน่ , ความห้าวหาญเส่ือมคลายลงไป ผูบ้ งั คับบญั ชาชน้ั เหนอื จาเปน็ จะตอ้ ง หาทางสนบั สนุนหน่วยท่ถี ูกตดั ขาดโดยทกุ วิถีทาง ข. ข้ันตอนในการปฏบิ ัติ มีดังน้ี .- (1) อยา่ ใหห้ น่วยตอ้ งคดิ วา่ ถกู ทอดทิ้ง (2) จัดให้มีการยิงสนับสนุนในทนั ทีท่ีทาได้ (3) พยายามหาทางช่วยหน่วยทข่ี าดลอยโดยตรง (4) ถา้ สายการบงั คับบญั ชาขาดตอน ตอ้ งรีบจดั ทาข้ึนใหม่เท่าทีจ่ าเปน็ (5) แจ้งให้หนว่ ยทหารทราบถึงการปฏิบัตติ ่าง ๆ ท่ีกาลังช่วยเหลือ 56
ค. ผู้บังคบั หน่วยท่ขี าดลอย จะช่วยรกั ษาประสิทธิภาพในการสู้รบของหน่วยใหค้ งไว้และช่วยลด ความรสู้ ึกท่ีตอ้ งถกู ตดั ขาด ไวใ้ หไ้ ด้ดว้ ยการลงมอื ปฏบิ ัติด้วยตวั เองและท่าทีต่าง ๆ ท่ีตนแสดงออก การปฏิบตั ิ ดังจะกลา่ วตอ่ ไปน้ี เป็นสง่ิ ที่ควรจะนามาพจิ ารณาใช้ คอื .- (1) ถา้ การตดิ ตอ่ ส่อื สารถูกตัดขาด ให้พยายามทุกวถิ ที างทีจ่ ะติดต่อกับหน่วยต้นสังกัดให้ ได้ ทหารจะเกดิ ความเชอ่ื ม่ันมากขึ้น ถ้าทราบว่า การตดิ ตอ่ ส่อื สารทข่ี าดตอนไปนน้ั ไดร้ ับการสถาปนาให้มขี ้ึน ดังเดมิ เขาจะเกิดความรูส้ กึ ว่าจะตอ้ งได้รับสิง่ อุปกรณ,์ การสนบั สนุนการยิง, การโจมตีทางอากาศกจ็ ะได้รับ ตามท่ีคาขอ เพื่อช่วยให้เขาหลุดพน้ จากการขาดลอยน้นั (2) ไปเยย่ี มหนว่ ยรองด้วยตนเอง เพื่อแสดงความแนใ่ จว่า ทหารยังมคี วามสามารถและมี ความเช่ือม่นั ทจ่ี ะปฏิบตั ิภารกิจใหส้ าเร็จได้ (3) ออกคาสง่ั แนะนาด้วยข้อความท่ีให้เกิดกาลงั ใจ เพ่อื แจง้ ให้หนว่ ยทราบวา่ อาจต้องช่วย ตัวเองไปชัว่ ระยะหนึ่งกอ่ น (4) ชแ้ี จงใหห้ น่วยทราบว่า การรักษาวินยั จะต้องปฏิบตั ิอยา่ งเขม้ งวดตลอดเวลาและให้ หนว่ ยทเี่ ป็นกองหนนุ ซักซอ้ มแผนการตโี ตต้ อบ (5) ให้ความสนใจเป็นพิเศษ ในการสงวนกาลังพล, อาหารและกระสนุ (6) อยา่ ให้ทหารนงั่ อยู่เฉย ๆ และวิตกกังวลอยู่กับชะตากรรมของตนเอง หางานท่ีเป็น ประโยชน์ใหท้ หารทา อยา่ ใหอ้ ยูว่ า่ ง ๆ การปฏบิ ัตเิ ช่นนี้จะชว่ ยใหเ้ กิดความฮึกเหมิ , การประสิทธภิ าพในการ รบ, ตอ่ สภาวะทางจติ , ทางอารมณ์ และกาลังรา่ งกายของทหารจะเข้มแข็งข้นึ อกี ถา้ เป็นหน่วยทไ่ี ดร้ ับการฝกึ มาเป็นอยา่ งดี ถงึ แม้จะถกู ตดั ขาดก็จะไมม่ ปี ญั หาในเร่อื งเสยี ขวญั หรอื ความรักพวกพ้อง กลับจะมีเพ่มิ มากข้ึน เสียอีกในบางโอกาสหนว่ ยจะต้องเตรยี มเผชิญสถานการณท์ ถ่ี กู ตัดขาด และจะต้องได้รบั การฝกึ ใหม้ ีการต่อสู้ อย่างอสิ ระในสภาวการณ์แวดลอ้ มเช่นนี้ (7) ต้องแนใ่ จว่า มกี ารปรับกาลงั ใหม่และจัดให้มีสายการบงั คับบญั ชาไวค้ งเดิม (8) ต้องแนใ่ จวา่ แผนการยงิ กระทาไวอ้ ย่างถกู ตอ้ ง 8. ลักษณะผนู้ าในหนว่ ยข้ึนสมทบและหนว่ ยทหารพันธมติ ร ก. ปัญหาสาคญั เก่ยี วกับลกั ษณะผู้นา ซงึ่ ผบู้ งั คับบญั ชาหนว่ ยขนาดใหญ่ตอ้ งเผชิญอย่เู สมอ ได้แก่ การปฏิบัติอยา่ งไรจึงจะเหมาะสมกบั หน่วยทมี่ าขึ้นสมทบ ผู้บงั คบั บญั ชา จะเกิดความหนกั ใจในการนาหน่วย ท่มี าสมทบไปสนธิกาลังเขา้ กับหน่วยที่กาลงั ปฏบิ ัติหนา้ ท่อี ยู่ และในการที่จะใหเ้ ขาเกิดความรู้สึกในการเข้ามา เปน็ พวกเดียวกัน อาจต้องนาเอาเทคนคิ ของการเปน็ ผู้นาทมี่ ลี ักษณะการพิเศษมาใช้เพมิ่ เตมิ จากเทคนิคทว่ั ๆ ไปตามท่กี ล่าวมาแลว้ ในการสนธกิ าลังหน่วยท่ีมาขึ้นสมทบใหม่เขา้ ไวเ้ ปน็ หน่วยในบังคับบัญชา ผบู้ งั คับบัญชา ควรจะ .- (1) จัดตง้ั เจา้ หน้าทีต่ ิดตอ่ ไวก้ บั หนว่ ยทม่ี าสมทบ (2) จัดให้มาตรการติดต่อส่ือสารทางสายและวทิ ยุ ให้กบั หน่วยท่ีมาขึ้นสมทบแต่เนนิ่ ๆ (3) ส่งระเบยี บปฏิบัติประจาที่ใช้อยูใ่ นปัจจุบัน และนโยบายในการบรหิ ารงานให้ ผบู้ ังคับบัญชาและฝา่ ยอานวยการของหน่วยทม่ี าสมทบใหม่โดยทันที (4) จัดใหม้ พี ธิ ีการตอนรับเทา่ ที่จาเป็นแกห่ นว่ ยท่ีมาข้นึ สมทบใหม่ (5) แนใ่ จวา่ ความรับผดิ ชอบในทางธรุ การและสง่ กาลงั ใหแ้ ก่หนว่ ยท่ีมาข้นึ สมทบใหม่มกี าร ปฏิบตั อิ ยา่ งถกู ตอ้ งโดยไม่มีขอ้ สงสัย (6) ให้หนว่ ยทม่ี าขน้ึ สมทบใหมเ่ สนอรายงานขน้ึ มายงั กองบังคับการของตนเทา่ ที่จาเปน็ (7) ให้ฝา่ ยอานวยการของตนปฏิบตั ิงานตามสายการบังคบั บัญชา ในเรื่องท่เี กย่ี วกับหนว่ ย ขน้ึ สมทบ 57
(8) ไปเยีย่ มหนว่ ยขึน้ สมทบ ถึงแมว้ า่ หนว่ ยท่ขี ้นึ สมทบจะถกู มอบไปให้หน่วยรองแล้วก็ตาม (9) จัดให้ฝา่ ยอานวยการของตน หาโอกาสไปเย่ียมหนว่ ยทมี่ าขึ้นสมทบใหมเ่ พอื่ ให้ทราบแน่ วา่ หนว่ ยตอ้ งการความช่วยเหลืออะไรบ้าง (10) ทาความคนุ้ เคยกบั พน้ื ฐานของหน่วยท่มี าขึ้นสมทบทุกหน่วย (11) ยนื ยนั ใหท้ ราบว่า ไม่วา่ จะเปน็ หน่วยรอง หรอื หนว่ ยข้นึ สมทบ จะต้องได้รบั การเสนอ ขอรางวลั , ความดีความชอบ, เหรยี ญตรา, หนังสือชมเชย หรอื คาชมเชยพเิ ศษอืน่ ๆ อย่างเท่าเทยี มกนั (12) กระตุน้ ให้ผบู้ ังคบั หน่วยขน้ึ สมทบ ใหน้ าปญั หา หรือข้อเสนอแนะต่าง ๆ มาแจ้งให้ตน ได้รบั ทราบอยู่เสมอ (13) ตรวจสอบแผนของผ้บู งั คับหนว่ ยรอง เพ่ือดูวา่ หนว่ ยขึ้นสมทบและหน่วยในอตั รา ไดร้ บั มอบภารกิจใหป้ ฏบิ ัติเช่นเดียวกันหรอื ไม่ (14) ตรวจดูวา่ หนว่ ยท่ีมาข้นึ สมทบไดร้ บั สิทธิ์ และการให้สวสั ดกิ ารในด้านตา่ ง ๆ ตาม สดั สว่ นของตนหรือไม่ โดยใหห้ น่วยเกดิ ความรสู้ ึกว่าตนมีส่วนรว่ มในกิจการทกุ อย่าง ๆ เต็มที่ ข. สหรัฐมีสมั พนั ธมิตรกบั ชาติต่าง ๆ หลายชาตใิ นโลก ผ้บู ังคบั บัญชาช้ันเหนืออาจมโี อกาสได้รับ หน่วยทหารพนั ธมติ รไปข้นึ สมทบอยู่เสมอ การปฏิบตั ิต่าง ๆ ที่ใชก้ บั หน่วยขึ้นสมทบตามท่ีกลา่ วมาแล้ว อาจ นามาใช้ไดก้ บั หนว่ ยทหารพนั ธมติ ร โดยมมี าตรการเพมิ่ เติมดังนี้.- (1) จะตอ้ งจัดให้มีสว่ นตามความจาเปน็ เพื่อชว่ ยเหลือหน่วยขน้ึ สมทบ เกีย่ วกับปัญหาท่ี กองทพั ของเขาไมเ่ คยประสบ (2) รับรใู้ นขีดความสามารถของหน่วยทหารพันธมิตร และยนิ ดที ีไ่ ดม้ โี อกาสปฏิบัตงิ าน รว่ มกัน (3) แสดงให้เห็นความจริงใจ และความสนใจอย่างจริงจังต่อประวัตศิ าสตร์ขนบธรรมเนียม และประเพณี ของชาตนิ น้ั ๆ แล้วเสนอขา่ วสารน้ีให้หนว่ ยตนทราบ (4) ถา้ มีการอนุมตั ิเป็นกรณีพเิ ศษ อนญุ าตให้หน่วยเหล่านป้ี ระดบั ตราหรอื เครื่องหมายของ หน่วยทีจ่ ะต้องมาข้นึ สมทบได้ เพ่อื กอ่ ให้เกดิ ความรู้สกึ วา่ เป็นพวกเดยี วกนั (5) มอบภารกิจให้ปฏิบัติ ตามที่เหน็ ว่า มีการจัด, มยี ุทโธปกรณ,์ การฝึกและขดี ความสามารถเหมาะสมกบั เรื่องน้ัน ๆ ตามปกติหมายถงึ การมอบภารกจิ ทานองเดียวกบั ทม่ี อบหมายใหก้ ับ หน่วยทหารสหรัฐ 9. ลกั ษณะผ้นู าในหนว่ ยทหารสหรัฐซึง่ ปฏบิ ตั ิหน้าที่ตอ่ ต้านและปราบปรามการกอ่ ความไม่สงบ ก. มีปัญหาเกย่ี วกับการนาหนว่ ยหลายอยา่ ง ท่ีผู้บังคบั หนว่ ยทหารของสหรฐั ซง่ึ ปฏิบัติหนา้ ทีใ่ นการ ต่อตา้ นและปราบปรามการก่อความไม่สงบ จะตอ้ งเผชิญอยู่เสมอเช่นเดยี วกบั สงครามท่วั ไป หรอื ในการฝึกใน สนามภายใต้สถานการณ์ทีย่ ากลาบาก แตก่ ย็ งั มปี ญั หาแปลก ๆ ใหม่ ๆ เกิดขึ้นอยู่เสมอในสถานการณ์ เก่ียวกับการต่อต้านและปราบปรามการก่อความไม่สงบผ้นู าหน่วยขนาดเลก็ หรอื หนว่ ยอสิ ระ จะประสบ ปัญหาหลายอย่าง ซ่งึ ตามปกติปญั หาเหล่านีจ้ ะเกิดขนึ้ กบั หนว่ ยระดับสงู ข้ึนไปในสงครามท่วั ไป ผูบ้ ังคบั หมวด จะต้องรู้จกั แกป้ ญั หาทางเศรษฐกิจของทอ้ งถิน่ , ปัญหาทางการเมือง และทางสงั คม เมอ่ื ต้องปฏบิ ตั งิ านในหมู่ ประชาชนของท้องถิ่นนนั้ ผู้นาหน่วยขนาดเล็ก จะต้องเตรียมรับมอื กับการยุทธ์ผสมเหล่ารว่ มกันหน่วยทหาร ท่ีส่งมาเพม่ิ เติม ซ่ึงตามปกติจะมกี ารปฏบิ ัติในหน่วยระดับกองพลขึ้นไป อกี ประการหนงึ่ ผู้นาหนว่ ยขนาดเล็ก จะตอ้ งมน่ั ใจว่า ตนไดเ้ ตรยี มการตดั สนิ ใจดว้ ยตนเอง โดยไมต่ อ้ งอาศยั อานาจจากหนว่ ยเหนือ ทั้งน้ี เพ่อื ป้องกนั มิใหท้ หารขวญั เสยี เพราะว่า ไม่มที ่ีหมายในภูมปิ ระเทศที่แน่นอน การปฏบิ ตั ิการรบมีขอบเขต กวา้ งขวาง และผลทป่ี รากฏออกมาไมส่ ามารถมองเหน็ ได้ 58
