โรงเรยี นทหารม้า วิชา แผนท-ี่ เข็มทิศ-เครือ่ งหมายทางทหาร รหัสวิชา ๐๑๐๒๐๕๐๔๐๑ หลักสตู รนายสบิ อาวุโส แผนกวิชาทั่วไป กศ.รร.ม.ศม. ปรชั ญา รร.ม.ศม. “ฝึกอบรมวิชาการทหาร วิทยาการทันสมัย ธารงไวซ้ ง่ึ คณุ ธรรม”
ปรชั ญา วิสยั ทัศน์ พันธกจิ วัตถปุ ระสงคก์ ารดาเนินงานของสถานศกึ ษา เอกลกั ษณ์ อัตลกั ษณ์ ๑. ปรัชญา ทหารม้าเป็นทหารเหล่าหน่ึงในกองทัพบก ท่ีใช้ม้าหรือส่ิงกาเนิดความเร็วอ่ืน ๆ เป็นพาหนะ เป็นเหล่าที่มีความสาคัญ และจาเป็นเหล่าหน่ึง สาหรับกองทหารขนาดใหญ่ เช่นเดียวกับเหล่าทหารอ่ืน ๆ โดยมีคุณลักษณะ ที่มีความคล่องแคล่ว รวดเร็วในการเคล่ือนท่ี อานาจการยิงรุนแรง และอานาจในการทาลายและข่มขวัญ อันเป็นคณุ ลกั ษณะทส่ี าคัญและจาเปน็ ของเหลา่ โรงเรียนทหารม้า ศนู ยก์ ารทหารม้า มปี รัชญาดังนี้ “ฝึกอบรมวิชาการทหาร วทิ ยาการทนั สมยั ธารงไว้ซ่ึงคุณธรรม” ๒. วิสยั ทศั น์ “โรงเรียนทหารม้า ศูนย์การทหารม้า เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้วิชาการเหล่าทหารม้าท่ีทันสมัย ผลิตกาลังพลของเหลา่ ทหารม้า ให้มีลกั ษณะทางทหารท่ีดี มคี ณุ ธรรม เพอื่ เป็นกาลังหลักของกองทัพบก” ๓. พันธกจิ ๓.๑ วิจัยและพัฒนาระบบการศกึ ษา ๓.๒ พฒั นาคณุ ภาพครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ๓.๓ จัดการฝกึ อบรมทางวชิ าการเหล่าทหารมา้ และเหล่าอื่นๆ ตามนโยบายของกองทพั บก ๓.๔ ผลิตกาลงั พลของเหลา่ ทหารมา้ ให้เปน็ ไปตามวัตถปุ ระสงคข์ องหลกั สตู ร ๓.๕ พฒั นาสื่อการเรยี นการสอน เอกสาร ตาราของโรงเรียนทหารมา้ ๓.๖ ปกครองบังคับบัญชากาลังพลของหน่วย และผู้เข้ารับการศึกษาหลักสูตรต่างๆ ให้อยู่บนพื้นฐาน คุณธรรม จริยธรรม ๔. วตั ถุประสงคข์ องสถานศกึ ษา ๔.๑ เพอื่ พฒั นาครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษา ให้มีความรู้ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ ให้กับ ผเู้ ข้ารบั การศกึ ษาได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ๔.๒ เพื่อพัฒนาระบบการศึกษา และจดั การเรียนการสอนผ่านสือ่ อิเล็กทรอนิกส์ ให้มคี ณุ ภาพอยา่ งตอ่ เนื่อง ๔.๓ เพ่ือดาเนินการฝึกศึกษา ให้กับนายทหารช้ันประทวน ที่โรงเรียนทหารม้าผลิต และกาลังพลท่ีเข้ารับ การศึกษา ใหม้ คี วามรคู้ วามสามารถตามที่หน่วย และกองทัพบกตอ้ งการ ๔.๔ เพอื่ พฒั นาระบบการบรหิ าร และการจดั การทรัพยากรสนับสนนุ การเรียนรู้ ใหเ้ กิดประโยชนส์ งู สุด ๔.๕ เพอื่ พัฒนาปรบั ปรุงสื่อการเรยี นการสอน เอกสาร ตารา ให้มคี วามทันสมัยในการฝึกศกึ ษาอย่างต่อเน่ือง ๔.๖ เพ่ือพัฒนา วิจัย และให้บริการทางวิชาการ ประสานความร่วมมือ สร้างเครือข่ายทางวิชาการกับ สถาบนั การศกึ ษา หน่วยงานอนื่ ๆ รวมท้ังการทานบุ ารงุ ศิลปวัฒธรรม ๕. เอกลักษณ์ “เป็นศูนย์กลางแห่งการเรียนรู้ทางวิชาการ และผลิตกาลังพลเหล่าทหารม้าอย่างมีคุณภาพเป็นการ เพ่มิ อานาจกาลงั รบของกองทพั บก” ๖. อัตลกั ษณ์ “เดน่ สง่าบนหลังม้า เก่งกล้าบนยานรบ” 1
คานา ในปัจจุบัน ถึงแม้เทคโนโลยตี า่ ง ๆ จะเข้ามามีบทบาทต่อความเป็นมนุษย์ ท้ังในการดาเนินชีวิตประจาวัน หรอื การปฏบิ ตั ภิ ารกิจต่าง ๆ ทง้ั ดา้ นสงั คม เศรษฐกิจ การเมือง การทหาร ในการปฏิบัติภารกิจทางยุทธวิธี ของหน่วยทหาร ต้องมีการพิจารณาเลือกหนทางปฏิบัติ สิ่งท่ีต้องใช้เป็นข้อมูลในเบ้ืองต้น ได้จากการ พจิ ารณาลกั ษณะภูมปิ ระเทศบทแผนที่ ฉะนัน้ ทหารทุกคนต้องศกึ ษา และเรียนรวู้ ิชาการอา่ นแผนที่ ควบคู่ ไปกบั การใช้เขม็ ทศิ ซึ่งถือว่าเป็นเคร่ืองมือพ้ืนฐาน ซ่ึงทหารทุกคนต้องเข้าใจและสามารถนาไปใช้ได้อย่าง ถูกต้อง หลังจากนั้น จึงนาเอาอุปกรณ์ หรือเทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้ประกอบเพ่ือให้เกิดประสิทธิภาพใน การปฏิบัติ แผนกวชิ าทวั่ ไป กศ.รร.ม.ศม. 2
สารบัญ บทท่ี หนา้ 1 4 – 13 2 14 – 20 3 21 – 34 4 35 – 38 5 39 – 53 6 54 – 59 7 60 – 71 8 72 – 86 9 87 – 134 10 135 - 136 .......................... 3
บทท่ี 1 กลา่ วทวั่ ไป 1. ความมุ่งหมาย คมู่ ือเลม่ นใ้ี ห้รายละเอยี ดและความรู้เกยี่ วกับการใช้แผนท่แี ละรปู ถา่ ยทางอากาศแกเ่ จา้ หนา้ ทีซ่ ึ่งมี ความจาเป็นต้องเรียนรู้ เพอ่ื นาไปปฏบิ ัตภิ ารกจิ เพราะเมื่อถ้าสามารถใชแ้ ผนทไ่ี ดอ้ ย่างถูกต้องแล้ว แผนที่จะแสดง ให้ทราบถงึ รายละเอียดต่าง ๆ ในภมู ปิ ระเทศ เชน่ ระยะทาง ลักษณะภมู ิประเทศทเ่ี ป็นพ้นื ราบ ลูกเนิน เสน้ ทาง ลานา้ ป่าสวน ไร่ นา อาคาร บา้ นเรอื น ฯลฯ ทาใหผ้ ้ใู ช้มองเสมอื นว่าไดไ้ ปเหน็ ในภูมปิ ระเทศ จริง และสามารถพิจารณาวางแผนหรอื ภารกิจต่าง ๆ ไดอ้ ยา่ งถูกต้องเชน่ การเลือกเส้นทางท่ดี ีท่ีสุด ตาบล ท่ตี ั้งทเ่ี หมาะสม การกาบัง และการซ่อนพราง เปน็ ต้น และการปฏิบตั ภิ ารกจิ ในสมยั ใหมน่ ี้ บางครงั้ ตอ้ ง ปฏบิ ัติในพนื้ ทท่ี ีห่ ่างไกลในภูมิประเทศซ่ึงมิได้มคี วามคนุ้ เคยตลอดจนการวางแผนตา่ ง ๆ ตง้ั แตเ่ ร่มิ ต้นจนจบ จาเปน็ ตอ้ งอาศยั แผนท่เี ป็นประการสาคญั ตามที่ได้กลา่ วมาแล้วจะเห็นวา่ แผนท่มี ีความสาคัญเป็นอยา่ งยง่ิ ดงั นัน้ ผู้ใชจ้ ึงจาเป็นตอ้ งเรยี นรใู้ ห้สามารถอ่านแผนทีไ่ ด้ และพงึ ระลึกอยู่เสมอว่า แผนท่ีทีด่ ีที่สุดนน้ั จะหาคา่ มิได้เลยถา้ ผู้ใชแ้ ผนท่ีอา่ นแผนทีไ่ มเ่ ป็น 2. แผนทีค่ ืออะไร แผนที่ คอื รปู ลายเส้นท่ีเขียนหรอื กาหนดขนึ้ เพื่อแสดงลกั ษณะของพ้ืนผิวพภิ พท้งั หมด หรอื เพยี ง บางส่วนลงบนพื้นราบ ( พื้นแบน) ตามมาตราส่วน โดยใช้สีและสัญลักษณ์แทนรายละเอียดของภูมิประเทศ ที่ เกดิ ข้นึ เองตามธรรมชาติ และทม่ี นษุ ย์สรา้ งข้ึน 3. การระวังรักษาแผนท่ี 3.1 การเกบ็ รักษาแผนที่ แผนทมี่ กั จะพมิ พด์ ้วยกระดาษซง่ึ ฉีกขาดงา่ ย ดังน้ันการเกบ็ รกั ษาแผนท่จี ึง ตอ้ งเกบ็ ใหป้ ลอดภยั จากความชื้น เชน่ น้า โคลน จากสัตว์ เช่น ปลวก มด แมลงสาบ ถ้าเก็บในสนามควรเก็บ ไวใ้ นซองพลาสติค และควรเกบ็ ใหเ้ ป็นระเบียบสามารถหยบิ ใช้ได้สะดวก 3.2 การใชแ้ ผนท่ี จะต้องใช้แผนทีอ่ ย่างระมัดระวงั เพือ่ ทจี่ ะสามารถใชไ้ ด้นาน ๆ กลา่ วคือ - จับถือด้วยความระมดั ระวังอย่าให้ฉีกขาด - ไมจ่ าเปน็ อย่าขดี เขยี นเครอ่ื งหมายใด ๆ ลงบนแผนที - ถา้ มคี วามจาเปน็ ต้องขีดเขยี นเคร่ืองหมายใด ๆ ลงบนแผนทีใ่ หเ้ ขียนดว้ ยดินสอไขลงบน แผ่นใส หรือแผ่นอาซเิ ตท เมอ่ื หมดความจาเป็นให้ลบท้ิง - ถ้าไม่มแี ผน่ อาซิเตทใหเ้ ขียนเบา ๆ ด้วยดนิ สอดา เมอ่ื หมดความจาเป็นใหล้ บท้งิ ออกให้ หมด 3.3 การพับแผนท่ี การนาแผนท่ีไปใช้ในภูมิประเทศ บางครง้ั ตอ้ งพับแผนที่ใหม้ ขี นาดเล็กลงพอท่จี ะ นา ไปมาไดส้ ะดวก และใชง้ านไดโ้ ดยไม่ตอ้ งคลีอ่ อกทั้งแผ่น การพับแผนท่ีมวี ธิ พี บั อยู่ 3 วธิ ี 3.3.1 พับแบบวธิ ที ี่ 1 ( พับแบบหีบเพลง ) คอื พับตรงกึง่ กลางให้ดา้ นทม่ี รี ายละเอยี ดออก ขา้ งนอก แล้วพับด้านขา้ งท้งั สองเขา้ หารอยพับกลาง ดรู ูปที่ 1 3.3.2 พับแบบวธิ ที ่ี 2 คอื พับตรงก่งึ กลางให้ดา้ นทมี่ ีรายละเอียดของแผนทอี่ อกข้างนอก แลว้ พบั ดา้ นข้างท้ังสองข้างให้ทับกนั แล้วจงึ พับอกี ครึ่งหน่งึ ดรู ูปที่ 2 3.3.3 พบั แบบวิธที ี่ 3 ( เล่อื นและพับ ) กอ่ นทจ่ี ะพับแผนท่โี ดยวธิ ีนี้ จะตอ้ องพยายามหัดตัด และพับดว้ ยเศษกระดาษเสยี กอ่ น วิธพี บั มดี ังนี้ 4
- แบง่ แผนท่ที างดา้ นตั้งและดา้ นราบ ออกเปน็ ดา้ นละ 4 ส่วน ให้มีความยาวเทา่ ๆ กนั แลว้ ตดั แผนท่ีตรงเสน้ ราบจากแนวเรม่ิ ตน้ ของส่วนที่สองและของก่ึงกลางเส้นต้ังของส่วนที่สองไปตามแนวเส้นราบ จน สน้ิ สดุ สว่ นท่สี าม - พับแผนทต่ี รงกึง่ กลางใหด้ า้ นท่มี ีรายละเอียดของแผนที่อยขู่ า้ งนอก - แลว้ พับด้านปลายของแผนท่ีเข้าตะเขบ็ กง่ึ กลาง - เมื่อจะใชแ้ ผนที่บริเวณใด ใหเ้ ล่ือนแผนท่ีท่ีพับน้ันใหต้ รงกับบรเิ วณทีต่ ้องการใช้ ดรู ูปที่ 3 รูปท่ี 1 5
รปู ที่ 2 รูปท่ี 3 4. การรกั ษาความปลอดภยั เกี่ยวกบั แผนท่ี แผนที่เป็นเอกสารสาคัญจึงต้องมกี ารรกั ษาความปลอดภยั โดยเครง่ ครดั กล่าวคือ - อยา่ ให้แผนทตี่ กอยู่ในมอื ของผู้ไมม่ ีหน้าท่ีเกย่ี วข้อง - เมื่อหมดความจาเป็นที่จะตอ้ งใช้ จะตอ้ งทาลายหรือสง่ คนื แผนทน่ี นั้ ทนั ที - วธิ ีการทาลายแผนท่ีที่ดีทสี่ ุด ให้กระทาโดยเผาไฟ แล้วตขี ี้เถ้าใหล้ ะเอียด - สาหรับแผนที่บางฉบับซ่งึ จดั ช้ันประเภทเอกสารเอาไว้ ดังนั้น การเก็บรักษา การใช้ และ การทาลาย จะต้องปฏิบัติตามระเบียบการรักษาความปลอดภัยของทาง ราชการ 5. การแบง่ ประเภทหรอื ชนิดของแผนที่ ตามปกติ แผนทีจ่ ะแบ่งประเภทหรือชนิดของแผนทไี่ ปตามมาตราสว่ นและประเภทของแผนที่ 6
ก. แบ่งตามมาตราส่วน จะแบ่งเป็นมาตราส่วนเลก็ มาตราสว่ นปานกลาง และมาตราส่วนใหญ่ 1.มาตราสว่ นเล็ก ไดแ้ กแ่ ผนท่ที มี่ มี าตราสว่ น 1 : 600,000 และเล็กกว่าเหมาะสาหรบั การวางแผนทัว่ ๆ ไป และใชส้ าหรบั การศึกษาพจิ ารณาทางยทุ ธศาสตร์ ของหน่วยระดับสงู แผนที่มาตราสว่ นเลก็ 2. มาตราสว่ นปานกลาง ไดแ้ กแ่ ผนท่ที ่มี มี าตราส่วนใหญ่กวา่ 1:600,000 แตเ่ ลก็ กว่า มาตราส่วน 1 : 75,000 เหมาะสาหรับการวางแผนทางยุทธการช่งึ รวมถึงการเคล่อื นยา้ ย การรวมพล การส่งกาลัง บารุงดว้ ย แผนท่ีมาตราสว่ นปานกลาง 3. มาตราสว่ นใหญ่ ไดแ้ ก่แผนท่ที ่ีมมี าตราสว่ น 1 : 75,000 และใหญ่กว่าเหมาะสาหรบั ความจาเป็น ทางยทุ ธวิธี ทางเทคนคิ และทางธรุ การของหนว่ ยตา่ ง ๆ ในสนาม 7