ข. ในการเตรยี มตวั ของหนว่ ยและทหารแต่ละคน เพือ่ เขา้ ไปปฏบิ ัตกิ ารตอ่ ตา้ นและปราบปรามผูก้ อ่ ความไม่สงบ ผูบ้ ังคบั บญั ชาควรจะ .- (1) ต้องมนั่ ใจว่า ทหารไดร้ ับการอบรมช้ีแจงเกย่ี วกับภารกิจโดยตลอดแลว้ ว่าแต่ละคน จะตอ้ งทาอะไรบา้ ง ผู้บังคบั บญั ชาจะตอ้ งจดั หาข่าวสารท่ีถกู ตอ้ งตามความเป็นจริงและจดั ให้มีการปฐมนเิ ทศ เพื่อให้ทหารไดร้ ้จู กั กบั พืน้ ท่ี ๆ จะไปปฏบิ ัตกิ าร ถ้ามีเวลาควรจะมกี ารจัดสอนภาษาท้องถนิ่ ท่ีจาเปน็ น้นั ให้ ทหารทราบด้วย (2) ต้องม่นั ใจว่า มีตารางกาหนดการฝึกในเรื่องต่าง ๆ อย่างเพยี งพอ รวมทั้งการปฏิบัติการ แบบตารวจดว้ ย (3) ต้องมนั่ ใจวา่ ทหารมีรา่ งกายแขง็ แรง, มสี ุขภาพดี มีจติ ใจปกติ (4) ให้ทหารไดท้ ราบข่าวสาร และชี้แจงให้ทราบว่า ทาไมจึงตอ้ งออกไปสู้รบ ในขณะที่ผทู้ ี่ อย่ทู างบา้ นมแี ต่ความสงบสขุ กบั ให้ต่ืนตวั ต่อปฏิบตั ิการทางจิตวิทยาของผ้กู ่อการรา้ ยและเตรยี มต่อต้าน เอาไว้ (5) ไปเยยี่ มและประสานการฝกึ , การยุทธ์และกรณีกิจอ่นื ๆ ร่วมกับผู้บังคบั หน่วยทม่ี ารว่ ม ดว้ ย (6) จัดใหม้ กี ิจกรรมเกี่ยวกับสวัสดกิ ารอย่างเพยี งพอ ตลอดจนการแขง่ ขันกีฬาเพ่ือเช่อื ม ความสามัคคีร่วมกบั หน่วยงานท่มี าร่วมงาน (7) อบรมให้ทหารประพฤติ ปฏิบัตติ นให้มีความสุภาพเรียบรอ้ ยในฐานะที่ตนเปน็ แขกจาก ต่างประเทศ ตัวอยา่ งที่ 1. ร.ต.บญั ชา ซง่ึ เป็นนายทหารท่ีได้รับการแตง่ ต้ังยศใหม่ ไดร้ บั การบรรจุใหเ้ ข้ารับมาอยใู่ น กองรอ้ ย 2. หลังจากทผ่ี บู้ ังคบั บัญชากองร้อย ไดก้ ลา่ วตอ้ นรบั และช้ีแจงใหท้ ราบถึงสภาพของหน่วยเบื้องต้นแลว้ ก็ ไดบ้ รรจุให้เข้าไปทาหนา้ ที่ผู้บังคับหมวดที่ 2 ทหารในหมวดได้แสดงทา่ ทีตา่ ง ๆทไ่ี มเ่ ปน็ มิตรต่อเขา ทาให้ คาดการณ์ล่วงหนา้ ได้วา่ คงจะหาโอกาสทาความรู้จกั กับทหารเหลา่ น้ีด้วยความลาบากใจยงิ่ ถึงแม้ทหารจะ เชือ่ ฟงั คาสง่ั ของเขาแต่คงปฏิบัติตามคาสั่งอยา่ งอิดเอ้ือนและอยา่ งไมค่ ่อยเต็มใจเทา่ ใดนัก เขาตั้งใจที่จะเขา้ ใกลช้ ิดทหารให้มากที่สุดเพอ่ื ดูการปฏบิ ัตงิ าน โดยปรกึ ษากับผบู้ งั คบั กองร้อยและตรวจสอบจากบันทกึ ประวัติต่าง ๆ ในท่ีสุดกพ็ บวา่ รองผู้บงั คบั หมวดเป็นจ่าท่ีสูงอายซุ ง่ึ ผา่ นการรบมาหลายครั้งหลายคราวใน ตาแหน่งรองผู้บังคับหมวด มีอายรุ าชการถึง 15 ปี จ่าผู้สูงอายุคนนี้ ได้ปฏิบตั ิหนา้ ที่แทนในตาแหนง่ ผบู้ งั คบั หมวดน้ีเป็นเวลา8 เดอื น ก่อนทผี่ บู้ ังคบั หมวดคนใหม่จะได้รับการบรรจุ ต่อมาไมน่ านกเ็ ป็นทปี่ ระจักษ์แจง้ แก่ ร.ต.บญั ชา วา่ รองผู้บงั คบั หมวดผนู้ เ้ี กดิ ความรู้สกึ วา่ ตนเอง ยงั มีอานาจบังคับบญั ชาอยู่ การทที่ างการบรรจุผู้บังคับหมวดใหมม่ าก็เพยี งเพื่อใหม้ าฝึกงานเทา่ นนั้ ยง่ิ กว่านั้น จ่าผูน้ ้ียงั มคี วามรู้สึกฝงั ใจว่า ร.ต.บัญชา มาอยเู่ พอ่ื ปรบั ปรุงงานภายในหมวดใหมห่ มด น่ีเป็น สาเหตุหนง่ึ ท่ที าให้เกดิ ความรู้สึกข่นุ เคอื งใจ เม่ือมาอยู่ครบ 2 สัปดาหแ์ ลว้ ร.ต.บญั ชา ได้เรยี กแถวประชุมช้ีแจง และกลา่ วยกย่องถึงการ ปฏิบตั งิ านของหมวดในระยะเวลาทเ่ี ขามารับหนา้ ท่ี โดยไดก้ ล่าวว่าจากการพูดคุยกับบุคคลอน่ื ๆ ในกองร้อย รวมทัง้ ผูบ้ ังคับกองรอ้ ย ไม่เหน็ มีใครตาหนิติเตยี นการทางานของหมวดนอกจากมแี ตค่ ายกย่องสรรเสรญิ เท่าน้นั ขอให้ทุกคนปฏบิ ตั ิหนา้ ทดี่ ว้ ยดตี ่อไป และย้าให้เหน็ ความสาคัญของการปฏิบตั ิงานเปน็ ชด เพ่ือให้ หน่วยมปี ระสทิ ธิภาพดยี ิง่ ขนึ้ อกี 59
สัปดาห์ตอ่ มากองพันต้องเขา้ รับการตรวจสอบการฝกึ กองร้อย 2 ตอ้ งทาหนา้ ทีเ่ ปน็ กองหนนุ หมวดของ ร.ต.บญั ชา ไดร้ บั มอบภารกจิ ให้จัดตั้งกองรักษาดา่ นรบ ผูบ้ งั คับหมวดเริม่ ปฏบิ ัตหิ นา้ ทตี่ ามคาส่ัง ดว้ ยการออกลาดตระเวน และออกคาสั่งแก่ผบู้ งั คับหมอู่ ย่างกะทันหัน และชดั เจน นอกจากน้นั ยังไดม้ อบ ภารกิจโดยเฉพาะให้ รองผู้บงั คบั หมวดปฏบิ ัติหลายอย่าง เช่น ให้ทาหนา้ ทีค่ วบคมุ ส่วนกาบังขนาดเลก็ ซง่ึ ตอ่ มาภายหลังทราบวา่ เปน็ กาลงั สาคญั ที่ช่วยใหก้ ารถอนตัวของกองรกั ษาด่านรบเป็นไปอย่างได้ผล จากการ วิจารณห์ ลงั จากการตรวจสอบเสรจ็ สิ้นลง ปรากฏว่า ร.ต.บญั ชา และหมวดท่ี 2 ไดร้ บั คะแนนดเี ย่ียมในการ ปฏิบัติภารกิจทไ่ี ดร้ บั มอบ ไดร้ บั ผลสาเรจ็ เปน็ อย่างดี โอกาสแรกท่ี ร.ต.บัญชา ได้ประชมุ ช้ีแจงทหารในหมวด เขาไดก้ ล่าวยกย่องถึงการปฏิบัตหิ น้าท่ี ของสว่ นกาลงั ขนาดเลก็ ภายใต้การนาของ รองผบู้ งั คับหมวด และการที่สมาชกิ ภายในหมวด มีความสามคั คี รกั หมคู่ ณะ และจะตอ้ งรักษาความดีนี้ไว้อย่างต่อเนือ่ งเพือ่ ให้เปน็ หมวดท่ดี ีที่สดุ ของกองร้อยตอ่ ไป วเิ คราะหก์ ารปฏบิ ัติ ร.ต.บญั ชา ไดน้ ากรรมวธิ ใี นการแก้ปัญหามาใชอ้ ยา่ งได้ผลดที ่ีสดุ เขารับรูป้ ญั หา พจิ ารณาหาสาเหตุ พจิ ารณาประเมินหนทางแกไ้ ขทีน่ า่ เป็นไปไดท้ ุกทางและเลอื กหนทางปฏบิ ตั ิทดี่ ีที่สุด เพอ่ื ขจัดปญั หาเหล่าน้นั เขาแสดงออกซ่ึง “ความรจู้ ักกาลเทศะ” และใช้ “ความพนิ จิ พิเคราะห์” ทถี่ ูกต้อง เขาแสดงให้เหน็ ถึง “เป็นผมู้ ีความสามารถทั้งทางเทคนิคและทางยทุ ธวธิ ี”ในการฝกึ ราชการสนามซึง่ ทาใหท้ หารเพิ่มความเชื่อมัน่ ให้แกเ่ ขาในฐานะ ผู้นาหน่วยทม่ี คี วามสามารถ การปฏิบัตขิ องเขาทุกอย่าง แสดงออกซงึ่ คณุ ลกั ษณะในการ เปน็ ผ้นู า ในหัวขอ้ มี “ความรอบรู้” และใช้หลกั ของการเปน็ ผู้นาเร่ือง “ตัดสินใจไมผ่ ิดพลาด และถูกกาล” “และใหผ้ บู้ งั คับบญั ชารใู้ นส่งิ ทคี่ วรรู้” และ “ปลูกฝังความรับผิดชอบให้เกิดแก่ผู้ใต้บงั คบั บัญชา” ด้วยการ มอบภารกจิ เฉพาะให้ปฏบิ ัติ ตัวอย่างที่ 2 ร.ท. กลยุทธ ไดโ้ ยกย้ายจากตาแหนง่ ประจาแผนก สธ. 1 ของ กองพลมาทาหนา้ ที่นายทหาร ธรุ การและเป็นหัวหน้าแผนกธุรการของหน่วยงานแห่งหนึ่งของกอหงพลดว้ ย ขณะทีม่ ารายงานตัวเพอ่ื ปฏบิ ัติ หน้าท่ีตามตาแหน่งใหม่ เขาได้พบว่านายสิบธรุ การ ได้ปฏบิ ัติงานพร้อมกนั 2 ตาแหนง่ คือ เปน็ ทั้ง ผู้บังคบั บญั ชา และหวั หน้าเสมียน กรณเี ชน่ น้ี จะมขี นึ้ เป็นคร้งั คราว แตเ่ หน็ ไดช้ ัดว่าการจัดของแผนกยงั ไม่ ดีพอ วธิ ีปฏบิ ัติงานยังไมเ่ กดิ ผลดี คุณภาพและปรมิ าณของงานอยูใ่ นเกณฑ์ไม่น่าพอใจ ขวัญอยใู่ นเกณฑต์ า่ เหน็ ไดจ้ ากจานวนกาลังพลท่ีโยกย้ายสูงมาก ลกั ษณะท่วั ๆ ไปของกาลังพลและส่ิงอานวยความสะดวกประจา สานักงานต่ากว่ามาตรฐานท่ีตอ้ งการเป็นตน้ ว่า เจ้าหนา้ ทแ่ี ต่งกายอย่างไมม่ ีระเบยี บผดิ แผกจากกนั และมี กระดาษหนงั สือ กระจดั กระจายอยู่ตามโต๊ะและตามตู้เก็บเอกสาร ร.ท.กลยทุ ธ นึกขน้ึ มาทันทีวา่ จะต้องเอาลกั ษณะผ้นู าอันเขม้ แขง็ มาใชก้ บั สถานการณ์ เช่นน้ี ครน้ั แลว้ เขาก็เริม่ พจิ ารณาหามูลเหตุของความเป็นมาของสถานการณ์เหล่าน้ีทนั ที เรม่ิ แรก เขาไดบ้ อกกับนายสิบธรุ การให้เรียกเจา้ หนา้ ที่ตา่ ง ๆ ในแผนกมาประชมุ เพอื่ ปรึกษาหารือ เปน็ การเฉพาะ เพ่อื ขอทราบพืน้ ฐานทางทหารของแตล่ ะคนและรบั ฟงั ขอ้ คดิ เห็นในวธิ ีการปฏิบตั ิงานของ แผนก เขาพบวา่ กาลงั พลในแผนกมีไม่เพียงพอทาใหง้ านลน้ มือ แตล่ ะคนตอ้ งทางานหนัก และยดื เวลา ทางานออกไปอยเู่ ร่อื ย แม้ในบา่ ยวันเสารก์ ็ยงั ตอ้ งทางา ขณะท่ีเจ้าหน้าทแ่ี ต่ละคนมคี วามชานาญและมี ความสามารถในการงานดี แต่งยังไม่มีการปรับปรงุ วธิ ีการการจัดลาดับงานและมาตรฐานของงานใหด้ ขี ้นึ การกากบั ดแู ลและการสง่ั งานของนายสบิ ท่ีมีหนา้ ทีร่ ับผดิ ชอบ มนี อ้ ยมาก เนื่องจากมีงานล้นมอื นอกจากนั้น 60