แผนทมี่ าตราส่วนใหญ่ คาวา่ \"มาตราส่วนเล็ก,มาตราสว่ นปานกลาง และมาตราสว่ นใหญ่\" อาจมคี วามสับสนอยบู่ า้ ง จึงขอ เปรยี บเทยี บแผนทีซ่ ึง่ มีมาตราส่วนไมเ่ ท่ากนั คอื แผนทท่ี ่มี ีมาตราส่วนใหญ่กว่าจะมคี ุณสมบตั ิ คือ ตัวเลขที่ อยหู่ ลัง 1 : จะมจี านวนน้อยกว่า มีขนาดของรายละเอียดใหญก่ วา่ คลมุ พ้ืนทีน่ อ้ ยกวา่ ดว้ ยด้วยขนาดของ แผน่ ระวางที่เท่ากนั แผนทีท่ ่มี มี าตราส่วนเลก็ กวา่ จะมีคุณสมบตั ิ คอื ตัวเลขท่ีอยูห่ ลงั 1 : จะมจี านวน มากกวา่ มีขนาดของรายละเอียดเล็กกวา่ คลมุ พื้นท่มี ากกว่าด้วยขนาดของแผน่ ระวางที่เท่ากนั ข. แบ่งตามประเภทของแผนท่ี 1.แผนทีแ่ บบแบน ( Planimetric Map ) คือแผนที่ท่ีแสดงแต่เพยี งลักษณะทต่ี ง้ั ตา่ ง ๆ เฉพาะ ทาง ราบเทา่ นั้น แผนท่แี บบแบน ( Planimetric Map ) 8
2.แผนที่ภมู ิประเทศ (Topographic Map) คอื แผนทซ่ี ึ่งแสดงลกั ษณะท่ีตั้งตา่ ง ๆ ทง้ั ทางราบ และ ทางดง่ิ แผนที่ภมู ิประเทศ (Topographic Map) 3.แผนที่ทรวดทรงพลาสตคิ ( Plastic Relief Map ) คือแผนทภี่ ูมปิ ระเทศซึ่งพมิ พ์ลงบนแผน่ พลาสติค และอัดให้นูนข้ึนเป็นรปู สามมิติ แผนทที่ รวดทรงพลาสติค ( Plastic Relief Map ) 4. แผนที่รูปถ่าย ( Photo Map) คือการนารูปถ่าย (Photograph) หรือโมเสครูปถ่าย (Photo mosaic) มาดาเนินกรรมวิธีโดยพมิ พเ์ ป็นแผนท่ี ทป่ี ระกอบดว้ ยเสน้ ตารางพกิ ัด รายละเอียดขอบระวาง ชื่อสถานท่ี และเส้น แบ่งเขตต่าง ๆ 9
แผนท่รี ปู ถา่ ย ( Photo Map) 5. แผนทีร่ ูปถา่ ยทรวดทรงพลาสติค ( Plastic Relief Photomap)คือแผนท่รี ปู ถา่ ยซง่ึ พิมพล์ งบนแผ่น พลาสติค และอดั ให้นูนขนึ้ เปน็ รูปสามมิติ 6.โมเสครปู ถา่ ย ( Photomosaic ) คอื แผ่นผนื รูปถ่ายซง่ึ กระทาโดยการนารูปถ่ายทางอากาศหลาย ๆ แผน่ มาผนกึ ต่อขน้ึ เปน็ ผนื ภาพถา่ ยเพียงแผน่ เดยี ว โมเสครูปถ่าย ( Photomosaic ) 7.แผนท่ีผังเมอื ง ( City Map ) คือแผนทีภ่ ูมปิ ระเทศทีแ่ สดงลกั ษณะของตวั เมือง ( ปกติจะ ใช้มาตรา ส่าน 1 : 12,000) 10
แผนที่ผังเมือง ( City Map ) 8. แผนทพี่ เิ ศษ ( Special Map ) คอื แผนท่ซี ่งึ ทาข้ึนเพอื่ ความมุ่งหมายในการใช้เป็น พิเศษ เช่น แผนที่แสดงขีดความสามารถในการจราจร แผนที่แสดงการขนส่ง แผนที่แสดงเส้นแบ่งเขตการ ปกครอง แผนทแ่ี สดงจานวนประชากร แผนที่แสดงปริมาณนา้ ฝน ฯลฯ เป็นต้น แผนที่พิเศษ ( Special Map ) 9.แบบจาลองภมู ิประเทศ ( Terrain Model ) คือภาพจาลองของพืน้ ภูมปิ ระเทศทท่ี าเปน็ รปู สามมิติ ซ่ึงจาลองแบบออกมาโดยกการใช้ปูนพลาสเตอร์ ยาง หรือวัสดุอื่น ๆ แบบจาลองภูมิประเทศนี้มีลักษณะชัดเจน ดีกว่าแผนที่ชนิดอื่น ๆ ตรงท่ีแสดงลักษณะภูมิประเทศและสิ่งท่ีมนุษย์สร้างให้เห็นคล้ายของจริงแทนการใช้ สัญลกั ษณต์ า่ ง ๆ 11
รปู จำลองภมู ปิ ระเทศ (Terrain Model) ตำมมำตรำส่วนของภูมิประเทศ แบบจาลองภูมิประเทศ ( Terrain Model ) 10.แผนทย่ี ุทธการรว่ ม ( Joint Operations Graphic ) คือแผนท่ที างทหารท่ีมี มาตราส่วน 1 : 250,000 ท่จี ัดพิมพ์โดยมีรายละเอยี ด ทงั้ ทางพืน้ ดนิ ( Ground ) แและทางอากาศ ( AIR ) แผนทีย่ ทุ ธการรว่ ม ( Joint Operations Graphic ) 11. แผนทีร่ ูปถา่ ยสี ( Picto map ) คือแผนทีซ่ งึ่ ไดแ้ ก้ไขต่อเตมิ ให้แผนท่ีรูปถ่าย ( Photo Map ) มี ความชัดเจนข้ึน โดยการเนน้ ลกั ษณะความสูงของพ้ืนภูมิประเทศในแผนท่ีโดยการวาดภาพลงไป สาหรับลักษณะ ภูมิประเทศและพชื พนั ธไุ์ มต้ า่ งๆ นน้ั กจ็ ะแสดงไวด้ ว้ ยสีตา่ ง ๆ ทใี่ กลเ้ คยี งธรรมชาติ 12
แผนทรี่ ูปถา่ ยสี ( Picto map ) 13
บทที่ 2 รายละเอียดขอบระวาง และเครือ่ งหมายแผนที่ รายละเอยี ดขอบระวาง ท่ีขอบระวางแผนท่ียอ่ มมรี ายละเอียดซึ่งใช้แสดงความหมายต่าง ๆ ของแผนที่ไว้ด้วยแตเ่ พือ่ ให้ สามารถอ่านแผนท่ไี ดถ้ ูกตอ้ ง แผนท่ีทั้งหลายย่อมไม่เหมือนกัน ขอบระวางของแผนที่จึงแตกต่างกัน ดังน้ันทุก ครัง้ ทีจ่ ะใชแ้ ผนท่ีต่างกนั จึงตอ้ งศกึ ษารายละเอยี ดขอบระวางอย่างรอบคอบเสมอ สาหรับรายละเอียดขอบระวางของแผนทมี่ าตราส่วน 1 : 50,000 มรี ายละเอียดตา่ ง ๆ ดงั ต่อ ไปนี้ คือ 1.ช่ือแผ่นระวาง ( Sheet Name ) จะมีช่ือแผ่นระวางนีป้ รากฏอยู่สองแห่งคอื ณ ตรงก่งึ กลางขอบ ระวางตอนบน และทางด้านซา้ ยของขอบระวางตอนล่างตามปกตแิ ลว้ จะต้ังช่ือตามลักษณะเดน่ ของรายละเอียดใน แผ่นระวางทางวฒั นธรรม ซึ่งเกดิ จากฝีมอื ของมนุษย์ เช่น ช่ือหมู่บ้าน ตาบล อาเภอ จังหวัด ฯลฯ หรือลักษณะ เด่นทางภูมิศาสตร์ เชน่ ชอื่ ภูเขา แมน่ ้า หนอง บึง ฯลฯ แล้วแต่รายละเอียดชนิดไหนจะเด่นมากกว่ากัน แต่ปกติ แล้วมักจะตั้งตามลักษณะเด่นทางวัฒนธรรม เช่น ชื่อของเมืองใหญ่ท่ีสุดที่ปรากฏอยู่ในแผ่นระวางแผนที่น้ัน เสมอ 2.