ยงั มนี ายทหาร – นายสิบจากกองร้อยต่าง ๆ มาคอยรบกวนเสมียนใหช้ ว่ ยทางานท่ีไม่เก่ยี วกบั งานของแผนก อยู่เปน็ ประจา เม่ือไดท้ ราบสาเหตตุ ่าง ๆ เหล่าน้ีดแี ล้ว หัวหน้าแผนกคนใหมไ่ ม่รอช้าใหเ้ สียเวลา เขารีบลงมือแก้ไข ทนั ที เรม่ิ ด้วย การจัดทา รปจ. และอธิบายสาระสาคญั ตา่ ง ๆ ใหเ้ จ้าหนา้ ทใี่ นแผนกเขา้ ใจ ลาดับถัดมากเ็ ปน็ การจดั มาตรฐานในการทางานให้เข้ารูป เอกสารโต้ตอบและละช้นิ ที่จะสง่ ออกไปจากแผนกจะต้องไดร้ บั การ ตรวจจากเจ้าหนา้ ที่ ๆ เกี่ยวข้องเป็นอยา่ งดี เพอ่ื ป้องกนั ความผดิ พลาดอันอาจจะมีข้ึน กาหนดเวลาในการ ปฏิบัตใิ ห้แน่ชัด และให้ปฏิบัตงิ านตามเวลาท่ีกาหนดไวอ้ ยา่ งเขม้ งวด เพ่อื ใหม้ ีเวลาในการพักผ่อนหยอ่ นใจ, จัดใหม้ ีระบบการมอบรางวลั ให้แกผ่ ปู้ ฏิบัติงานดเี ด่นและนา่ ชมเชย, จัดให้มีการบรรจกุ าลงั พลใหเ้ ต็มตาม อัตราอนมุ ัต,ิ มกี ารตรวจตราการปฏบิ ตั ิงานและการแต่งกายบ่อย ๆ เพ่อื ให้เป็นไปตามตารางฝึกสอนและ ระเบยี บในการแตง่ กาย ตวั หวั หน้าแผนกเองกไ็ ดป้ ฏิบัตติ นเป็นตัวอย่าง โดยมีความขยนั ขนั แขง็ ในการ ปฏบิ ตั ิงานอยา่ งสม่าเสมอตามเวลาโดยไม่ใหใ้ ครตาหนิได้ ไดม้ ีการเนน้ ให้ทราบถึงความจาเป็นทต่ี อ้ ง ปฏบิ ัตงิ าน ให้เป็นไปตามสายการบงั คบั บญั ชา ในการปรึกษาหารอื ขา้ ราชการในระหว่างแผนกกับกองรอ้ ย ตา่ ง ๆ ซึง่ จะทาให้การรบกวนเจ้าหน้าที่ของแผนกโดยไมจ่ าเป็นหมดส้นิ ไป ผลจากการปฏบิ ตั เิ ชน่ นี้ชว่ั ระยะเวลาอันส้นั ทาให้การดาเนินงานของแผนกคาเนนิ ไปไดโ้ ดยราบร่ืน เจ้าหนา้ ท่ใี นแผนกทกุ คนเกดิ ความ ภาคภมู ใิ จ ทีแ่ ผนกไดป้ รับปรุงเปล่ยี นแปลงไปในทางทดี่ ีจนกลายเปน็ หนว่ ยงานท่ีมคี ุณภาพสงู และปฏบิ ตั งิ าน ไดผ้ ลดยี ิง่ ขน้ึ วเิ คราะห์การปฏบิ ตั ิ จากการนาเอากรรมวธิ ใี นการแก้ไขปญั หามาใช้ ร.ท.กลยทุ ธ ได้พจิ ารณาว่า จะต้องทาอะไรบา้ ง และใช้ “ความพนิ ิจพิเคราะห์” เปน็ ย่างดีในการเลือกหนทางปฏิบัติที่ดีทสี่ ุด เขาได้ “ทาตนเป็นตวั อย่าง” แก่ ผู้ใต้บังคับบัญชา ด้วยการวางตนอยา่ งเหมาะสม และมคี วามขยันขนั แข็งในการปฏิบตั ิงานตามเวลาอยา่ ง สมา่ เสมอ ในการแกป้ ญั หาเกีย่ วกับขวัญของกาลงั พลในแผนกเขานาเอาหลัก “ทาความคุน้ เคยและดูแล สวัสดกิ ารของผู้ใตบ้ ังคับบัญชา” มาใช้ นอกจากน้ัน ก็มีหลกั ของการเปน็ ผู้นาขอ้ อ่ืน ๆ ที่นามาใช้ เช่น “มี ความสามารถท้งั ทางเทคนิคและทางยุทธวิธี” “ต้องแน่ใจวา่ ผู้ปฏิบัติเข้าใจงาน ตรวจตราการปฏิบัตขิ อง ผใู้ ตบ้ ังคับบญั ชาให้สาเรจ็ ตามความมงุ่ หมาย” และ “ใหผ้ ู้ใต้บังคับบญั ชาเป็นอันหน่งึ อันเดยี วกนั ” ตัวอย่างท่ี 3 ร.ท. โกศล มหี นา้ ทร่ี ับผิดชอบการฝกึ ทหารใหม่ ซึ่งจะตอ้ งทาหน้าท่ี พลประจา ค. 81 ม.ม. เวลา ทีจ่ ะใช้ในการฝึกมอี ย่อู ย่างจากัด เน่อื งจากหนว่ ยจะต้องเข้าปฏบิ ัติการรบในเวลาอันใกล้ ทหารเหล่าน้ีได้ ผา่ นการฝึกในเร่ืองอาวธุ ศกึ ษา, การฝกึ ในหน้าท่ีพลประจาเครื่องยงิ และมีความรู้เก่ยี วกับการเร่มิ ฝกึ ยงิ ดว้ ย กระสนุ จรงิ มาบา้ งเลก็ นอ้ ย ในวันแรกท่ีเริ่มฝกึ ยงิ ร.ท. โกศล ตระหนกั ดีวา่ ทหารเหลา่ นี้ยงั ใหม่มี ประสบการณ์น้อย จึงไม่ควรให้มผี ู้ช่วยประจาอยู่กบั อาวุธแต่ละกระบอก ดงั นน้ั ร.ท.โกศล จงึ ได้ช้แี จง ทบทวนถึงขอ้ ควรระมัดระวงั ในการรักษาความปลอดภัยในหนา้ ท่ขี องพลประจาเครือ่ งยิง แล้วจึงเร่ิม ปฏบิ ตั ิการยิงตามปญั หาที่กาหนด การฝึกยงิ ดาเนนิ ไปอยา่ งราบร่ืน ในการยิงหาหลกั ฐาน 2 –3 นดั แรก แตพ่ อหยอ่ นกระสุนนดั ที่ 4 ลงไปในเคร่ืองยิง กระสุนดา้ นใน ถงึ แม้ว่าทหารเหลา่ นี้ จะได้รับการฝกึ ในการนากระสนุ ด้านในออกจากลา กลอ้ งมาแล้วกต็ าม แต่ก็ไม่วายทจ่ี ะตกใจกลัว จนผู้ชว่ ยพลยิงรอ้ งออกมาวา่ “กระสุนดา้ นใน ระวงั จะระเบิด ในลากล้อง” อนั เปน็ ผลให้พลประจาเครอื่ งยงิ ทุกคนวิ่งหนอี อกจากเครอ่ื งยิงทนั ที ผบู้ งั คบั หมวดได้ เรียกทหารให้กลับมาท่ีเครือ่ งยงิ แลว้ อธบิ ายให้ทราบถึงวิธีการปฏิบตั ติ อ่ กระสนุ ด้านใน โดยสาธิตให้ดถู ึงวธิ ีท่ี 61
ถกู ต้องในการนากระสนุ ดา้ นออกจากเครือ่ งยงิ โดยมนี ายสบิ รกั ษาความปลอดภยั เปน็ ผชู้ ่วย การฝึกยงิ ใน ลาดบั ต่อมา พลประจาเคร่อื งยิงทุกกระบอกสามารถนากระสนุ ด้านออกจากเครื่องยิงด้วยตนเองได้ โดย ปลอดภัยทกุ ครัง้ วเิ คราะห์การปฏิบัติ ผบู้ งั คบั หมวดไดแ้ สดงให้เห็นถงึ คุณลกั ษณะของการเป็นผู้นาหลายข้อ เชน่ “ความรอบรู้” “ความ กล้าหาญ” และ “ความริเรม่ิ ” ได้มกี ารนาหลักของการเปน็ ผู้นามาใชห้ ลายขอ้ ง ทน่ี ับว่าสาคัญท่ีสดุ คอื “การทาตนเป็นตัวอยา่ ง” การท่เี ขาลงมือทางานด้วยตนเองอยา่ งไม่สะทกสะทา้ น และอยา่ งกล้าหาญ เพ่อื แสดงตัวอย่างใหเ้ หน็ ทาให้ทหารเกิดความเช่ือมั่นอย่างฝงั จติ ฝังใจ และสามารถปฏิบัติหน้าทขี่ องแตล่ ะคน ได้อยา่ งถกู ต้องในเวลาตอ่ มา ......................................... 62
บทท่ี 10 ระเบียบการนาหน่วย ระเบียบการนาหนว่ ย เป็นข้ันตอนการผลิตแผน/คาสัง่ ของหนว่ ยท่ไี ม่มี ฝอ. ซึง่ ประกอบด้วย 1. การวเิ คราะห์ภารกจิ 2. ออกคาส่งั เตรยี ม 3. การวางแผนขัน้ ตน้ 4. ทาแผนสมบรู ณ์ 5. การเคลอื่ นย้ายที่จาเปน็ 6. การลาดตระเวน 7. ออกคาสัง่ 8. การกากบั ดูแล สาดบั ขั้นตอนระเบยี บการนาหน่วยอาจเปลี่ยนแปลงไปบา้ งขน้ึ อยู่กบั ขนาดของหนว่ ย/ ประเภทของหนว่ ย,ลักษณะของภารกจิ ,เวลาทม่ี ีอยู่ ปจั จัยท่นี ามาวิเคราะหภ์ ารกจิ คอื METT – TC 1. Mission 2. Enemy 3. Terrain ( and weather ) 4. Troops 5. Time available 6. Civilian Considerations ปจั จัยนามาวิเคราะหภ์ ูมปิ ระเทศ คอื OAKOC 1. Obstacles 2. Avenues of Approach 3. Key or Decisive Terrain 4. Observation and Fields of Fire 5. Cover and Concealment ปจั จยั พจิ ารณาสภาพลมฟ้าอากาศ 1. อากาศประจาถนิ่ 2. ลมฟ้าอากาศ - ลม,ฝน,เมฆ,หมอก,อณุ หภูมิ,ความชน้ื ,ความชื้นสัมพัทธ์,รายการแสงสว่าง,ความกดอากาศ คาสงั่ เตรยี ม (Warning Order ) ลกั ษณะของคาสงั่ เตรียม - ไมม่ แี บบฟอร์มตายตวั - ส่งั การด้วยวาจาหรอื ลายลกั ษณอ์ ักษรกไ็ ด้ องคป์ ระกอบที่ควรมี - เวลาทมี่ อี ยแู่ ละการติดต่อสอื่ สาร - ขา่ วสารทเ่ี หมาะสมซ่ึง ผบ.หน่วยรองต้องใชใ้ นการวางแผนและเตรยี มการ 63
- สถานการณ์ข้าศกึ - สถานการณ์ฝ่ายเรา - ภารกจิ และการจัด ฉก. - เจตนารมณข์ อง ผบ. (ตวั ผู้ออกคาสง่ั ) - คาแนะนาในการเคลือ่ นย้าย - การตอบรับ - คาแนะนาในการประสานงาน - คาแนะนาเพม่ิ เตมิ (พิเศษ) - ตารางเวลา/เวลาและสถานที่ ที่จะออกคาส่งั ยทุ ธการ - ความต้องการแผนท่ี - แผนการ รปภ, การฝึกการปะทะ/การซกั ซอ้ มตาม รปจ. ที่จะใช้ในการปฏิบัติ เจตนารมณ์ ของ ผบ. คือ นโยบาย / แนวทางที่ ผบ.ต้องการ องค์ประกอบ 1. ความมงุ่ หมายของเจตนารมณ์ 2. กจิ เฉพาะ / ระบุกจิ ใหท้ ราบ 3. ผลลพั ธ์ - ขศ , ภมู ิประเทศ , ฝา่ ยเรา คาสง่ั ยุทธการ 1. สถานการณ์ ก. ฝา่ ยตรงข้าม ข. ฝ่ายเรา - ภารกิจของหน่วยเหนอื ( 1 ระดับ) - เจตนารมณข์ อง ผบ.หนว่ ยเหนือ ( 1 ระดับ) - หนว่ ยข้างเคียงทางยทุ ธวิธี - หน่วยสนับสนุน ก. หน่วยสมทบและหน่วยแยก 2. ภารกจิ (Who, What, When, Where, Why) 3. การปฏิบตั ิ ก. แบ่งความคิดในการปฏิบตั ิ 1) เจตนารมณ์ของ ผบ. (ผอู้ อกคาสั่ง) 2) กลยุทธ 3) การยงิ ก. หนว่ ยรอง ข. กองหนนุ ค. คาแนะนาในการประสานงาน 4. การชว่ ยรบ 5. การบงั คบั บญั ชาและการสอ่ื สาร 64
ภารกิจ คอื ข้อความของงานทีต่ อ้ งการทาโดยหน่วย ๆ หนึ่ง ทาให้ทราบว่า Who, What, When, Where, Why ไดม้ าจาก 1. คาส่ังยทุ ธการของหนว่ ยเหนอื (ข้อ.3. การปฏบิ ตั ิ) 2. แผน่ บรวิ ารยุทธการ 3. แนวทางการวางแผนของ ผบ. (ข้ัน 3. ของการแสวงหาข้อตกลง) 4. ขา่ วสารของ ฝอ. 5. คาแนะนาในการประสานที่เกย่ี วขอ้ งกบั ฝา่ ยเรา ขน้ั ตอนของระเบยี บการนาหน่วย 1. การวิเคราะหภ์ ารกจิ Mission คอื การแยกภารกิจออกมา เพ่อื หาวา่ มีงานอะไรบา้ งที่หนว่ ยตอ้ งทา แต่ ละงานมขี อ้ ขดั ข้อง / ขอบเขต และข้อจากดั อะไรบา้ ง - จะทาใหเ้ ขา้ ใจความมงุ่ หมายของภารกิจที่หน่วยเหนอื มอบให้ - ทาใหว้ าดภาพขัน้ ตอนการปฏิบัติได้งา่ ย 1.1 ขน้ั ตอนการวเิ คราะหภ์ ารกจิ ก. กิจเฉพาะ - ระบอุ ยู่ในแผน/คาส่ังของหนว่ ยเหนือ ใน ขอ้ .2.,ข้อ.3.,คาแนะนาในการประสาน, - ตอบคาถามว่า “ทาไม” เช่น เขา้ ตเี พ่อื ................, ตั้งรับเพ่อื ................. ข. กจิ แฝง - กจิ ต่าง ๆ ท่ีมิได้กลา่ วไว้ในแผน/คาสง่ั ฯ แต่ต้องกระทาเพอ่ื ความสาเร็จของภารกิจเปน็ สว่ นรวม/ให้บรรลุ กจิ เฉพาะ - ได้มาจากการวิเคราะหค์ าสง่ั อยา่ งละเอยี ด เชน่ การข้ามลาน้า,การผ่านแนว,การกวาดล้าง ขศ. ใน บรเิ วณส่งิ ปลูกสรา้ ง 1.2 กจิ สาคัญย่ิง - มีมากกว่า 1 ภารกิจ - วิเคราะห์กจิ เฉพาะและกจิ แฝงต่าง ๆ ทตี่ อ้ งปฏบิ ัติใหบ้ รรลุ เพ่ือความสาเรจ็ ของภารกจิ เป็นส่วนรว่ ม จะถกู ระบุเป็นกิจสาคัญย่ิง (ตอบคาถามวา่ “อะไร”) - การระบุกิจสาคัญยิ่งใหถ้ ูกต้อง ผบ. / ฝอ. ตอ้ งคานงึ ถึงเจตนารมณข์ อง ผบ.ข้นึ ไปอกี 1 ระดับ เสมอ เชน่ รอ้ ย.ม.1 เคล่อื นยา้ ยจากทรี่ วมพลผ่านแนวการวางกาลงั ของ ฉก.ร.1 ทาการเข้าตี เพือ่ ทาลาย ขศ. บริเวณ ทม. ก. 1.3 ขอ้ บังคบั - กาหนดโดยหน่วยเหนือ ซ่งึ จากดั เสรีในการปฏบิ ัติ ซึง่ ได้แกม่ าตรการควบคมุ ตา่ ง ๆ เชน่ ความต้องการ : การปฏิบตั ิซ่ึงหนว่ ยจะต้องทา เช่น ให้มีกองหนนุ ขอ้ หา้ ม การปฏบิ ตั ิพ้นื ท่ี ซึง่ หน่วยถูก หา้ ม เช่น ห้ามทาการยิงบริเวณ....., ให้หลีกเล่ียงการใชอ้ าวธุ บรเิ วณ......... ผลของการวเิ คราะหภ์ ารกิจ คอื ภารกจิ แถลงใหม่ ประกอบด้วย ใคร,ทาอะไร,เมือ่ ใด,ทไ่ี หน,ทาไม 1 การวเิ คราะห์ ขศ. (Enemy) 65