หมายเลขแผ่นระวาง ( Sheet Number ) จะปรากฏอยู่ทข่ี อบระวางด้านขวาตอนบน และจะใช้ เป็นหมายเลขอ้างอิงที่กาหนดให้กับแผนที่แต่ละระวาง หมายเลข แผ่นระวางนี้จะถูกกาหนดข้ึนเป็นตารางแบบ ระบบตารางพิกัดตามความต้องการของผู้ผลิต หมายเลขแผ่นระวางแผนท่ี 1 : 50,000 กาเนิดมาจากแผนที่ 1 : 100,000 ซึ่งกาหนดไว้ด้วยเลขสี่ตาแหนง่ ซ่งึ ประกอบด้วยตวั เลข 2 ชดุ ตัวเลข 2 ตาแหน่งแรกบอกหมายเลข ตารางตามแนวยาว ตัวเลข 2 ตาแหน่งหลังบอกหมายเลขตารางตามแนวตงั้ หมายเลขตารางตามแนวยาว จะเริ่มจากตะวันตกสดุ ของพ้นื ท่กี ารทาแผนท่โี ดยเรมิ่ จากหมายเลข 10 และหมายเลขตารางตามแนวตงั้ ก็จะเร่มิ จากใต้ สดุ โดยเรมิ่ จาก หมายเลข 10 เชน่ กนั ดังน้ันแผ่นระวางแรก คือระวางทอ่ี ยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้จะเปน็ จดุ เริ่มตน้ ของแผน่ ระวางแรก ถึงแมจ้ ะอยนู่ อกพ้ืนทกี่ ารทาแผนที่ กต็ าม โดยเร่ิมจากหมายเลขแผน่ ระวาง 1010 และหมายเลขแผน่ ระวางจะเพิ่มขึ้นมาทางขวาและทางตัง้ ถ้า บรเิ วณพื้นทีท่ จ่ี ะทาแผนทก่ี ว้างใหญม่ าก และหมายเลขระวางแผน่ สดุ ท้ายเกินหมายเลข 99 แลว้ กใ็ ห้ร่น หมายเลขของแผ่นระวางแรกเป็น 09, 08, 07 ตามลาดบั เพ่อื มิใหห้ มายเลขแผน่ ระวางของแผนท่ี 1 : 100,000 แตล่ ะชุดเกิน 2 ตาแหนง่ การกาหนดหมายเลขแผน่ ระวาง น้ีมิไดจ้ ากัดอยูเ่ ฉพาะแผนทชี่ ดุ ใดชดุ หนงึ่ อาจจะใช้ กาหนดกับแผ่นที่ชุดข้างเคียง ซง่ึ มีมาตราส่วนและขนาดของแผน่ ระวางเท่า ๆ กนั สาหรับแผนท่ีมาตราสว่ น 14
1 : 50,000 ท่คี ลุมพ้ืนท่บี รเิ วณเดยี วกบั มาตราส่วน 1 : 100,000 นั้นต้องใช้ 4 ระวาง ( ดรู ูปที่ 5 ) แตล่ ะระวาง จะแสดงหมายเลขแผน่ ระวางไวด้ ว้ ย หมายเลขทก่ี าหนดใหข้ องแผนท่มี าตราสว่ น 1 :100,000 ระวาง น้นั แลว้ ตอ่ ทา้ ยดว้ ยเลขโรมัน ในทานองเดยี วกันแผนทม่ี าตราส่วน 1 : 25,000 ทัง้ 4 ระวาง ซ่งึ ครอบคลุม พนื้ ทีบ่ รเิ วณเดียวกันกับแผนท่มี าตราส่วน1 : 50,000 นนั้ แตล่ ะระวางกจ็ ะแสดงหมายเลขแผ่นระวางไวด้ ว้ ย หมายเลขทก่ี าหนดใหข้ องแผนที่มาตราสว่ น 1 : 50,000 แลว้ ตอ่ ท้ายไว้ด้วยอักษรแสดงทศิ ทางของแผนท่ี ระวางน้ัน ๆ ว่า NE, SE, SW หรือ NW 3. ชอื่ ชุดและมาตราสว่ น (Series name and Scale) ชื่อชดุ ของแผนทีจ่ ะปรากฏอยู่ท่ีขอบระวาง ด้านซ้ายตอนบนตามปกติแล้วชุดต่าง ๆ ของแผนท่ีจะประกอบด้วยแผนท่ีอย่างเดียวกันพวกหนึ่งท่ีมีมาตราส่วน เดียวกัน มีรูปแบบหรือระบบระวางอย่างเดียวกันจัดทาขึ้นครอบคลุมพื้นที่ทางภูมิศาสตร์บริเวณใดบริเวณหน่ึง โดยเฉพาะ อาจจะเป็นแผนท่ีต่าง ๆ พวกหนึ่งท่ีกาหนดขึ้นใช้ ตามความมุ่งหมายท่ัว ๆ ไปก็ได้ ช่ือชุดของแผนท่ี มกั จะต้ังตามลักษณะเด่นที่สุดทางวัฒนธรรมหรือทางภมู ิศาสตร์ของบริเวณพ้นื ท่ซี ่ึงแผนท่ีชดุ น้ัน ๆ ปกคลมุ อยู่ 15
สาหรบั มาตราสว่ นของแผนทีน่ ้นั จะปรากฏอยู่ทัง้ ทีข่ อบระวางด้านซ้ายตอนบน และตรงกึง่ กลาง ของขอบระวางตอนล่าง ตามปกตแิ ลว้ การเลือกมาตราสว่ นยอ่ มขึ้นอย่กู ับความมงุ่ หมายท่ีตั้งใจว่าจะนาแผนท่ีชุด นัน้ ไปใชเ้ พือ่ การใด ชื่อชุดและมาตราสว่ น (Series name and Scale) 4. หมายเลขประจาชุด ( Series Number ) หมายเลขประจาชดุ ปรากฏอยทู่ ขี่ อบระวางดา้ นขวา ตอนบน และท่ขี อบระวางด้านซ้ายตอนล่าง มักจะปรากฏอยู่บ่อย ๆ ว่ามชี ดุ ของแผนที่มากกว่า 1 ชุด ครอบคลุม พน้ื ที่ บรเิ วณเดียวกันอยู่ ดังนั้นจงึ ต้องมีการกาหนดหมายเลขการพสิ จู นท์ ราบให้กับแผนท่ีแต่ละชุดไว้ด้วย กล่าวคือ หมายเลขประจาชุดจะแสดงให้ทราบถึงการปกคลุมพ้ืนท่ีทางภูมิศาสตร์ท่ัวโลกแบ่งย่อยเป็นทวีป ภูมิภาค จนถึง บรเิ วณยอ่ ยของภมู ิภาค บอกถึงย่านของมาตราส่วน รวมทั้งจาแนกโดยการกาหนดช่ือหรือหมายเลขให้เห็นความ แตกต่าง โดยเฉพาะระหว่างชุดต่าง ๆ ซึง่ มีมาตราสว่ นและครอบคลุมพ้ืนท่ีเดียวกันซ่ึงปกติแล้วมักจะบอกถึงลาดับ ท่กี ารจัดทา ดังนั้นหมายเลขประจาชดุ ประกอบดว้ ย ก. องคป์ ระกอบท่ี 1 ประกอบด้วยอักษรตวั พิมพใ์ หญ่ A - Z เวน้ I และ O หมายถึงการครอบคลุม พื้นทีบ่ ริเวณภมู ิภาค ซึง่ ทั่วโลกจะประกอบด้วย ๒๔ ภมู ภิ าค ข.องค์ประกอบที่ ๒ ประกอบด้วยตัวเลข ๑ - ๐ (ดขู อ้ ข. ของหมายเลขประจาชดุ กลุ่ม A) หมายถงึ ยา่ นของมาตราส่วน - หมายเลข 1 มาตราส่วน 1 : 5,000,000 และเลก็ กว่า - หมายเลข 2 ใหญก่ วา่ มาตราสว่ น 1 : 5,000,000 ถงึ 1 : 2,000,000 - หมายเลข 3 ใหญ่กว่ามาตราสว่ น 1 : 2,000,000 ถงึ 1 : 510,000 - หมายเลข 4 ใหญ่กวา่ มาตราส่วน 1 : 510,000 ถงึ 1 : 255,000 - หมายเลข 5 ใหญก่ ว่ามาตราสว่ น 1 : 255,000 ถงึ 1 : 150,000 - หมายเลข 6 ใหญก่ วา่ มาตราส่วน 1 : 150,000 ถึง 1 : 70,000 - หมายเลข 7 ใหญก่ วา่ มาตราสว่ น 1 : 70,000 ถึง 1 : 35,000 - หมายเลข 8 ใหญ่กวา่ มาตราสว่ น 1 : 35,000 - หมายเลข 9 แผนทผี่ งั เมอื ง ไม่กาหนดมาตราส่วน -หมายเลข 0 แผนท่ีรูปถ่าย ไมก่ าหนดมาตราส่วน ค. องคป์ ระกอบที่ 3 ประกอบด้วยตวั เลข 1 ตาแหนง่ หมายถึงการแบง่ ยอ่ ยพน้ื ทีใ่ นองค์ประอบท่ี 1 ออกเป็นส่วน ๆ มีหมายเลข 1 - 9 แต่ถ้าบริเวณส่วนย่อยของภูมิภาคหลาย ๆ ส่วนรวมกันจะให้หมายเลขเป็น 0 เชน่ ภูมิภาค L เปน็ ตน้ 16
แผนท่ชี ดุ น้ีอยู่ในภมู ิภาค L 7 มาตราสว่ น 1 : 50,000 0 อยู่ในสว่ นท่ี 0 ของภมู ภิ าค L 17 คอื ลาดับการจัดทา ในกรณที จี่ าเปน็ จะต้องผลิตแผนทช่ี ดุ พเิ ศษซงึ่ มีมาตราสว่ นระบบรปู แบบแผ่นระวางและคลมุ พ้นื ที่ บรเิ วณเดียวกบั แผนที่ท่ชี ุดมอี ยเู่ ดมิ นัน้ จะต้องพิมพ์ตัวอกั ษร 1 ตวั ไวข้ า้ งท้าย เพือ่ แสดงว่าเป็นชุดพิเศษ เช่นแผน ทท่ี รวดทรงพลาสติกมาตราส่วน 1 : 50.000 ของชุด L 7017 จะตอ้ งเขียนวา่ L 7017 P 5.หมายเลขการจัดพมิ พ์ ( Edition Number) ปรากฏอยูท่ ข่ี อบระวางด้านขวาตอนบนและขอบ ระวางดา้ นซ้ายตอนลา่ ง หมายเลขการจัดพมิ พ์นจ้ี ะเรยี งลาดบั จากน้อยไปหามากจะแสดงให้ทราบถงึ อายุของแผนท่ี หมายเลขการจัดพิมพ์คร้ังหลัง ๆ ย่อมมีข้อมูลและรายละเอียดทันสมัยกว่าแผนท่ีซ่ึงมีหมายเลขการจัดพิมพ์ ครั้ง กอ่ น ๆ 6. มาตราสว่ นเสน้ บรรทัด ( Bar Scales ) ปรากฏอยู่ทีก่ ึ่งกลางของขอบระวางตอนล่างเพ่ือใช้ ในการพิจารณาหาระยะบนพ้นื ดิน แผนท่ีเป็นส่วนมากจะมมี าตราสว่ นเส้นบรรทดั ตงั้ แต่ 3 บรรทดั ข้นึ ไป ซ่งึ แตล่ ะบรรทัดจะแสดงมาตราวดั ระยะทแ่ี ตกต่างกนั เชน่ ไมล์ เมตร หลา เปน็ ตน้ 7. สารบาญระวางติดตอ่ ( Adjoining Sheet ) สารบาญระวางตดิ ต่อจะปรากฏอยู่ที่ขอบระวาง ตอนล่างด้านขวา สารบาญระวางติดต่อน้ีแสดงให้ทราบถึงแผนที่ระวางต่าง ๆ ท่ีอยู่รอบ ๆ แผนที่ฉบับน้ันสา รบาญระวางติดต่อทแ่ี สดงไวด้ ว้ ยเส้นประน้ัน ย่อมหมายถึงแผนที่ซ่ึงอยู่ในชุดของแผนท่ีซ่ึงแตกต่างกัน และจะมี หมายเลขประจาชุดของแผนท่ีนั้น ๆ กากับอยู่ ในแผนท่ีที่มีมาตราส่วนใหญ่จะพิมพ์หมายเลขระวาง และ หมายเลข ประจาชุดของแผนที่มาตราส่วน 1 : 250,000 ซ่ึงครอบคลุมพื้นที่บริเวณเดียวกันกับแผนท่ีมาตราส่วน ใหญ่ระวางนั้น ๆ ไวข้ ้างใต้สารบาญนด้ี ้วย 17
8. สารบาญแสดงแนวแบ่งเขตการปกครอง ( Boundaries ) ปรากฏอยู่ที่ตอนล่างของขอบระวาง ด้านขวา แผนผังนี้เป็นรูปแสดงให้ทราบถึงเขตการปกครองในแผนที่ซึ่งตรงกับในภูมิประเทศ เช่นเขตจังหวัด อาเภอ ประโยชน์ คือ ช่วยใหง้ า่ ยต่อการพิจารณาหาแนวปกครองในแผนที่ 9.คาแนะนาเกีย่ วกับระดับสูง ( Elevetion Guide ) ปรากฏอยทู่ ีต่ อนลา่ งของขอบระวางด้านขวา ใกลก้ บั สารบาญระวางติดต่อเปน็ แผนผังท่ีแสดงความสงู ของจุดตา่ ง ๆ ในแผนทซี่ ง่ึ ตรงกับในภมู ปิ ระเทศจริง ความ สู ง คิ ด จ า ก ร ะ ดั บ น้ า ท ะ เ ล ป า น ก ล า ง มี ห น่ ว ย เ ป็ น เ ม ต ร 10.แผนผงั เดคลิเนช่ัน ( มมุ เยอื้ ง ) ( Declination Diagram ) ปรากฏอยูท่ ขี่ อบระวาง ตอนล่าง แสดงให้ทราบถึงความสัมพันธ์ของมุมท่ีเกิดขึ้นระหว่างทิศเหนือจริง ทิศเหนือกริด และ ทิศเหนือ แมเ่ หล็ก 11.ช่วงตา่ งเสน้ ชั้นความสงู ( Contour Interval ) ปรากฏอย่ทู ข่ี อบระวางตอนล่างด้านขวา บอกให้ ทราบถึงช่วงตา่ งเส้นช้นั ความสงู 18
12. สเพยี รอยด์ ( Spheroid ) กริด ( Grid ) เสน้ โครงแผนท่ี ( Projection ) หลักฐานทางแนว ยนื (Vertical Datum) หลักฐานทางแนวนอน ( Horizotal Datum ) กาหนดจุดควบคุมโดย ( Controlled By ) สารวจชื่อโดย ( Names Data By ) แผนท่ีนี้จัดทาโดย ( Prepared By ) พิมพ์โดย ( Printed By ) ข้อความ ทง้ั หมดทีก่ ลา่ วมาน้ี ปรากฏอยขู่ อบระวางตอนล่างใใต้ข้อความท่ีบอกระยะช่วงต่าง เส้นช้ันความสูงบอกให้ทราบ ถงึ ขอ้ มูลต่าง ๆ ท่ีกล่าวมานไี้ ว้ชัดเจน 13. ศัพทานุกรม ( Glossary ) ปรากฏอย่ใู ต้คาแนะนาเกยี วกับระดับสูง เป็นคาอธบิ ายเกียวกับคา ตา่ ง ๆ ทางเทคนิค หรอื คาแปลของคาต่าง ๆ ท่ใี ช้อยบู่ นแผนทซี่ ่ึงใชภ้ าษาพืน้ เมอื งมาเปน็ คาภาษา อังกฤษ 14. คาแนะนาการใช้ค่ากรดิ ( Grid reference Box ) ปรากฏอยู่กึ่งกลางดา้ นลา่ งขอบระวางคอื ขอ้ ความท่ีบรรจอุ ยใู่ นกรอบสเ่ี หล่ยี ม เป็นคาแนะนาสาหรับการหาพิกัดของจุดต่าง ๆ ในแผนที่โดยอธิบายไว้เป็น ข้ันตอน 15. คาอธบิ ายสญั ลักษณ์ ( Legend ) ปรากฏอยู่ที่ขอบระวางด้านล่างทางซ้าย สัญลักษณ์ หรือ เครื่องหมายแผนที่จะแสดงไว้ด้วยภาพ สี และเส้นต่าง ๆ โดยอธิบายให้ทราบว่าส่ิงท่ีเป็นจริงในภูมิประเทศคือ อะไร 19