1. วิเคราะห์หลกั นยิ มของข้าศกึ 2. การประกอบกาลัง 3. การวางกาลัง (เท่าทที่ ราบ) 4. ขดี ความสามารถ 5. หลกั นิยมท่ี ขศ. ใช้ ณ ทม. 6. ห/ป. ท่ีคาดว่า ขศ. น่าจะใช้ 7. ปจั จัยทีม่ ผี ลตอ่ ห/ป ของ ขศ. 8. ภาพสงั เขปการปฏบิ ัติของ ขศ. 9. กลนั่ กรอง ห/ป ของ ขศ. (แผน่ ภาพสถานการณ์) - พฒั นา ห/ป โดยการปรบั - รวม ท่ตี ง้ั ขศ.,แผน่ ภาพหลักนิยม,และการวิเคราะห์, ภมู ปิ ระเทศ (ปรับการวางกาลงั ให้สอดคลอ้ งกับภมู ิประเทศ) - พฒั นา ห/ป ของ ขศ. ทเี่ ปน็ ไปไดแ้ ละมอี นั ตรายตอ่ ฝ่ายเรามากทส่ี ุด - เตรียมแผ่นภาพสังเขป แตล่ ะ ห/ป ของ ขศ. (ต่าลงไป 2 ระดับ) เกณฑ์การพิจารณา ห/ป ของ ขศ. จะตอ้ ง - มคี วามสมบูรณ์ , เปน็ ไปได,้ ยอมรบั ได้, สมเหตสุ มผล, มคี วามชัดเจน 2 การวเิ คราะห์ภมู ปิ ระเทศและลมฟา้ อากาศ การวิเคราะหภ์ มู ิประเทศกระทาเพือ่ จดั ทาแผ่นบรวิ ารเครือ่ งกดี ขวางผสม ซึ่งจะชว่ ย ให้เห็นภาพ ห/ป ของ ขศ. ท่นี ่าเป็นไปได้ ดงั นี้ Obstacles (เครือ่ งกีดขวาง) - ขศ.จะใช้เคร่ืองกีดขวางและภมู ิประเทศอยา่ งไร - ขศ. จะวางกาลังเพ่ือคุ้มครองเครือ่ งกีดขวางอย่างไร - ฝ่ายเราจะสามารถหลกี เลียงเครอ่ื งกดี ขวางไดอ้ ยา่ งไร - เราจะสามารถตรวจพบและอ้อมผา่ นเครอื่ งกดี ขวางได้อย่างไร - บรเิ วณใดที่ ขศ.นา่ จะวางอาวุธยิงคุ้มครองเคร่ืองกีดขวางเหล่านนั้ - บริเวณใดทีต่ อ้ งเลาะเคร่ืองกดี ขวาง (ถ้าไม่สามารถออ้ มผ่านได้) Avenues (แนวทางเคลอ่ื นท่ี) - เราจะใชก้ ารเคลอ่ื นที่และดาเนนิ กลยุทธอยา่ งไร จึงจะเหมาะสมกับแนวทางการเคลอื่ นท่ี - ในแต่ละแนวทางเคล่ือนที่สามารถสนับสนนุ เทคนิคการเคลื่อนท่ี,รปู ขบวนและการดาเนนิ กลยุทธ อยา่ งไร - ความแตกตา่ งของการจราจร และความกวา้ งของช่องทางมผี ลตอ่ การใช้รปู ขบวน และ เทคนคิ การเคล่อื นท่ี อย่างไร - อะไรคอื ขอ้ ได้เปรยี บ / เสียเปรียบในแตล่ ะแนวทางเคล่อื นท่ี - เส้นทางในการตโี ต้ตอบของ ขศ.ที่นา่ เป็นไปได้ - เสน้ ทางอน่ื ซึง่ เราสามารถใชเ้ พอ่ื เปลย่ี นแนวทางเคลอื่ นท่ีหลักคอื บรเิ วณใด Key Terrain (ภมู ปิ ระเทศสาคัญ) - ภูมิประเทศใดที่มีความสาคัญต่อหนว่ ยเราและหน่วยเหนือ และทาไมจึงสาคญั - ภูมปิ ระเทศใดมคี วามสาคญั ต่อ ขศ. และทาไมจงึ สาคัญ - ฝ่ายเราจะแสวงและดารงการควบคุมภูมิประเทศสาคัญได้อย่างไร 66
- ภูมิประเทศใดท่ีมีความสาคญั ตอ่ ฝ่ายเราในด้านการตรวจการณ์,การบังคับบัญชา,การ ตดิ ต่อ ส่ือสาร, การรอ้ งขอ และปรบั การยงิ Observation and Fiefs of Fire, Cover and Concealment (การตรวจการณ์และพนื้ การยิงและการซอ่ น พราง) - การตรวจการณ์และพนื้ การยิงบรเิ วณ ปม. ดีหรือไม่ต่อการตรวจการณ์และอาวุธของ ขศ. - บรเิ วณใดที่ ขศ. รวมอานาจการยงิ - บริเวณใดท่ี ขศ. ไมส่ ามารถรวมอานาจการยิง - บรเิ วณใดที่ ขศ. ออ่ นแอ /ไมส่ ามารถทาการยิงได้ - ทีใ่ ดเหมาะท่ีจะใช้เปน็ ท่ีตง้ั ของฐานยิง - จดุ อา้ ง ปม.ตามธรรมชาติ มีท่ีใดบ้าง (สาหรับอาวุธยิงเลง็ ตรง) - ท่ีตัง้ ผตน. ท่ีเหมาะสม ( สาหรบั อาวธุ เลง็ ยิงจาลอง ) - แนวทางเคลื่อนทใ่ี ดที่ให้ผลดีต่อเจตนารมณ์, พ้ืนยงิ และการกาบังซอ่ นพราง - ภูมิประเทศใดสนบั สนนุ หน่วยในการเคลื่อนทเ่ี ป็นหว้ ง ๆ ด้วยการยิงและการซอ่ นพราง จาก การยิงของ ขศ. Weather (ลมฟา้ อากาศ) - วิเคราะห์ผลของลมฟ้าอากาศทมี่ ีต่อ ห/ป ของฝ่ายเราและ ขศ. (การใช้ นชค., แนวทางเคล่อื นที่ฯ) Troops (กาลังฝ่ายเรา) การวิเคราะห์กาลังรบฝา่ ยเราพิจารณาบนพนื้ ฐาน - จานวนและชนดิ ของยทุ โธปกรณใ์ นแตล่ ะ มว. - วนิ ัยและการฝึก - สภาพรา่ งกายและการฝึก - ขวัญ และการปฏิบตั ทิ ่ผี า่ นมา - สถานภาพในการ ซบร. และส่งกาลงั ฯ) - การ สสก. และ สสช. ท่ีมีอยู่ - ประสทิ ธภิ าพของผูน้ า - กาหนดอานาจกาลงั รบเปรียบเทยี บ (กาหนดคะแนน) Time (เวลา) - วางแผนการใช้เวลาย้อนกลับโดยกฎ 1/3 , 2/3 โดย ผบ.หน่วยจะใชเ้ วลา 1/3 ของเวลา ทง้ั หมด เวลาทเี่ หลือ 2/3 เป็นเวลาของหนว่ ยรอง และเวลาท่ีใช้ในการเตรยี มการ เช่น ผบ.รอ้ ย.ฯ รบั คาสั่ง ฯ จากผบ.พนั .ฯ แล้วเสรจ็ ใน 011000 เวลา น. ของภารกิจ 010900 ผบ.ร้อย.ฯ ตอ้ งดาเนนิ กรรมวธิ ีตามระเบียบการนาหนว่ ยตามข้อ 1 - ข้อ 6 ออกคาส่ังภายใน 9 x 1/3 = 3 ชม. คือ ออกคาส่งั เวลา 011300 2. ออกคาสัง่ เตรียม ลักษณะของคาสั่งเตรยี ม - ไมม่ ีแบบฟอร์มตายตัว - สง่ั การดว้ ยวาจาหรอื ลายลักษณ์อักษรกไ็ ด้ องคป์ ระกอบท่ีควรมี - เวลาที่มอี ยแู่ ละการติดต่อสือ่ สาร - ข่าวเหมาะสมท่ี ผบ.หน่วยรองต้องการในการวางแผนและเตรียมการ 67
- สถานการณ์ขา้ ศึก - สถานการณ์ฝ่ายเรา - ภารกิจและการจดั ฉก. - เจตนารมณข์ อง ผบ. (ตวั ผู้ออกคาสงั่ ) - คาแนะนาในการเคล่อื นยา้ ย - การตอบรบั - คาแนะนาในการประสานงาน - คาแนะนาเพ่ิมเตมิ (พเิ ศษ) - ตารางเวลา/เวลาและสถานที่ ท่ีจะออกคาส่งั ยทุ ธการ - ความต้องการแผนที่ - แผนการ รปภ, การฝึกการปะทะ/การซกั ซ้อมตาม รปจ. ทีจ่ ะใช้ในการปฏิบัติ 3. การวางแผนขนั้ ต้น (คานงึ ถงึ หนทางปฏบิ ตั ขิ องข้าศึก) เรม่ิ จากการพัฒนาหนทางปฏิบัติ 6 ขน้ั ตอน คอื 1. วิเคราะหอ์ านาจกาลังรบเปรยี บเทียบ (ระหวา่ งฝ่ายเรากบั ฝ่ายข้าศึก) 2. พิจารณาหนทางปฏบิ ตั ิทีน่ า่ จะเปน็ ไปได้ - มคี วามเหมาะสม, เปน็ ไปได้, ยอมรบั ได้, แต่ละหนทางปฏบิ ัติมคี วามแตกต่าง, มีความ สมบูรณ์ (5 W) 3. กาหนดหน่วย / การวางกาลังฝ่ายเรา - ลงไป 2 ระดับ เช่น ผบ.พัน.ฯ กาหนดการวางกาลงั ของหน่วยรองฯ ถงึ ระดับ มว. 4. พฒั นาแผนการดาเนนิ กลยุทธ 5. กาหนดส่วนบงั คบั บญั ชาของแต่ละหน่วย ลงไป 1 ระดับ เช่น ตามข้อ 3 แตล่ ะ มว. เปน็ กาลงั ของกองรอ้ ยใด 6. เตรียมภาพสังเขป และขอ้ ความในแต่ละหนทางปฏบิ ตั ิ, วิเคราะห์ และเปรียบเทยี บแต่ละหนทางปฏบิ ตั ิ องคป์ ระกอบของการวางแผนข้ันต้น 1. คาแนะนาในการประสาน 2. การลาดตระเวนตรวจภูมปิ ระเทศ 3. การจดั ฉก. ใหม่ 4. การเคลือ่ นยา้ ย 4. การเคลอ่ื นยา้ ยทจ่ี าเปน็ - เปน็ การยา้ ยหนว่ ยเข้าสู่ที่ตั้งเฉพาะถา้ จาเปน็ ( เวลาไมเ่ พียงพอ ) - อาจเกดิ ข้ึนพร้อมกับการวางแผนขั้นตน้ - ระดบั การเตรียมการ กาหนดตามกฎ 1 ใน 3 , 2 ใน 3 และเวลาทีถ่ ูกกาหนดโดยหน่วยเหนอื 5. การลาดตระเวน วัตถปุ ระสงค์ เพ่ือตกลงใจเลอื กหนทางปฏบิ ัตใิ ดหนทางปฏิบัติหน่งึ ทีไ่ ด้พัฒนาไว้ กระทาได้ 2 วธิ ี คอื 1. ลาดตระเวนบนแผนท่ี (ถา้ มเี วลาจากัด) - พิจารณาประกอบแผ่นบรวิ ารเครื่องกีดขวางผสม 68
2. ลาดตระเวนในภูมิประเทศ - จะกระทาเมอื่ เป็นไปได้ และเปน็ วิธีท่ีใหป้ ระสทิ ธิภาพมากทส่ี ดุ การ ลว. จะกระทาโดย ผบ.หนว่ ย เท่านั้น 6. การทาแผนสมบูรณ์ (คานงึ ถึงกาลงั และการปฏบิ ัติของฝา่ ยเรา) - เป็นการนาผลการตรวจภูมปิ ระเทศมาแกไ้ ขการวเิ คราะหป์ จั จยั METT-T - แกไ้ ขหนทางปฏบิ ตั ทิ ่ีเลอื กไวเ้ พิ่มเติม ให้สอดคล้องกบั ภูมปิ ระเทศ - เพ่มิ เตมิ รายละเอียดในการวางแผน - ทาแผนและกาหนดมาตรการควบคุมในเร่ืองกลยทุ ธ, การยิงสนับสนนุ , แผนการ วางเครือ่ งกดี ขวาง, แผนการยิง, แผนการชว่ ยรบ - การประสานกับหนว่ ยอนื่ รวมทงั้ การขอรับการสนบั สนนุ เพม่ิ เตมิ 7. ออกคาสัง่ - การออกคาสั่ง ควรแนะนา ณ สถานท่ีซึ่งสามารถมองเห็น ทม. และ ตรวจการณ์ ภูมปิ ระเทศไดโ้ ดยตลอดไปถงึ ทม. ถ้าสามารถกระทาได้ ผบ.หน่วยควรใช้ยทุ โธปกรณ์ต่าง ๆ เชน่ แผนที่ สังเขป / โตะ๊ ทรายประกอบ เพอ่ื ช่วยใหผ้ รู้ ับคาสง่ั เข้าใจ และเห็นภาพการปฏบิ ัติไดด้ ขี ึน้ - หลังจากออกคาสง่ั เสร็จ ให้ตรวจสอบความเข้าใจในคาสั่งของหนว่ ยรองโดยการ 1. ให้ตอบคาถาม 2. ให้ช้ีแจงสรปุ กลบั 3. กาหนดการซักซอ้ มการปฏบิ ัติ 8. การกากบั ดูแล กระทาเพอ่ื ให้มั่นใจวา่ หนว่ ยรองทกุ สว่ นมีความเข้าใจแผน, คาสง่ั , การปฏบิ ตั ิ รวมทงั้ มี การเตรยี มการไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง การกากับดแู ล ต้องกระทาในทกุ ขัน้ ตอนของระเบยี บการนาหนว่ ยโดยปฏิบตั ดิ ังนี้ 1. กากบั ดูแลการเตรยี มการในเร่อื ง - การประสานการปฏบิ ัตซิ ึ่งหนว่ ยจะต้องทา - การเพม่ิ เตมิ สป. - ตรวจการเตรยี มการก่อนการรบ โดยพลประจารถ, ผบ.หน่วย และ หน.สว่ น 2. กากบั ดูแลการปฏิบัติในเรอื่ ง - ท่ีอยูข่ อง ผบ.หน่วยในสนามรบ - ตดิ ตามสถานการณ์ทางยุทธวิธี และการปฏิบตั ขิ องหน่วย ท้งั ฝา่ ยเรา และฝ่ายข้าศึก - ตรวจสอบ และการซักซ้อมการปฏิบัตสิ ่วนท่ีสาคัญ การกากบั ดูแล : ทาใหม้ ั่นใจว่าแผน / คาสั่ง มีความทันสมยั อยู่เสมอ โดยจะออกมาในรปู ของคาส่งั เป็น สว่ น ๆ ระเบียบการนาหน่วยนอกสถานการณ์ทางยทุ ธวิธี ในการปฏบิ ัติภารกิจนอกสถานการณ์ทางยุทธวธิ ี สามารถนาระเบียบการนาหนว่ ยไปปรบั ใชใ้ นการ ปฏิบัติงานได้เป็นอย่างดี และหากสามารถวเิ คราะหภ์ ารกิจไดเ้ หมาะสมแล้ว จะชว่ ยใหก้ ารปฏิบตั งิ านนนั้ ๆ เปน็ ไปดว้ ยความเรยี บร้อย อีกทงั้ หากนาไปใช้เปน็ ประจา จะเป็นการชว่ ยใหเ้ กิดทกั ษะในการวางแผนทดี่ ี ใหแ้ ก่ตนเองอีกด้วย 69