16. หมายเลขสิ่งอุปกรณ์ ( Stock No.) ปรากฏอยู่ท่ีขอบระวางตอนล่างสุดทางด้านขวาหมายเลขส่ิง อุปกรณ์จะเป็นเคร่ืองบอกให้ทราบถึงชนิดของแผนที่ต่าง ๆ ใช้เพื่อความมุ่งหมายในการเบิกแผนที่เท่าน้ัน หมายเลขสิ่งอุปกรณ์ประกอบด้วย 15 ตาแหน่ง ประกอบด้วยหมายเลขชุด หมายเลขระวาง และคร้ังท่ีการ พิมพ์ 5 ตาแหนง่ แรกแทนหมายเลขชดุ ถ้าหมายเลขชุดไม่ครบ 5 ตาแหนง่ ให้แทนด้วยเคร่ืองหมาย \" X \" ตาแหน่ง ท่ี 6 - 13 เปน็ หมายเลขระวางและใช้เลขอารบกิ แทนเลขโรมันและถา้ หมายเลขระวางไม่ครบ 8 ตาแหน่ง ให้แทน ดว้ ยเครอื่ งหมาย (*) ตาแหนง่ ที่ 14 และ 15 สองตาแหนง่ นใ้ี ชแ้ ทนครงั้ ที่การพมิ พ์เริม่ จาก 01 ไปเรื่อย ๆ เช่น แผน ท่ชี ดุ L 7017 หมายเลขระวาง 9543 I พมิ พ์คร้ังที่ 1 STOCK NO 7017 95431 *** 01 เครื่องหมายแผนท่ี ก. เคร่ืองหมายแผนที่ คอื เครือ่ งหมายทใี่ ชแ้ สดงความหมายของสงิ่ ตา่ ง ๆ บนผวิ พภิ พทีเ่ กิดข้ึนตาม ธรรมชาติและที่มนุษย์สร้างขึ้น เครื่องหมายที่ใช้น้ี ต้องพยายามให้ผู้ใช้แผนท่ีเกิดมโนภาพต่อ ลักษณะของ รายละเอียดต่าง ๆ อย่างถูกต้องใกล้เคียงความจริง ตามความเป็นจริงแล้วรายละเอียดหรือลักษณะภูมิประเทศ ต่าง ๆ ควรปรากฏอย่บู นแผนทใ่ี นลักษณะสมจริงทงั้ ในทางสว่ นสดั ท่ีตั้ง และรูปร่าง แต่ในทางปฏิบัติแล้วย่อม ไมส่ ามารถกระทาได้ ทงั้ นเ้ี น่อื งจากลักษณะภูมิประเทศหลายแห่งจะขาดความสาคัญลงไป และบางแห่งอาจมอง ไม่เห็นเน่ืองจากได้ย่อขนาดลงไปเล็กมาก ฉะน้ันผู้ทาแผนที่จึงจาเป็นต้องใช้เคร่ืองหมายหรือสัญลักษณ์ต่าง ๆ แทนลักษณะภูมิประเทศบนผิวพิภพท้ังที่เกิดข้ึนตามธรรมชาติและที่มนุษย์สร้างข้ึน เครื่องหมายที่ใช้น้ีจะ ต้อง พยายามใหม้ ีลกั ษณะเหมือนของจริงใหม้ ากที่สุดเทา่ ทจี่ ะทาได้ แต่ต้องใหม้ ลี ักษณะที่มองเห็นจากขา้ งบน ข. ลกั ษณะของส่งิ ตา่ ง ๆ ในภมู ิประเทศ นอกจากใช้เคร่ืองหมายของแผนที่เขียนแทนแล้วยังใชส้ ี ประกอบในการเขียนเคร่ืองหมายแทนอีกด้วย โดยแต่ละสีแสดงถึงแต่ละประเภทของลักษณะภูมิประเทศ ดงั ต่อไปนี้ 1. สีดา หมายถงึ ลักษณะภูมปิ ระเทศทส่ี าคัญทางวัฒนธรรมหรอื สงิ่ ที่มนุษยส์ รา้ งขึ้น 2. สีนา้ เงนิ หมายถึงลกั ษณะภมู ิประเทศทเ่ี ป็นนา้ เชน่ ทะเลสาบ แม่นา้ และหนองบึง เป็นต้น 3. สเี ขยี ว หมายถงึ พืชพันธุ์ไมต้ า่ ง ๆ เช่น ป่า สวน ไร่ เปน็ ต้น 20
4. สีนา้ ตาล หมายถึง ลักษณะภูมิประเทศที่มีความสูงโดยทว่ั ไป เชน่ เสน้ ช้ันความสงู เป็นต้น 5. สแี ดง หมายถึงถนนสายหลัก พ้ืนทย่ี า่ นชมุ ชนหนาแนน่ และลักษณะภมู ิประเทศพเิ ศษตา่ ง ๆ 6. บางครงั้ อาจจะใช้สอี ่ืน ๆ เพอ่ื แสดงรายละเอยี ดต่าง ๆ ก็ได้ตามหลักแล้วการใช้สีอ่ืน ๆ นี้จะต้องแสดงไว้ ให้ทราบทร่ี ายละเอยี ดขอบระวางด้วย 21
บทท่ี 3 เส้นกริด พกิ ดั ภมู ิศาสตร์ ตามทีก่ ล่าวมาแลว้ ในบทที่ 1 ว่าแผนท่คี ือรูปลายเสน้ ท่ีกาหนดขน้ึ เพ่อื แสดงสัญลกั ษณข์ องพนื้ ผวิ พิภพลงบนพื้นแบน แต่จะทาอย่างไรท่ีจะกาหนดตาแหน่งของรายละเอียดต่าง ๆ ให้เป็นที่เข้าใจกันได้ จริงอยู่ โลกของเราเป็นเมืองท่ีมีถนนสายต่าง ๆ ตัดกันเต็มไปหมดเราอาจใช้ตาแหน่งของถนนสายต่าง ๆ เป็นเครื่อง กาหนดตาแหน่งได้ แต่สภาพความเป็นจริงหาเป็นเช่นน้ันไม่ เพราะโลกของเราไม่ได้เป็นบ้านเมืองแต่เป็นป่าไม้ ภูเขา ทะเล มหาสมุทร ฉะนน้ั จึงจาเป็นตอ้ งมีวิธีการบางอย่างทีจ่ ะนามาใช้ เพอื่ การกาหนดจุดท่ีอยู่ของส่ิงต่าง ๆ เป็นแบบฉบับอย่างเดียวกัน และอย่างสั้น ๆ โดยผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องมีความรู้เกี่ยวกับพ้ืนท่ีนั้น ๆสามารถนาไป ประยุกต์ใช้กับพ้ืนท่ีที่มีความกว้างใหญ่ไพศาลได้ ไม่จาเป็นต้องอาศัยลักษณะถูมิประเทศท่ีเป็นจุดเด่น และ นาไปใช้กับแผนท่ีได้ทุกมาตราส่วน ซึ่งมีวิธีการต่าง ๆ หลายวิธี แต่ที่จะกล่าวต่อไปน้ีคือ พิกัดภูมิศาสตร์ซึ่งมี คุณลกั ษณะดังต่อไปน้ี ก. ระบบภูมศิ าสตร์ เปน็ วิธีการอนั เก่าแกท่ ส่ี ุดในการกาหนดจุดท่ีอยู่ อาศยั เสน้ สองชนดิ ชนิดท่ี หน่ึงลากไปตามแนวตะวันออกและตะวันตก และอีกชนิดหน่ึงลากออกจากขั้วโลกเหนือไปสู่ข้ัวโลกใต้ เส้นที่ ลากผ่านขั้วโลกเหนอื และใต้เรียกเสน้ ลองจจิ ูด ( Longitude ) หรอื เสน้ แวง หรือเส้นวงกลมใหญ่ มีขนาดของเส้น วงกลมเท่ากัน ทุกเส้น สาหรับเส้น ( Meridian ) ท่ีใช้เป็นหลักในการกาหนดค่าจะลากผ่านเมือง Greenwich ประเทศอังกฤษ เส้นที่ลากไปตามแนวตะวันออกและตะวันตกในลักษณะที่ขนานกันเรียกเส้น ละตจิ ูด ( Latitude ) หรือเส้นรุ้ง หรือเสน้ วงกลมขนาน เส้นทีย่ าวท่ีสุดซ่งึ แบง่ โลกออกเปน็ สองสว่ นเท่า ๆ กัน ทางเหนือและใต้ เรียกเส้นศนู ยส์ ตู ร หรอื เส้นอเี ควเตอร์ ( Equator ) เส้นทง้ั สองชุดนีจ้ ะตดั กนั เป็นมมุ ฉากท่ี เส้นศนู ยส์ ูตร 22
ข. ระยะที่นามาใชก้ ับระบบภมู ศิ าสตร์เปน็ ระยะของมมุ และหน่วยในการวดั มมุ ใชห้ นว่ ยขององศา ใน วงกลมแต่ละวงย่อมแบ่งออกเป็น 360 องศา แต่ละองศาจะแบ่งออกเป็น 60 ลิปดา แต่ละลิปดาจะแบ่งออกเป็น 60 ฟิลิปดา เส้นละติจูดขนานจะกากับไว้ด้วยหมายเลขจาก 0 องศา ไปจนถึง 90 องศา ท้ังทางเหนือ และทางใต้ โดยเริม่ ตน้ ไปจากเสน้ ศูนย์สูตร ที่ขั้วโลกเหนอื ก็คือเสน้ ละตจิ ูด 90 องศาเหนือ ท่ขี ้วั โลกใต้กค็ อื เสน้ ละติจดู 90 องศาใต้ โดยจะตอ้ งระบวุ ่าเหนือหรือใต้ ไว้ทา้ ยคา่ ของเส้นละติจูดไว้ด้วยเสมอ สาหรับเส้นลองจิจูดน้ัน จะวัดค่าของมุมออกไปท้ังทางตะวันออกและตะวันตกจนรอบโลก โดยเร่ิมต้นจากเส้นเมอริเดียนหลัก เส้นที่อยู่ ทางตะวันออกของเส้นเมอริเดียนหลักจะมีค่าตั้งแต่ 0 องศา ไปจนถึง 180 องศา เรียกว่าเส้นลองจิจูดตะวันออก เสน้ ที่อยทู่ างตะวันตกเสน้ เมอริเดียนหลกั จะมคี ่าต้งั แต่ 0 องศาไปจนถงึ 180 องศา เรยี กวา่ เส้นลองจจิ ดู ตะวนั ตก ดงั นัน้ เส้นที่อยตู่ รงขา้ มเสน้ เมอรเิ ดียนหลกั จึงมีค่าทั้ง 180 องศาตะวันออก และ 180 องศาตะวันตก จะต้องระบคุ าว่าตะวนั ออกหรอื ตะวันตกไว้ทา้ ยค่าของเสน้ ลองจจิ ูดด้วยเสมอ ระยะของเส้นละติจูด 1 องศา จะเทา่ กับระยะทางประมาณ 111 กโิ ลเมตร (64 ไมล์) 1 ฟลิ ิปดา จะเทา่ กับระยะทางประมาณ 30.48 เมตร (100 ฟตุ ) ระยะของเส้นลองจิจูด 1 องศา ที่เส้นศูนยส์ ตู รจะมีค่าเทา่ กบั ระยะทาง ประมาณ 111 กโิ ลเมตร แต่จะมรี ะยะลดลงไปตามลาดับในขณะทอี่ ยใู่ นตาแหนง่ ใกลข้ ้วั โลกเหนือและขั้วโลกใต้ จนกระทั่งไม่มีคา่ เลย การกาหนดจุดทอ่ี ยู่ของจุดใดจุดหน่ึงบนผิวพิภพนั้น กระทาไดโ้ ดยบอกเปน็ ระยะของจดุ น้นั ไปทาง เหนอื หรือทางใต้ของเสน้ ศนู ย์สูตรและอยู่ทางตะวันออกหรอื ตะวนั ตกของเสน้ ที่ลากจากขวั้ โลกเหนือไปสู่ ข้วั โลกใต้ พิกดั ภมู ศิ าสตรท์ ีป่ รากฏอยู่บนแผนท่ี บนแผนท่มี าตราสว่ น 1 : 50,000 นับจากเสน้ ขอบระวางแผนที่จะมพี นื้ ท่ี 15 ลปิ ดา x 15 ลปิ ดา ( 750 ตร. กม. ) - ท่มี ุมซ้ายล่างของเสน้ ขอบระวางแผนท่ี จะมีค่าพิกดั ภมู ศิ าสตรแ์ สดงไว้ , จากจดุ น้ีนับขน้ึ ไปตามแนว Latitude และนบั ไปตามแนว Longitude จะมีค่าของมมุ 15 ลปิ ดา เชน่ เดยี วกนั ทั้งสองทศิ ทางจะมีขีดย่อย แบ่งมุมชว่ งละ 5 ลิปดา - หากลากเส้นจากเสน้ ขดี ย่อยเหล่านต้ี ัดกนั จะเกิดรูปสี่เหลยี่ มกลางแผนท่ี 9 รูป เรยี กวา่ แกรตกิ ูล ( Graticule ) 23
3.1 การหาพิกัดภูมศิ าสตรล์ งบนแผนท่ีมาตราสว่ น 1 : 50,000 ทาได้ 2 วธิ ี คอื 1. ใช้ไมบ้ รรทัดยาวประมาณ 10 นว้ิ และแบ่งขดี ย่อยเปน็ 300 ฟลิ ิปดา และใช้ไมบ้ รรทดั วัดหา คา่ มุม Latitude และ Longitude 2. ใชก้ ารคานวณโดยใช้ไมบ้ รรทดั ทีม่ หี นว่ ยวัดเปน็ ซม. - แนว Latitude มคี วามยาวมาตรฐาน 18.4 ซม. ใชส้ ูตร 300 ฟิลปิ ดาxระยะทีว่ ดั ได้ ( ซม. ) 18.4 ผลลพั ธ์ท่ีได้ (จานวนเต็ม ) หาร 60 / ทาเปน็ ลิปดา นาผลลัพธ์ไปบวกกับมุมที่วัดได้จากแผนที่ อ่านค่ามุมละเอียด ถึงฟลิ ิปดา - แนว Longitude มีความยาวมาตรฐาน 18.1 ซม. คานวณเชน่ เดยี วกบั แนว Latitude ยนู ิเวอรแซล ทรานสเวิส เมอเคเตอร์ กริด ( UTM ) สว่ นมากแล้วแผนที่ทางทหารมาตราส่วนใหญ่ และมาตราส่วนปานกลางนอกจากจะมีพกิ ดั 24
ภูมิศาสตรแ์ ล้วยังต้องใช้ระบบกรดิ อีกด้วยเพอื่ ใช้หาท่ีต้ัง หรืออ้างถึงจุดที่ตั้งของตาบลต่าง ๆ เพื่อแสดงให้ทราบ เกยี่ วกบั ท่ีตั้งเพราะว่าระบบกรดิ UTM นี้ มีความงา่ ยกวา่ ก.ระบบกริด ประกอบด้วยหมู่ต่าง ๆ ของเส้นตรงที่ลากขนานกันและตัดกันเป็นมุมฉากจนเกิดเป็นรูป สี่เหลี่ยมจัตุรสั ต่าง ๆ ข้นึ ข.ระบบกริดของรูปส่เี หลย่ี มจัตรุ สั นี้ ยอ่ มมขี อ้ ดกี ว่าพิกัดภมู ิศาสตรอ์ ยู่บางประการ คือ 1. ทกุ ๆ จัตรุ สั กรดิ จะมรี ูปรา่ งและขนาดเดยี วกัน 2. ระบบกริดสามารถวัดระยะเปน็ ระยะทางเส้นตรงได้โดยไม่ต้องวัดระยะทางมุม ค. การวัดระยะเป็นทางเสน้ ปกติย่อมใช้หนว่ ยวดั เป็นเมตร ง. พิกัด UTM กาหนดข้ึน เพอื่ ใช้ทวั่ โลกระหว่างเส้นละติจูด 80 องศาใต้ และเสน้ ละตจิ ูด 84 องศา เหนือ โดยแบง่ โลกออกเปน็ โซน (เขตกริด) เริม่ จากเมอริเดยี นที่ 180 องศาตะวนั ตกไปทางตะวนั ออกปกตแิ ต่ละโซน จะกว้าง 6 องศา ให้หมายเลข 1-60 แต่ละโซน ( เขตกริด ) จะถูกแบ่งครึ่งไปทางตะวันออกและตะวันตกด้วย เส้นเมรเิ ดยี นย่านกลาง (Central Meridian ) และจากละติจูด 80 องศาใต้ ถึง 84 องศาเหนือ จะแบ่งเป็นแถบ ( Belt ) แถบละ 8 องศา ยกเวน้ บรเิ วณ 72 - 84 องศาเหนอื แถบจะมขี นาด 12 องศา จ. แต่ละโซนจะใช้จุดที่เสน้ เมอริเดยี นย่านกลาง ตัดกบั เสน้ ศูนย์สตู รเป็นศูนยก์ าเนิด ค่ากรดิ ของ ตาบลตา่ ง ๆ จะเรม่ิ วดั จากศูนย์กาเนิดนี้ ไปทางเหนือหรือทางใต้ของเส้นศูนย์สูตร ตะวันออก หรือตะวันตก ของ เส้นเมอริเดียนย่านกลาง ฉ. เส้นเมอริเดียนยา่ นกลางมีคา่ เทา่ กบั 500,000 เมตร ทัง้ น้ีเพื่อหลีกเลี่ยงค่าลบ ณ ขอบด้านตะวนั ตก ของกรดิ โซน การอา่ นค่าจะต้องอ่านว่าตะวันออกเทจ็ (False Easting ) หรือ ตะวันออกสมมตุ ิคา่ ของเส้น