1. รบั มอบ และวเิ คราะหภ์ ารกิจ - กจิ / งานท่ี ผบ.มอบหมาย ผบ.หนว่ ยตอ้ งนามาวิเคราะหก์ ิจเฉพาะ, กจิ แฝง หรือ เรยี งลาดับงานก่อน - หลงั ให้เหมาะสม - หาก ผบ.ระบใุ ห้ภารกิจแลว้ เสรจ็ ผบ.ทาการวางแผนใชเ้ วลา แตอ่ าจไมเ่ ป็นไปตามกฎ 1 ใน 2 , 2 ใน 3 แต่ควรพจิ ารณาแบ่งมอบเวลาให้เหมาะสมกับงานในแต่ละข้ันตอน 2. ออกคาสง่ั เตรยี ม - งานทีม่ คี วามยุ่งยากซบั ซอ้ นในการวางแผน / การปฏบิ ัติ หรอื เปน็ กรณีฉกุ เฉนิ เช่น ช่วยเหลือผู้ ประสบอทุ กภัย ควรแจ้งให้หน่วยรองมกี ารเตรยี มการลว่ งหนา้ และละเอียดรอบคอบ จงึ ควรออกคาสง่ั เตรยี ม ใหห้ นว่ ยรอง แต่หากงานนน้ั ๆ มกี ารปฏิบตั ิเปน็ ประจา อาจอ้างถงึ การเตรยี มการของการปฏิบตั ิที่ผ่านมาก็ เพยี งพอแล้ว 3. วางแผนขัน้ ตน้ - โดยพจิ ารณากิจ / งาน โดยเรยี งลาดบั ความสาคัญ และพิจารณาความเกี่ยวขอ้ ง, คาดการณถ์ งึ ปัญหาทอ่ี าจจะเกดิ ข้ึน รวมทง้ั ตรวจสอบการเตรียมการในขั้นตน้ 4. การเคลื่อนยา้ ยที่จาเปน็ - พิจารณาส่วนใดของหนว่ ยท่ีจาเป็นต้องไปเตรยี มการในพ้ืนทที่ ก่ี าหนด, วางแผน - ออกคาส่งั ให้ เคล่ือนยา้ ยไปก่อน รวมทัง้ กาหนดผ้รู บั ผดิ ชอบด้วย 5. การลาดตระเวน - ผบ.หนว่ ยควรไปตรวจดพู ้ืนที่ / บรเิ วณทีห่ น่วยต้องปฏบิ ตั ิภารกิจ เพอ่ื พิจารณาปรบั แผนขั้นตน้ ให้ เหมาะสม เช่น การช่วยเหลือผ้ปู ระสบอุทกภยั อาจใช้เสน้ ทางถนนไมไ่ ด้, สภาพอากาศปดด อาจทาใหใ้ ชก้ าร ช่วยเหลอื ทางอากาศยานไมไ่ ด้ เปน็ ตน้ 6. ทาแผนสมบูรณ์ - ผบ.หนว่ ยนาขอ้ มูลจากการ ลว. ตรวจภูมปิ ระเทศมาพจิ ารณาปรับแผนขัน้ ตน้ ให้สอดคลอ้ งกับ สถานการณ์ เชน่ ตามข้อ 5 อาจจาเป็นต้องเข้าปฏิบัตภิ ารกจิ โดยใช้เรือเปน็ ยานพาหนะ / ลาเลยี ง โดยการ เดนิ เท้าเขา้ ไปชว่ ยเหลอื ประชาชน หรือ อาจจาเป็นต้องเปลีย่ นแปลงลาดับความสาคญั ของภารกิจเสยี ใหม่ 7. ออกคาสงั่ - สงั่ การตามท่วี างแผนสมบรู ณ์ และกาหนดหนทางปฏิบัติที่ไมค่ าดคดิ ไว้ลว่ งหน้า หากภารกิจน้ันมี ปัจจัยทไ่ี มส่ ามารถควบคุมไดม้ าเก่ียวข้อง เชน่ การเปล่ยี นแปลงของสภาพลมฟา้ อากาศ, การตื่นตระหนกของ ประชาชน ฯลฯ 8. กากบั ดูแล - บางภารกิจ ผบ.หนว่ ยตอ้ งมอบหมาย / กระจายความรับผดิ ชอบในการกากับดูแล ไปยงั หน่วยรอง ใหม้ ากท่ีสุด และตอ้ งมั่นใจวา่ กาลังพลทุกนายมีความเขา้ ใจ และสามารถปฏบิ ัติไดถ้ กู ต้อง และหากมกี าร ปฏิบตั ภิ ารกจิ เปน็ เวลานาน ผบ.หนว่ ยตอ้ งพยายามเข้าไปกากบั ดแู ล / ตรวจเยยี่ มด้วยตนเองเสมอ ๆ ...................................................... 70
บทที่ 10 คณุ ธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณของทหารอาชพี \"ในบา้ นเมืองนี้ มที ัง้ คนดีและคนไม่ดี ไม่มใี ครสามารถจะทาให้คนทกุ คนเปน็ คนดีท้ังหมดได้ การปกครองบา้ นเมอื งให้เปน็ ปกติสขุ เรียบรอ้ ย จึงมใิ ชอ่ ยู่ทกี่ ารทาให้ทุกคนเปน็ คนดี หากแตอ่ ยทู่ ่ี การ ส่งเสรมิ คนดีใหไ้ ด้ปกครองบา้ นเมอื ง และควบคมุ คนไม่ดีไม่ใหม้ อี านาจ ก่อความเดือดรอ้ นวุน่ วายได\"้ พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัวฯ ทีไ่ ด้อญั เชญิ มาน้ัน ทรงชแ้ี นะวา่ ผู้มีอานาจในการ บรหิ ารราชการแผน่ ดิน ควรเปน็ คนดมี คี ณุ ธรรม จึงจะปกครองบ้านเมืองและประชาชนใหเ้ ปน็ สขุ รม่ เยน็ ได้ แต่ปัญหาอยทู่ ่ีวา่ จะใหก้ ารศกึ ษาแก่ผู้คนอยา่ งไร ประชาชนจึงจะแยกแยะคนดีกบั คนไมด่ ีได้ กระท่งั ผทู้ ่มี ี การศกึ ษาดจี านวนไมน่ อ้ ย ก็ยังสับสนและหลงผดิ ความสับสนและหลงผิด สว่ นมากเกิดจาก \"กเิ ลส\" ความลุม่ หลงในอานาจและผลประโยชน์ โดยเฉพาะ เจา้ นายทีแ่ วดลอ้ มดว้ ยพวกที่ประจบสอพลอ ก็มกั จะหลงผดิ ไปไดง้ า่ ย ๆ เจ้านายท่ีดี จึงจาเปน็ ต้องมีคณุ ธรรม ควบคู่ไปกบั ความรแู้ ละความสามารถ ร้จู ักเลือกใช้คน จึงจะนาพาองค์กรไปสคู่ วามเจริญรงุ่ เรอื งได้ แตถ่ ้า เจ้านายหลงในอานาจ ส่งเสรมิ เฉพาะพวกใกลต้ วั คานึงถงึ แต่ผลประโยชนข์ องตัวและพวกพ้อง ย่อมนาพา องค์กรไปสูห่ ายนะได้โดยงา่ ย เป็นปญั หาของสังคมโดยรวมไมส่ น้ิ สุด ความหมายของ จรยิ ธรรม จริยธรรม หมายถึง ข้อท่คี วรประพฤตปิ ฏบิ ตั ิ เปน็ ธรรมะทางใจทีค่ วบคมุ พฤตกิ รรม ความ ประพฤตทิ ด่ี ที ี่ชอบที่ถูกที่ควร เป็นเร่อื งของความรสู้ กึ ในการพัฒนาตนเอง ที่มุ่งหมายให้คนในสงั คมอยู่รว่ มกัน อยา่ งสนั ติสุข ดารงชีวติ อยูอ่ ยา่ งบริบรู ณเ์ ปย่ี มไปด้วยความดที ้ังกายวาจาและใจ จรยิ ะหรอื จริยา คอื ความประพฤติ การกระทา เม่อื สมาสกบั คาว่า ธรรม หรอื ธรรมะ จงึ เปน็ ความ ประพฤติทีถ่ ูกต้องตามครรลองครองธรรม ชอบธรรม เป็นธรรมชาติ จรยิ ธรรมเปน็ เร่อื งสาคัญในการทางาน ควบค่กู ับ วนิ ยั อันเปน็ ข้อห้ามหรอื ข้อบังคับให้ต้องปฏิบตั ิ สาหรบั ขา้ ราชการกใ็ ห้เปน็ ไปตามระเบยี บของทางราชการ ดังนน้ั จรยิ ธรรม จึงเปน็ ความประพฤติ การกระทาและความคิดท่ีถูกตอ้ งดีงาม รวมถงึ การทาหน้าทีข่ องตน ใหค้ รบถว้ นสมบรู ณ์ เว้นในส่ิงทีค่ วรละเวน้ ประกอบการและดารงชวี ิตอยา่ งฉลาด ดว้ ยสตแิ ละปญั ญา ร้เู หตุรู้ ผลรู้กาลเทศะ กระทาทุกอยา่ งดว้ ยความรอบคอบ เสียสละอทุ ิศตน ม่งุ มัน่ และบากบนั่ จรยิ ธรรมจึงเปน็ เรื่องทีจ่ าเป็นยิ่งสาหรับทกุ คน ทกุ หม่เู หล่าและทกุ อาชพี สังคมจะอยูร่ อดและเป็นสุขได้ ก็ ด้วยจรยิ ธรรม ความสาคัญของจริยธรรม จรยิ ธรรม จึงเปน็ … เคร่อื งมอื ยทุ ธศาสตรข์ องชาติ และ สงั คม เครอื่ งชีว้ ัดความเจรญิ ความเสื่อมของสังคม หัวใจของการพัฒนาทยี่ ง่ั ยืน การพฒั นาที่เหนอื กวา่ ความเจริญทางวตั ถุ รากฐานของการอยู่ร่วมกันอยา่ งสนั ติสุข การยอมรบั นับถือซ่ึงกนั และกนั ของทุกคนและทุกกลุ่มในสงั คม รากฐานของความเขม้ แข็งของชาติ กองทัพ และกลุ่มอาชีพในเร่อื งของการพฒั นาคุณภาพชีวิต ความ ปลอดภยั ในชีวติ และทรัพยส์ ิน เป็นอานาจกาลงั รบท่ไี ม่มตี ัวตน และเป็นตวั คณู อานาจกาลงั รบ 71
คุณธรรมพนื้ ฐานส่ปี ระการ คุณธรรมเป็นเรื่องนามธรรม เปน็ เรือ่ งของความดี ทยี่ ากจะใหค้ าจากัดความ และมีมากมายต่างทศั นะต่าง ระดบั จนถงึ ขน้ั พรหมจรรย์ อันเปน็ คุณธรรมชัน้ สงู ของผ้ทู ่ีเป็นเทพชน้ั พรหม เพ่อื ใหบ้ รรลถุ งึ ข้ันโลกตุ รธรรม อยา่ งไรก็ตาม ขอยกคณุ ธรรมพ้นื ฐานมาเปน็ ตวั อย่าง ดงั พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ เมอ่ื ๕ เมษายน ๒๕๒๕ ท่ีทรงพระราชทานไวว้ ่า \"ประการแรก คอื การรักษาความสจั ความจริงใจต่อตนเอง ท่จี ะประพฤติปฏบิ ตั ิแต่สง่ิ ทเี่ ปน็ ประโยชนแ์ ละ เปน็ ธรรม ประการที่สอง คือ การร้จู ักข่มใจตนเอง ที่จะประพฤตปิ ฏิบัตอิ ย่ใู นความสัจความดีนนั้ ประการทสี่ าม คือ การอดทน อดกล้ัน และอดออม ทจ่ี ะไมป่ ระพฤตลิ ่วงความสัจสจุ ริต ไมว่ า่ ดว้ ยเหตุประการ ใด ประการทสี่ ี่ คือการรจู้ ักละวางความช่ัว ความทุจริต และรจู้ กั สละผลประโยชน์สว่ นน้อยของตนเพือ่ ประโยชน์ สว่ นใหญข่ องบา้ นเมอื ง คุณธรรมส่ปี ระการน้ี ถา้ แตล่ ะคนพยายามปลูกฝงั และบารุงให้เจริญงอกงามขน้ึ โดยทว่ั กนั แล้ว จะชว่ ยให้ ประเทศชาติ บงั เกิดความสุขรม่ เยน็ และมีโอกาสท่ีจะปรับปรงุ พฒั นาใหม้ ่ันคงกา้ วหนา้ ต่อไปไดด้ ังประสงค์ \" จริยธรรมของทหาร ทหาร คอื อาชีพ ๆ หนึ่ง แตเ่ ปน็ อาชีพของกล่มุ คนทีต่ ดิ อาวธุ ได้ชือ่ วา่ เปน็ ผ้ทู ่ีตอ้ งจดั การกบั เรื่องรุนแรง หรือ ใชก้ าลงั ความรุนแรง ทาหน้าท่ใี นการปอ้ งกันและรกั ษาประเทศชาติมาตง้ั แตม่ ีชาติ ทหารเปน็ อาชพี ที่มีเกยี รติ เปน็ สถาบนั อนั เก่าแก่ และเก่ยี วขอ้ งโดยตรงกบั ความม่นั คงแห่งชาติ สังคมไทยจึงยกยอ่ งว่า ทหารเป็นร้ัวของ ชาติ พระมหากษตั ริยท์ ุกพระองคท์ รงเปน็ ทหาร หากจะศึกษาธรรมของทหาร ปฐมบทกค็ วรเริม่ ดว้ ย ทศพิธราชธรรม ทศพธิ ราชธรรม หมายถึง ธรรมของพระราชา (ราชธรรม) ที่ สมเด็จพระสมั มาสัมพุทธเจ้า มีพทุ ธดารสั ไว้ในพระไตรปฎด ก มหาหงั สชาดก อนั ประกอบดว้ ย ๑. ทาน คอื การให้ พระราชาต้องเป็นผใู้ หค้ วามช่วยเหลือในสิ่งต่าง ๆ แก่พสกนกิ ร แสดงใหเ้ หน็ ถึงผู้ทยี่ ิง่ ใหญ่ จะต้องรู้จักเสยี สละ ๒. ศีล คอื ความประพฤตทิ ่ดี ีงามอยใู่ นศีลในธรรมละเวน้ เสียจากความชัว่ ท้ังปวง ๓. ปริจาคะ หมายถงึ การบรจิ าค ยอมสละทุกส่ิงเพ่ือประโยชนส์ ขุ ของสว่ นรวม ๔. อาชวะ หมายถงึ ความเป็นคนตรง จงรกั ภักดไี ม่คิดคดทรยศ ต่อประเทศชาตแิ ละประชาชน ๕. มทั วะ หมายถึง ความสภุ าพอ่อนโยนต่อคนทง้ั หลาย ๖. ตปะ หมายถงึ ความเพียร ไมล่ ดละเบื่อหนา่ ยในกจิ ทง้ั ปวง ๗. อโกธะ หมายถงึ ไมโ่ กรธ ไมล่ ุแก่อานาจ ๘. อวหิ ิงสา หมายถึง ไม่เบยี ดเบยี นอาณาประชาราษฎร์ มคี วามกรุณาแผ่ไปอย่างทว่ั ถึง ๙. ขนั ติ หมายถึง ความอดทน ทนต่อโลภ โกรธ หลง ทั้งกายวาจาใจ ๑๐. อวโิ รธนะ หมายถึง ไม่ยอมให้เกดิ ความบกพร่องผิดพลาด กระทาการต่าง ๆ ดว้ ยความรอบคอบ ทรงเป็นจอมทพั เปน็ จอมทหาร ราชธรรมของพระองค์มิได้หวงหา้ มว่าเปน็ ของส่วนพระองค์ ทหารหา้ มนาไป ปฏบิ ตั ิ แตก่ ลบั เป็นแบบอยา่ งท่ีดขี องนายทหาร ควรไดศ้ ึกษาและนาไปประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ ามรอยพระยุคลบาท สบื ไป ดังพระราชดารัสของ สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอย่หู วั ฯ ว่า “แทจ้ รงิ แลว้ ทกุ ประเทศท่ัวโลก นบั แต่โบราณมา ยกย่องวา่ ทหารเป็นจาพวกที่มเี กียรติยศสูง 72
เกียรตยิ ศใหญ่ จนเกิดคาว่า ‘ขตั ติยฤากษัตรยิ ์’ ซง่ึ เป็นคาหมายชาตขิ องพวกหนงึ่ ซ่งึ เป็นทหารได้ใชเ้ ป็นคา เรยี ก พระเจ้าแผ่นดนิ ทั่วไปวา่ ‘พระมหากษัตริย์’ คือท่านผเู้ ปน็ ทหารใหญ่ เชน่ นถ้ี อื ว่า เป็นคายกย่องอยา่ งสูง ซงึ่ พอจะยกยอ่ งได้ ซ่งึ ทหารเป็นผแู้ ปลกจากโจร กเ็ พราะเป็นผมู้ คี วามสัตย์ ถือมนั่ ในธรรมของทหาร คอื การใช้ ศาสตราวธุ ในการท่ตี ัง้ ใจไว้ เพื่อรักษา ชาติ ศาสนา แลบ้านเมือง เป็นต้น มคี วามกลา้ หาญ ไม่แกค่ วามยาก ไม่ แกช่ วี ติ ในการทีจ่ ะรักษาธรรมและประเพณีของทหาร ….. ” (๑) (๑) พระราชดารัสตอบต่อกรมทหารบก ในพิธีที่ กรมทหารบกทูลเกลา้ ฯ ถวายคทาจอมพล ณ พระทีน่ ั่งจักรี มหาปราสาท เมอื่ วนั ที่ ๑๖ พฤศจกิ ายน ๒๔๔๖ ธรรมของทหารดังท่ที รงกลา่ วถงึ นน้ั ก็คือ จรรยาบรรณของทหารอาชีพ นัน่ เอง นอกจากนัน้ ยังพาดพงิ ถงึ ความมเี กียรติสงู มเี กยี รตใิ หญ่ของทหารอกี ดว้ ย ความหมายของจรรยาบรรณ จรรยาบรรณ หมายถึง ประมวลความประพฤติ ที่ผูป้ ระกอบอาชพี การงาน แตล่ ะอาชพี กาหนดขน้ึ เพือ่ รักษาและส่งเสริมเกียรตคิ ุณช่อื เสียงและฐานะของสมาชกิ อาจเขียนเป็นลายลกั ษณอ์ กั ษรหรือไมก่ ็ได้ จรรยาบรรณ หมายถึง จรยิ ธรรมของกล่มุ ชนผรู้ ่วมอาชีพรว่ มอดุ มการณ์ เป็นหลักประพฤติ หลกั จรยิ ธรรม มารยาท ทีท่ ุกคนเชือ่ ว่า เป็นส่งิ ท่ถี ูกตอ้ งดงี าม ควรจะร่วมกันรกั ษาไว้เพื่อธารงเกียรตแิ ละศรทั ธาจากประชาชน ละเมียดละไมกวา่ กฎระเบียบ ลกึ ซ้ึงกวา่ วินัย สูงคา่ เทยี บเทา่ อุดมการณ์ จรรยาบรรณ เปน็ สายใยของกลุ่มชนทรี่ ่วมอาชีพ ร่วมอุดมการณ์ เปน็ ระบบเกียรตศิ ักดท์ิ ่ใี ชด้ แู ลและ ปกครองกนั เอง เพอ่ื ดารงความเชื่อถอื และเกียรติคณุ แหง่ อาชพี ให้เป็นที่ศรทั ธาของสาธารณชน ความสาคญั ของจรรยาบรรณ มนุษย์เปน็ สัตวส์ งั คม ทป่ี รารถนาความยอมรับในสงั คมนัน้ เพอ่ื ให้สามารถอาศยั อย่รู ่วมกันได้อยา่ ง สงบสุข จงึ ต้องมกี ฎ กตกิ ามารยาทของการอยรู่ ว่ มกัน ในสงั คมท่เี จริญแล้วเขาจะไมม่ องแตค่ วามเจริญทาง วตั ถุ เชน่ ตึกรามถนนหนทางเท่านน้ั แต่เขาจะมองความเจริญทางด้านจติ ใจดว้ ย ในชมุ ชนที่เข้มแขง็ กล่มุ อาชีพต่าง ๆ จะมเี อกลกั ษณ์ท่ีชัดเจนทั้งความรู้ความสามารถและพนั ธกรณีทีม่ ตี ่อชุมชน กลมุ่ อาชพี จงึ มีความหมายมากกว่าการรวมกลมุ่ กันของผ้หู าเลย้ี งชีวติ ในวถิ ที างเดยี วกนั มีความหมายไปถงึ การเป็นสถาบันของมืออาชีพท่ีผูกพันอย่กู ับสงั คม เพื่อดารงรกั ษาเกียรตแิ ละความยอมรบั กลุม่ อาชีพตอ้ ง พฒั นากลุ่มของตน ดว้ ยการยกฐานะและรกั ษาระดบั มาตรฐานอาชีพของพวกตนอยา่ งต่อเนื่อง ฐานะแหง่ อาชพี น้นั ข้นึ อย่กู บั ความประพฤติ จริยธรรม และจรรยาบรรณ ของแตล่ ะคนในกลมุ่ อาชีพ แต่ ความเปน็ มอื อาชีพกไ็ มอ่ าจประเมนิ ค่าตนหรือประเมนิ คา่ กนั เองได้ ขึน้ อย่กู บั ความยอมรับนบั ถอื ของสงั คม อาชพี ทหารถือกาเนดิ ข้นึ มานานแลว้ ควบคู่กับสงั คม ประวัตศิ าสตร์สงครามกว่า ๕,๐๐๐ ปี คือประจักษ์พยาน ของการคงอยู่ของอาชพี ทหาร จุดมุ่งหมายสงู สดุ ของทหารอาชีพคือการสรา้ งความม่นั คงของชาติ สร้างความ แข็งแกรง่ ของตนเองให้เป็นหลกั ประกนั แหง่ สันติภาพ ปกป้องชีวิตและทรพั ยส์ นิ ให้สังคมดารงอยอู่ ย่างสนั ติสขุ มิใช่ม่งุ แตจ่ ะทาสงคราม หัวหนา้ ของกล่มุ อาชพี ทหารแตโ่ บราณมาก็คอื กษัตรยิ ์ ซ่งึ กเ็ ป็นผ้นู าชาติผู้นาสังคมดว้ ยในเวลาเดยี วกัน ทหาร จงึ ไดร้ ับเกียรตอิ นั สูงสง่ วา่ เปน็ อาชีพทเ่ี สยี สละ อทุ ศิ ไดแ้ ม้กระท่งั ชีวิตเพือ่ รักษาเอกราชและอธปิ ไตยของชาติ ประเทศ 73
คาจากัดความของ\"มอื อาชีพ\" คาว่า \" มืออาชพี \" (PROFESSIONAL) หรือ ความเป็นมือโปรนี้ ต้องมีคณุ ลกั ษณะพิเศษ และมีความ เชย่ี วชาญเฉพาะเรอ่ื งตามแต่ละแขนงอาชพี มีองคค์ วามรู้เป็นแก่นกลาง ท่ีสร้างสมและสบื ทอดตอ่ ๆ กันมา จนสามารถนาไปใช้หาเลยี้ งชีพได้ หรอื นาไปใชใ้ ห้เกิดประโยชนส์ ุขต่อสงั คมใหม้ สี วัสดิภาพหรอื ความเป็นอย่ทู ่ี ดขี ึ้น อย่างไรกต็ าม ข้ันต่าสดุ ต้องเกง่ กวา่ รู้มากกว่า \"มือสมัครเล่น\" ความเป็นมืออาชพี จึงไม่มีแตม้ ต่อ ซ่ึง หมายถึงศักดิ์ศรี อันเป็นที่ยอมรบั นับถอื ในสว่ นของ \"ฝมี อื \" กห็ าใช่วา่ จะได้มาเนอื่ งจากพรสวรรค์เท่าน้ันไม่ แต่จะตอ้ งมคี วามบากบ่นั อุตสาหะ พัฒนา ฝีมือน้ันอย่างต่อเนอื่ งไมห่ ยุดยั้ง ต้องเพียบพรอ้ มไปด้วย ความสขุ มุ ถ่อมตน มองการณ์ไกล แตเ่ หนือสิ่งอน่ื ใด ตอ้ งเป่ียมไปดว้ ย คณุ ธรรม และ จรรยาบรรณแห่งวชิ าชีพ ควบคู่ไปกบั คุณสมบัตพิ เิ ศษทก่ี ล่าวมาแล้วข้างต้น ท้งั หมด ความเป็นมืออาชีพทางทหาร \"ทหารอาชีพ\" ภาษาอังกฤษใชค้ าวา่ \"PROFESSION OF ARMS\" ซึง่ อาจแปลว่า \"ความเปน็ มืออาชพี ของ ผ้ถู อื อาวุธ\"แสดงถงึ ความมีอานาจในตวั เอง แตอ่ านาจของทหารเป็นส่ิงที่สังคมมอบให้ เช่น อานาจในการ เกณฑ์ การระดม จงึ ตอ้ งตามตดิ มาด้วย หน้าทีแ่ ละความรับผดิ ชอบ อาชีพทหาร มเี อกลกั ษณ์พิเศษกวา่ อาชพี อืน่ ตรงที่ทหารเป็นกล่มุ ชนท่ีถอื อาวุธ มเี ครือ่ งแบบ มียศมรี ะบบ อาวุโส รกั หม่รู ักคณะ และ มีวินยั ทเ่ี ครง่ ครัด แต่ที่เดน่ ชัดและเป็นที่เข้าใจกนั ดวี า่ อาชพี อ่นื อาจจะขาย ความคดิ ขายวิชา ขายบรกิ าร หรอื ขายความบันเทิง แต่ \"ทหารอาชพี น้นั ขายชีวิต\" ทหารอาชพี ต่างจาก ทหารรบั จ้าง ตรงทท่ี หารอาชพี น้นั มีจรรยาบรรณถึงขั้นพลีชีพไดเ้ มื่อชาตติ อ้ งการ ส่วน ทหารอาชีพ กับ คนท่ีมีอาชพี เป็นทหารก็เช่นกัน เขาอาจเชย่ี วชาญทัง้ บแู้ ละบนุ๋ เปน็ นกั ยทุ ธศาสตร์ช้ันยอด แต่ก็ไม่นบั ว่าเป็นทหารอาชพี หากเขาผูน้ ั้นไร้ซงึ่ จรรยาบรรณ ทีม่ าแหง่ จรรยาบรรณของทหารอาชพี คุณลักษณะโดยเน้อื แทข้ อง \" ทหารอาชีพ\" นน้ั ถูกกาหนดด้วยกฎหมาย ต้ังแตก่ ฎหมายสงู สุดคอื รฐั ธรรมนญู ไปจนถงึ กฎกระทรวง ข้อบังคับ คาส่งั และ ระเบียบ กฎเกณฑ์ ขนบธรรมเนียม จารีตประเพณี ที่สืบทอดกัน มานาน รวมถึงสง่ิ ทท่ี หารต้องยึดถอื ปฏิบตั ิ สิ่งเหลา่ นั้นเป็นเครอ่ื งกาหนดหนา้ ที่ และ บทบาทของทหารอาชีพในการรกั ษาความมนั่ คงของรัฐ รักษาเอก ราช ผลประโยชน์ของชาติ ทหารมหี น้าทรี่ บ และทาสงคราม เพอื่ ปกปอ้ งสถาบันพระมหากษัตริย์ รวมทั้งมี บทบาทในการพฒั นาประเทศ ซงึ่ อาจจากดั ความได้ว่า \"มอื อาชพี ผถู้ อื อาวุธจะใช้ศาสตราวุธในการทาสงคราม และจะใช้อาวุธทางปญั ญาในการพัฒนาประเทศ\" นอกจากกฎหมาย คาสัง่ ระเบียบ และขนบธรรมเนียม ตา่ ง ๆ แลว้ กย็ ังมีคาปฏิญาณ ซ่ึงเปรยี บได้ ด่ังคาสาบานต่อสงิ่ ศักด์ิสิทธทิ์ ้ังหลาย ท่เี หล่าทหารได้ใหส้ ัจจะวาจาไว้ แสดงถึงความผูกพันทง้ั ทางกายและจิต วิญญาณ จงึ เป็นแนวทางของจริยธรรมและสัญญาท่ีจะตอ้ งยึดม่ัน ตอ่ องคพ์ ระประมุข ผูบ้ งั คบั บัญชาและ ประชาชน ดงั เช่น คาสัตย์ปฏิญาณตนตอ่ ธงชยั เฉลิมพล ดังน้ี • ขา้ พเจา้ จักยอมตาย เพื่ออสิ รภาพ และความสงบสุขของชาติ • ขา้ พเจา้ จักอย่ใู นศลี ธรรมอันดีของศาสนา • ข้าพเจ้า จกั เทิดทูนและรกั ษาไว้ ซงึ่ พระบรมเดชานภุ าพแหง่ พระมหากษตั ริย์เจา้ • ข้าพเจา้ จกั รักษาไว้ซงึ่ การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย อันมพี ระมหากษตั รยิ เ์ ป็นองค์พระประมขุ • ข้าพเจ้า จกั เชอ่ื ถือผ้บู ังคบั บญั ชา และปฏิบัตติ ามคาส่งั โดยเครง่ ครัด ทง้ั จกั ปกครองผูใ้ ต้บงั คบั บญั ชาดว้ ย ความยตุ ิธรรม 74
• ข้าพเจา้ จักไม่แพรง่ พรายความลบั ของทางราชการทหารเป็นอนั ขาด นอกจากน้นั ก็ยงั มีคาปฏญิ าณ ทนี่ ักเรียนทหารปฏญิ าณอยเู่ ปน็ ประจา ดงั น้ี • ไม่มอี ะไรทท่ี าไม่ได้ • ตายเสยี ดกี วา่ ที่จะละทิ้งหนา้ ท่ี • ตายในสนามรบเปน็ เกียรติของทหาร • คาส่งั ของผบู้ ังคบั บญั ชา คือพรจากสวรรค์ • เราจะตอ้ งระลกึ และยดึ มัน่ ในสิง่ ต่อไปนคี้ ือ ชาติ เกียรติ วินัย กล้าหาญ • ชาติของเราเป็นไทยอยูไ่ ด้จนตราบเท่าทุกวนั นี้ เพราะบรรพบรุ ุษของเราเอาเลอื ดเอาเนื้อ เอาชีวติ และความ ลาบากยากเข็ญเข้าแลกไว้ เราตอ้ งบารุงชาตเิ ราต้องรกั ษาชาติ เราต้องสละชีพเพื่อชาติ • เราจะไมโ่ กหก ไมโ่ กง ไมข่ โมย และจะไม่ยอมใหผ้ ใู้ ดกระทาเช่นนน้ั จากคาปฏญิ าณเหลา่ น้ี สะท้อนใหเ้ หน็ ถงึ กระบวนการหล่อหลอมจติ ใจของทหาร ทแี่ ฝงไว้ด้วยจรยิ ธรรมหรอื จรรยาบรรณของทหารอาชีพ และจะสังเกตได้วา่ บางกรณีนน้ั เปน็ เร่อื งท่ีละเอยี ดออ่ น หรือเข้มงวดเสยี ยิ่งกว่า หนา้ ท่คี วามเป็นพลเมืองดขี องสังคม ของชาติ บางเร่ืองเปน็ มารยาท เปน็ วิถีปฏิบตั เิ ฉพาะของแตล่ ะเหล่าแต่ ละพวกในหมทู่ หาร เชน่ การไมเ่ ลือกทรี่ ักมกั ที่ชงั ในการดูแลรักษาของแพทย์ พยาบาล การใสใ่ จในความเปน็ สุภาพบุรษุ สุภาพสตรี ความเมตตาแก่ผู้คนโดยไม่เลือกชน้ั วรรณะ นอกจากนั้นในหลายกรณแี ละหลายเรื่องไม่ปรากฏเป็นลายลกั ษณ์อกั ษร แต่เป็นที่ร้กู นั เปน็ ทเ่ี ข้าใจกนั ใน หมูช่ นร่วมอาชีพ ร่วมอุดมการณ์ อาทิ จรรยาบรรณของแพทย์ ท่จี ะตอ้ งรกั ษาความลบั ของคนไข้ จรรยาบรรณของครู ทจ่ี ะไม่เลอื กที่รักมักที่ชังในการสอน เมตตาเทา่ กนั อยา่ งบริสทุ ธ์ิใจ จรรยาบรรณของทหาร ที่พร้อมจะสละชีวติ และความสขุ สว่ นตัวเพอ่ื ชาติ จรรยาบรรณของนักบินรบ ที่จะไมม่ ุ่งเขน่ ฆ่าเป็นการสว่ นตวั แม้กับศัตรูคู่อาฆาต จรรยาบรรณของนกั บนิ ขบั ไล่ ที่จะไม่ผลักดนั ใหเ้ พ่ือนตกเป็นเหยอ่ื เพ่ือตนจะได้โอกาสสงั หารข้าศึก หรอื ได้ เป็นเสอื อากาศบนซากศพของเพ่อื นพอ้ ง จรรยาบรรณของนักบนิ ลาเลยี งท่ีจะต้องคานงึ ถงึ ความปลอดภยั ของผโู้ ดยสาร ไม่พาชวี ิตของผโู้ ดยสารไปเสีย่ ง จรรยาบรรณของสงฆ์ ทจ่ี ะไม่เข้าไปยงุ่ เกี่ยวในเรื่องของสามีภรรยา หรอื เรือ่ งทไี่ ม่ใชก่ จิ ของสงฆ์ เหล่าน้ีเปน็ ตน้ เม่อื พจิ ารณามาถึงขั้นนจี้ ะเห็นว่า จรรยาบรรณน้ันบางกรณี มีระดับของความดที ่ีตอ้ งการเหนือกว่าความ ดที วั่ ๆ ไป เหนือกว่าการเปน็ พลเมอื งดีของชาติ ของสังคมหรือของกลุ่มอาชพี อ่ืน บางครง้ั เป็นเรอ่ื งของ มารยาท ดงั เช่น มารยาทขณะทอ่ี ยู่บนกรีนของนกั กอลฟ์ หากไม่ยดึ ถือนาพา กจ็ ะถูกสงั คมลงโทษ ท่ีทางพระ ทา่ นเรยี กวา่ “โลกวัชชะ” (โทษทางโลก อาบัติทเี่ ป็นโทษทางโลก อาจจะไมผ่ ดิ พระวินยั แต่โลกติเตียน ประณามวา่ ไมเ่ หมาะสมไมถ่ กู ไม่ควร) ดังน้นั กลมุ่ อาชพี ใดท่ีปรารถนาจะดารงความเชอ่ื ถือศรัทธาจากชุมชน ก็ จะบญั ญตั ปิ ระมวลจรรยาบรรณไว้ หรอื อบรมสงั่ สอนกันตอ่ ๆ มา หรือรกั ษามาตรฐานแหง่ วิชาชีพ ด้วยการ กาหนดให้เขา้ รบั การศกึ ษาอบรม ถ้าเห็นว่าจาเป็น หลกั จรรยาบรรณของทหารอาชพี จรงิ คาว่า “จริยธรรม” กห็ มายถึงหลักธรรมที่บุคคลควรประพฤติอยูแ่ ล้ว อย่างไรกต็ าม ณ ท่นี ้ใี ห้ 75
ถือเสียวา่ หลักจรรยาบรรณของทหารอาชีพ เป็นกรอบของหลกั การกวา้ ง ๆ แห่งจรรยาบรรณ ซึ่งไม่มรี ะบุไว้ ท่ีใด แตพ่ อทีจ่ ะสงั เกตไดจ้ าก คาสอน โอวาทของบรรพชน และคาปฏิญาณ ดังเชน่ “เราจะตอ้ งระลึกและยึด มนั่ ในสิ่งตอ่ ไปนีค้ ือ ชาติ เกียรติ วนิ ัย กล้าหาญ” ๑. ชาติ เปน็ ส่ิงทท่ี หารตอ้ งยึดมน่ั ไม่ว่าจะเปน็ ทหารเหล่าใด สงั กัดใด แม้ว่าทกุ คนจะมีหน้าที่ รบั ผดิ ชอบเฉพาะเร่อื งเฉพาะสาขา แต่ทุกคนกเ็ ป็นสว่ นหน่งึ ของกองทัพ เม่ือรวมกนั แล้วจดุ มุ่งหมายสูงสดุ ก็ ตอ้ งทาเพ่ือชาติ ตอ้ งเสยี สละไดท้ กุ อยา่ งแมช้ ีวติ เพื่อชาติ สงิ่ เหลา่ นี้ พวกนักเรียนนายร้อยเวสปอยท์ เรยี กวา่ “ความดีท่ที าได้ยาก” พวกเขาตั้งปณธิ านไว้วา่ “พวกเขายนิ ดที จ่ี ะกระทาในส่งิ ทถี่ กู ตอ้ งแม้ยากยิ่ง มากกวา่ จะ ทาในสิ่งทไี่ มถ่ ูกต้องทที่ าได้งา่ ยและเยา้ ยวนกว่า” (โดยเฉพาะเพ่อื ผลประโยชนข์ องตน ของครอบครวั หรอื พวก พอ้ งกลุ่มเล็ก ๆ ) การตดั สนิ ใจทกุ เรอ่ื ง จงึ ตอ้ งคานึงถงึ เพอื่ สว่ นรวมเพ่ือชาติ มากกวา่ เพือ่ ตนเองและ ครอบครวั หัวใจสาคญั ในระบบเกียรตศิ กั ดิ์ คอื ความจงรักภักดตี อ่ ชาติ ศาสนาและพระมหากษัตรยิ ์ เปน็ ความ จงรักภักดีในอดุ มคติ ท่สี ะทอ้ นจากพฤตกิ รรมของกลมุ่ อาชีพ มาสู่ทหารแตล่ ะคน บนพื้นฐานของ คุณลกั ษณะ ความซอ่ื สตั ย์ และความรักชาติ ดังน้ันคาวา่ ชาตใิ นที่นี้กค็ ือ ความรักชาติ ดงั ท่นี ายพล จอรจ์ ซี มารแ์ ชล ว่า “ ความจงรักภกั ดีสงู สุด คอื ความจงรักภกั ดตี อ่ ชาติ ไมใ่ ช่จงรกั ภักดตี ่อผูบ้ งั คบั บญั ชา” ๒. เกยี รติ เกยี รติ เปน็ เรือ่ งท่ลี ะเอียดอ่อน หากปรารถนาจะมเี กียรติ ไดร้ ับเกียรติ จะตอ้ งมงุ่ มน่ั ประพฤตติ นอยใู่ นความดี อย่างต่อเน่ืองสม่าเสมอ ตอ้ งรู้จกั ใหเ้ กยี รตผิ อู้ ืน่ กอ่ น ตอ้ งรจู้ กั นบั ถอื ตนเองก่อนใหผ้ อู้ ่นื นบั ถือ เพราะเกยี รติ เปน็ เพียงสะพานนาไปสคู่ วามนับถอื ศรทั ธา และไมใ่ ชเ่ กียรติแห่งตนเท่านั้นแตเ่ ป็นเกยี รตขิ องกลุ่มอาชีพ ปลา เน่าตวั เดยี วก็เหม็นไปทัง้ ขอ้ ง ทหารมรี ะบบเกยี รติศักด์ิ ที่สอนให้ทหารมวี ินัยอนั เคร่งครดั แม้จะไมม่ ใี ครจับได้ แม้จะไมถ่ ูกกล่าวหา ตนเองควรจะรวู้ า่ ส่ิงท่ีทาไปนนั้ ควรไมค่ วรประการใด หากพลาดพลง้ั จะตอ้ งสารภาพ สานกึ ผิด แกไ้ ข โดยทีไ่ ม่ ต้องให้ใครมาวา่ กล่าวตักเตือน ส่งิ เหล่านี้ทางพระทา่ นเรียกวา่ “โอตตัปปะ”ความละอายตอ่ บาป ความเกรง กลวั ต่อบาป อนั เปน็ รากฐานของความซอื่ สัตยส์ ุจริต “เกียรติ คอื ภาษาของทหาร” เม่อื ประพฤตไิ ด้เชน่ นจ้ี งึ สมควรท่ีจะไดร้ ับการยกย่อง นับเปน็ ผ้ทู ีม่ ีเกียรติ มศี ักดศ์ิ รี และเมื่อกลมุ่ คนประเภทน้ีมาอยรู่ ว่ มกัน เปน็ กลุ่มอาชีพ ประพฤตเิ ช่นนส้ี ืบเนอ่ื งมายาวนาน กลุ่มอาชพี ทหารจงึ ไดร้ บั เกยี รติ ไดร้ บั การยกยอ่ งมคี านาหน้าช่ือเชน่ ผพู้ ัน ผูก้ าร ไดร้ บั เครื่องราชอิสรยิ าภรณ์ เหรียญตราประกาศเกยี รติคุณ ให้เป็นท่ปี รากฏกนั โดยท่วั ไป เกยี รติของทหารเป็นท่ยี อมรับในทุกสงั คมทั่วโลก ทหารถูกสอนมาให้เปน็ สภุ าพบุรุษ เปน็ ผู้ดี ดงั คา กล่าวของนายพล จอร์จ วอชงิ ตนั ท่วี ่า “งานการสร้างนายทหารทีด่ ี คือการตอ่ ลมหายใจให้กองทพั อันเปน็ งานท่ีไมม่ วี นั จะจบสน้ิ แตง่ านนั้นจะมีคุณค่าอยา่ งแทจ้ ริง ก็ตอ่ เมอ่ื สามารถสรา้ งใหเ้ ขาเป็นไดท้ ั้งนายทหารท่ดี ี และสุภาพบรุ ุษไปพรอ้ มกนั ” ๓. วินยั วนิ ัยคอื หัวใจของทหาร ทหารเปน็ กล่มุ คนผ้ถู ืออาวุธ หากไร้วนิ ยั แลว้ แทนท่ีจะปกป้องสังคม จะกลับ เป็นมหันตภยั ในการทาลายลา้ ง การอบรมของทหารจะม่งุ เนน้ ในเรอ่ื ง \"วนิ ัยของทหารอาชพี ผู้ถอื อาวุธ\" (DISCIPLINE OF THE PROFESSION OF ARMS) หรอื เรียกอกี อย่างหน่ึงว่า \"จรรยาบรรณแห่งทหารอาชพี \" นนั่ เอง ๔. กลา้ หาญ 76
ทหารเปน็ อาชพี ท่จี ะต้องเสยี สละความสุขส่วนตัว มชี ีวติ ท่ีต้องลาบากตรากตรา และเสีย่ งภัยจากการ สรู้ บ จึงเหมาะสาหรบั ผทู้ ม่ี ีความกล้าหาญ รกั การผจญภยั มีจติ วิญญาณของนกั สู้ ความกล้าหาญของทหารถือเปน็ หน้าที่ กล้าหาญหมายถงึ ความกลา้ ทีป่ ระกอบไปด้วยสติ จิตสานึก ความรูส้ ึกรบั ผิดชอบ ไม่ใชก่ ล้าบ้าบน่ิ เพราะอารมณ์พล่งุ พล่านขาดสติ อาชีพทหารน้นั มีศกั ย์เหนอื กวา่ อาชีพอ่ืน ตรงที่มีอานาจ หนา้ ท่ี และความรับผิดชอบสงู กวา่ ในเวลาสงคราม จะปรากฏใหเ้ หน็ เด่นชดั มีกฎอัยการศึก สามารถลงโทษ เกณฑ์/ยดึ ทรพั ยส์ นิ มาใช้ในราชการสงครามได้ เป็น อานาจในการสง่ั ใชก้ าลัง เขา้ แกป้ ญั หาสงั คม/การเมืองของชาติ จรรยาบรรณของทหารมอื อาชพี จรรยาบรรณของทหารมอื อาชพี เป็นจรรยาบรรณท่ีมมี าตรฐานสูงส่ง ซึ่งประกอบด้วย ๑ การเชื่อฟงั และจงรักภกั ดี (OBEDIENCE AND LOYALTY) ทหารเปน็ เพียงเคร่อื งมอื หรือพลงั อานาจเพือ่ สนองนโยบายของชาติที่ถูกกาหนดขนึ้ โดยนักการเมือง หลังจากทีเ่ ผชญิ กบั ดักโลกาภวิ ัฒน์จนเกิดวิกฤตเิ ศรษฐกจิ ตามมาดว้ ยวิกฤติสงั คม เกดิ กระแสการเรียกรอ้ ง ตอ้ งการทหารทโ่ี ปร่งใสทนั สมัย และมอี สิ ระทางความคิด ซึ่งดอู อกจะขัดกนั ท่ีใหม้ เี สรภี าพทางความคดิ แต่ ต้องเช่อื ฟังคาส่ังทีช่ อบด้วยกฏหมาย ระบบการศึกษาของทหารอาชพี (PME) จะสอนให้ปัจเจกชนมีเสรีภาพ ทางความคดิ แตเ่ ม่อื มาอยใู่ นธรุ กิจทีม่ เี ดมิ พนั สูงของทหาร เขากลับต้องจงรักภักดีต่อผบู้ งั คบั บญั ชา แมว้ า่ จะ ไมช่ อบเป็นการส่วนตวั ก็ตาม เขาสามารถเสนอความคดิ ที่ขัดแยง้ ได้ แต่เมอื่ ผู้บังคับบัญชาตกลงใจแล้ว ทกุ สง่ิ ทกุ อย่างจะจบลง ทุกคนจะระดมความพยายามให้ข้อตกลงใจนัน้ สาเร็จ โดยไมค่ านงึ ถึงความคิดเดมิ ของตน ๒ วินยั (DISCIPLINE) เป็นหวั ใจของทหารเชน่ เดียวกับ การเช่ือฟัง เป็นปจั จยั แหง่ ความสาเรจ็ ในปฏบิ ัตกิ าร วินัย จะเป็น หลักประกนั วา่ คาส่งั ของผู้บังคับบญั ชาจะได้รับการปฏิบตั ิในทนั ที และดว้ ยศรทั ธาทเี่ ตม็ เป่ยี ม เปน็ เครื่อง ตดั สนิ ผลลพั ธ์ของสงครามวา่ จะพ่ายแพห้ รือไดช้ ัยชนะ หนุ่ ยนต์ทไ่ี ม่มีสมองดูจะมวี นิ ยั เยยี่ มท่ีสดุ แตท่ หารทม่ี ี สมองร้จู กั คิดออกจะยากท่ใี ห้ศรทั ธาในคาสงั่ ท่ีไรเ้ หตผุ ล ทาอยา่ งไรทจ่ี ะทาใหท้ หารมสี มองรู้จกั คิด และมีวินัย เย่ียมด้วยในขณะเดียวกนั คาตอบอยู่ท่ี ระบบการศกึ ษาของทหาร ๓ การเสียสละไม่เหน็ แกต่ วั (SELFLESSNESS) ทหารมอื อาชีพจะเลือกหน้าทีใ่ ห้อย่เู หนือส่งิ อนื่ ใด แมผ้ ลประโยชนข์ องตนก็สละให้ได้ มคี ากล่าววา่ เงินเดือนของทหารไม่มวี นั ทาใหท้ หารรา่ รวย หากผู้ใดหวงั จะมชี ีวิตสมบรู ณพ์ นู สุขไปด้วย ทรพั ยศ์ ฤงคารทาง วตั ถุแล้วเลอื กมาเปน็ ทหาร จะผิดหวงั ทเ่ี ลอื กเดินทางผดิ แต่หากปรารถนาจะได้รบั ร้สู ัมผสั ท่ีลกึ ล้าแห่งจิตใจ ความพอใจ ความปลาบปลืม้ ท่ไี ดจ้ ากการเสยี สละอนั ยง่ิ ใหญ่ เชน่ การพลชี พี เพ่ือแผ่นดนิ แลว้ เขาผ้นู ั้นจะ รา่ รวยอุดมสมบรู ณใ์ นรางวลั แหง่ ใจ ทีไ่ ด้เลอื กทางเดนิ มาเปน็ “ทหารมืออาชีพ\" ๔ เกียรตยิ ศและความซือ่ สตั ย์ (HONOR AND INTEGRITY) สังคมทุกวนั น้เี ตม็ ไปด้วยบรรยากาศของการแข่งขนั ซง่ึ นับวนั แต่จะหา่ งไกลจากความร้สู กึ นึกถึง คณุ ค่าทางจติ ใจแม้แตใ่ นสงั คมอันมีเกยี รติของทหาร ทหารผู้ซงึ่ มเี อกลักษณข์ องความเป็นสภุ าพบุรุษ มี เกียรติยศสง่างามดว้ ยเครือ่ งแบบ ผู้ท่ีเพยี งแต่ \"มีอาชพี เป็นทหาร\" แต่มิได้เป็น \"ทหารมอื อาชพี \" มีให้เห็นอยู่ ดาษดน่ื เขาไม่ผิดที่คิดทะเยอทะยาน อยากกา้ วหนา้ ไดเ้ ล่ือนยศเลอื่ นตาแหนง่ เกมของเขาจะทาทกุ วิถที าง เพือ่ สนองความต้องการสว่ นตัว โดยไม่คานึงถงึ สิ่งอืน่ ใด เขาจะใชผ้ ู้ร่วมงานเปน็ บนั ไดสคู่ วามสาเร็จ เขาจะรับ แต่ความดีความชอบ แต่จะโยนความผดิ ไปให้ผอู้ นื่ หากระบบการศึกษาของทหารมืออาชีพซึ่งทาหนา้ ท่ี กลัน่ กรอง และปลูกฝังอดุ มการณ์เหล่าน้ี ไร้ประสิทธภิ าพ เราจะได้ผู้นาทางทหารท่ีไรเ้ กยี รติ ขีโ้ กง ตลบตะแลง อคติ และเหน็ แก่ตัว เมอื่ เป็นเช่นนัน้ กอ็ ย่าหวงั เลยวา่ ชาตปิ ระเทศจะรกั ษาความเปน็ เอกราช อธิปไตยไวอ้ ยู่ได้ จงเตรียมตัวเผชญิ กับภาวการณ์”ส้นิ ชาติ”ได้เลย 77
ปัญหาทางจรรยาบรรณ ในทกุ วชิ าชีพตา่ งพยายามสรา้ งกรอบกติกาให้สมาชกิ ยึดถอื ปฏบิ ัติ เพอื่ จะได้เป็นท่ยี อมรับศรัทธาจากสังคม และยกระดบั มาตรฐานวิชาชีพอย่างต่อเน่อื ง เพอื่ เสรมิ สรา้ งเกยี รติภมู ิความเป็นมอื อาชพี แห่งตน แต่เป็นท่ี แน่นอนวา่ ในทกุ สังคมยอ่ มมที ั้งคนดแี ละคนไม่ดี คนไม่ดกี ต็ ้ังหนา้ แตจ่ ะทาลายเกียรตภิ ูมิของอาชีพ ปัญหา จรรยาบรรณจงึ เปน็ ส่วนหนึ่งของปญั หาสงั คม ความไว้วางใจเชือ่ ถอื ศรัทธาก็ไม่สามารถสรา้ งใหเ้ กดิ ไดใ้ นวนั เดยี ว จาเปน็ ต้องพิจารณาในภาพรวมและดูกนั นานๆ สงั คมเองนน่ั แหละจะเปน็ ผตู้ ดั สนิ สะทอ้ นออกมาให้ปรากฏทางพฤตกิ รรม และความรู้สกึ ว่าจะ ไว้วางใจและเชื่อถือตอ่ กลมุ่ อาชีพน้นั ในลกั ษณะใด เครอื่ งช้ีนบี้ างครง้ั ก็เรียกกนั วา่ ภาพลกั ษณ์ ท่ีทุกวันน้ี ปรากฏแต่การสรา้ งภาพ เวลาเท่าน้ันจะเปน็ เครอื่ งพสิ ูจน์คุณงามความดขี องบุคคล ของกลุม่ อาชีพ ความเชือ่ ถอื ศรทั ธาของคนหม่มู ากเป็นพลงั มหศั จรรย์ทจ่ี ะทาในสง่ิ ทคี่ าดไม่ถึง เชน่ ทท่ี หารเรียกว่า หลกั นยิ ม เนอื่ งจาก พระทา่ นสอนวา่ ”ใจเปน็ นายกายเป็นบ่าว”กาลงั ใจของคนทาให้งานยาก ๆ สมั ฤทธ์ิผลเป็น ปาฏิหารยิ ์มามากแลว้ ยิง่ เป็นพลังใจของกล่มุ คนที่หลอมรวมกัน สงครามทีว่ ่ายิ่งใหญ่แสนเข็ญก็สามารถ เอาชนะได้ แม้จะมีกาลงั รบท่มี ตี ัวตนด้อยกวา่ ภาพลักษณ์ทีท่ าให้ทหารอาชีพเสียหาย ตัวอย่างเชน่ การกระทาปฏวิ ตั ิรฐั ประหาร การทจุ รติ คอร์รัปช่นั การเขา้ ไปแทรกแซงทางการเมอื งเพอื่ หวงั อานาจโดยไมบ่ ริสุทธ์ใิ จตอ่ แผน่ ดนิ ตวั อย่างเหลา่ น้ที าให้ สงั คมเกิดความคลางแคลงในความเปน็ มอื อาชพี ของทหาร เหตกุ ารณ์ทสี่ ะท้อนถงึ จรรยาบรรณที่ดีงามของทหาร ๑. เหตกุ ารณ์ในวนั ท่ี ๑๔ ต.ค.๑๖ และ ๑๗–๒๕ พ.ค.๓๕ เกดิ จลาจล จนในหลวงฯตอ้ งออกมาแก้ สถานการณ์ ทั้งทฝ่ี ่ายทหารมีอานาจเต็ม หากหวงอานาจ ไม่เห็นแก่ความจงรักภกั ดี อะไรจะเกิดข้นึ นอกจาก ประเทศไทยแลว้ จะมที ่ไี หนอีกในโลก ประเทศท่ปี กครองโดยทหารมักจบลงด้วยการปราบปรามอยา่ งรนุ แรง เชน่ การจลาจลใน ลอสแองเจลลสี กต็ าม ๒. ฝา่ ยกบฏจับ พล.อ. อรณุ ทวาทสนิ ให้ส่ังเคลื่อนย้ายกาลังเข้าสนับสนนุ แตท่ า่ นขดั ขืนจงึ ถกู สงั หารเมื่อ ๒๖ มี.ค.๒๐ แสดงถงึ การอบรมใหท้ หารมอี ุดมการณ์แกก่ ล้า ไมเ่ ขา้ ข้างฝ่ายกบฏแมเ้ พอื่ รักษาชีวติ ตนเอง พลี ชีพเพื่อความถูกต้อง เหตกุ ารณ์จงึ พลกิ กลับฝ่ายรัฐบาลได้ชัยชนะ ๓. ร.ต.สาราญ วงศจ์ ิว๋ หน.ชุด ลว.นย.๒๓๙๓ สมทบนายอาเภอและฝ่ายปกครอง เข้าจบั กุมแร่เถื่อนท่ีนา เงินไปสนับสนุน ผกค. ผูต้ อ้ งหาติดสนิ บน ๙ แสนบาท แต่เขาไมย่ อมรบั และจับกุมไปดาเนนิ คดี แสดงถงึ ความ รักเกียรติทีเ่ งินไมอ่ าจซ้อื เขาได้ ณ ท่าข้นึ ทา่ ศาลา นครศรฯี เม่อื ปี ๒๓ ๔. จอมพล ป.พิบูลสงคราม เมอื่ สน้ิ อานาจ พ.ศ.๒๕๐๐ ครอบครัวยังยากจนต้องประคองตวั เรอ่ื งรายจ่าย ท่านไมเ่ คยด่างพร้อยเรอื่ งทุจริต สรุป ภาพลกั ษณ์ของทหารไทย เปน็ สถาบนั ท่ีมหี นา้ ที่สาคญั ของชาติ จงรักภักดแี ละเทดิ ทนู ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ การจะธารงความเปน็ ทหารอาชีพไว้ได้ จะต้องไดร้ บั การอบรมปลูกฝังระเบียบวินยั คา่ นิยม และอดุ มการณอ์ ย่างเขม้ งวด เพ่อื ใหท้ หารยึดมนั่ ในศลี ธรรมและจรรยาบรรณของทหารอาชพี ความเพียร พยายามของกองทัพทจ่ี ะปลกู ฝงั จรยิ ธรรมและจรรยาบรรณน้ี จะสง่ เสรมิ ใหท้ หารได้แสดงออกถึง คุณธรรม ความกลา้ หาญ อดทน เสยี สละ เป็นแบบอยา่ งให้ปรากฏ เชน่ วรี ชนทหารไทย ท่ียังปรากฏและตราตรึงอยใู่ น ความทรงจาของคนไทยเสมอมา อันจะส่งผลให้ทหารไดร้ ับเกยี รติ ทง้ั ตอ่ ตนเอง วงศต์ ระกูล และกองทพั ไทยตลอดไป ................................................... 78
Search