กรดิ ตา่ ง ๆ จะเพิ่มขนึ้ จากตะวนั ตกไปทางตะวันออก ช. สาหรับคา่ ทางเหนือและใต้ ณ บริเวณซกี โลกดา้ นเหนอื จะกาหนดให้เสน้ ศูนย์สตู รมคี า่ เท่ากับ 0 เมตรและมีค่าเพ่ิมขึ้นไปทางข้ัวโลกเหนือ และ ณ บริเวณซีกโลกด้านใต้ กาหนดให้เส้นศูนย์สูตรมีค่า เทา่ กับ 10,000,000 เมตร และให้มีคา่ ลดลงไปทางขั้วโลกใต้ คา่ เหลา่ นเี้ รียกว่าเหนอื เท็จหรือเหนอื สมมตุ ิ ( False Northing ) ซ. การอ่านคา่ กริด จะตอ้ งอา่ นจากซ้ายไปขวา และจากลา่ งขึน้ บน ( Read Right - up ) ญ. ระบบ UTM. Grid เขยี นขึ้นจากการทาแผนท่ดี ว้ ยระบบ Universal Transverse Mercator Projection ซ้งึ มีคณุ ลกั ษณะดงั นคี้ อื สมมตุ ิใหร้ ูปทรงกระบอกซงึ่ มี Semi - Diameter สั้นกวา่ ของ Spheroid และตัดพื้นผวิ โลกในแนวนอน คือ เส้นผ่าศูนย์กลางของทรงกระบอกตั้งฉากกับแกนหมนุ ของโลกแลว้ Project ออกมาเป็นมมุ 6 องศา มมุ ละ โซนจะได้ 60 โซน ทัว่ โลก 25
กรอบของแต่ละโซน ซ่ึงเป็นเส้น ลองจิจูด และเส้นละติจูด จะเป็นเส้นโค้งยกเว้นเส้นลองจิจูดที่ Central Merlidian และเสน้ ละตจิ ดู ท่ี Equator เสน้ กริดกบั เสน้ ลองจจิ ดู เกือบขนานกันทบ่ี ริเวณใกล้ Central Meridian จะผดิ กนั มากขึน้ เมื่อหา่ งออกไป 26
เหตุท่มี ี Over Lap โซนละ 0.5 องศา หรอื 25 ไมล์ เปน็ เพราะเพือ่ ความสะดวกในการปฏิบตั ิภารกจิ ใน บรเิ วณขอบโซน เราใช้ค่ากริดของโซนเดิมนั่นเอง ดงั นน้ั บรเิ วณท่โี ซน Over Lap กันน้นั ค่ากริดของเสน้ นอนและเสน้ ตัง้ จะมี 2 คา่ คือค่าหน่งึ น้นั คือ คา่ โซน น้ัน ๆ สว่ นอกี ค่าหน่ึงเปน็ คา่ ของโซนขา้ งเคียง บนแผ่นระวางแผนท่ีจะแสดงเสน้ กริดของโซ ขา้ งเคยี งดว้ ยขดี เล็ก ๆ ทข่ี อบระวางแผนที่ โดยขดี ใหย้ าวออกไปนอกระวางและตวั เลขแสดงค่ากริดจะพมิ พ์ ด้วยสีน้าเงิน 27
ระบบกริดทางทหาร ระบบกรดิ ทางทหารหรอื ระบบพกิ ดั กริดตารางทางทหาร จะมีระบบการแบง่ พื้นทที่ างภูมิศาสตร์ ของโลกออกเปน็ ดงั นี้ ก. กรดิ โซน (เขตกรดิ ) เรม่ิ จาก 80 องศาใต้ ถงึ 84 องศาเหนือ โดยแบ่งพื้นทท่ี างตะวนั ออก - ตก ออกเป็นโซน ๆ ละ 6 องศา จานวน 60 โซน เร่ิมจากเส้นเมอริเดียน 180 องศาตะวันตกมาทางตะวันออก และ ให้หมายเลขประจาโซนด้วยเลข 1-60 ตามลาดับ บริเวณกึ่งกลางโซน แต่ละโซนจะมีเส้นแบ่งเรียก Central Meridian สาหรับพื้นทที่ างเหนอื - ใต้ จะถูกแบ่งเป็นแถบทางสูง (Belt) แถบละ 8 องศา (ยกเว้นบริเวณแถบ 72 องศาเหนือ - 84 องศาเหนอื จะห่างกัน 12 องศา ) และกากบั ไว้ด้วยตวั อักษร c - x ( เวน้ I และ 0 ) ข. จัตรุ ัส 100,000 เมตร ในพน้ื ทข่ี องโซนทงั้ หมดน้ี จะตอ้ งแบ่งเป็นจัตุรสั 100,000 เมตรโดยเรมิ่ จาก Central Meridian ซึ่งมีค่า 500,000 เมตร ของแต่ละโซนไปทางตะวันตกและตะวันออก โดยค่าจะเพิ่มขึ้น ทางตะวันออกและจะลดลงทางตะวันตกและกากับไว้ด้วยอักษร A - Z (เว้น I และ O) ทุก ๆ 3 โซน ตัวอักษรจะ เรมิ่ ใหม่ สาหรบั ดา้ นเหนอื - ใต้ บริเวณซีกโลกภาคเหนอื เริม่ จาก Equator ขึ้นไปทางเหนือกากับไว้ด้วยตัวอักษร A - V ( เวน้ I และ O ) สาหรับโซนเลขค่ี ส่วนโซนเลขคูใ่ ห้เริ่มจากใต้เส้นศูนย์สูตรลงไป 500,000 เมตร ดังน้ันบริเวณ Eqouator ของโซนเลขคูจ่ ึงเร่มิ จากตัวอกั ษร F ขน้ึ ไปทง้ั นเ้ี พ่ือหลกี เล่ียงการอ่านค่าตาราง 100,000 เมตร ซ้ากัน บอ่ ย ๆ การใหล้ าดับตัวอักษรดังกล่าวจึงทาให้ตัวอักษรซ้ากันทุกๆ ระยะ 2,000,000 เมตร เส้น Equator จะมีค่า เทา่ กับ 0 เมตร เมอื่ เร่ิมจากเสน้ Equator ขนึ้ ไปทางซีกโลกภาคเหนือจนถึง 84 องศาเหนือ และมีค่า 10,000,000 เมตร เม่ือเริ่มจากเส้น Equator ลงไปทางซีกโลกภาคใต้ 80 องศาใต้ การอ่านค่ากริดให้อ่านจากซ้ายไปขวา และ จากลา่ งขึ้นบนเช่นกนั 28
29
ค. จตั รุ ัสซ่ึงเป็นคา่ ของกรดิ ณ จดุ ท่ีพจิ ารณา การอ่านใหอ้ า่ นจากซ้ายไปขวา และจากล่างขน้ึ บน รูปแสดงตารางกริด 30
การอ่านคา่ พิกัดกรดิ 1. อา่ นค่าของกริดโซน (เขตกรดิ ) ปกติมกั จะอา่ นเม่ือพนื้ ท่ีครอบคลมุ เกนิ 1 โซน ขึน้ ไป 2. อ่านค่าของจตั รุ สั 100,000 เมตร ปกตมิ กั จะอ่านเม่ือพน้ื ทค่ี รอบคลมุ เกนิ 1 จัตรุ สั 100,000 เมตร ข้นึ ไป 3. อา่ นค่าของจัตรุ สั ณ จดุ ทพี่ ิจารณาสาหรับแผนที่ 1 : 50,000 อา่ นตัวเลข 4 ตาแหน่งจะครอบคลุมพื้นท่ี ยาวดา้ นละ 1,000 เมตร อ่านตัวเลข 6 ตาแหน่งจะครอบคลุมพน้ื ท่ยี าวดา้ นละ 100 เมตร และถา้ อา่ นตัวเลข 8 ตาแหน่ง จะครอบคลมุ พื้นท่ี ยาวดา้ นละ 10 เมตร เป็นต้น 4. สาหรบั แผนท่ีมาตราสว่ น 1 : 50,000 ค่าของเส้นกรดิ ทีอ่ ยซู่ ้ายสุดและล่างสุดของแผน่ ระวางจะบอกคา่ ไว้ ชดั เจนวา่ อยู่ห่างจากศนู ย์กาเนดิ คือ Central Meridian และ Equator วา่ เปน็ ระยะหา่ งไปทาง E และ N ก่ีเมตร 5. ตัวอยา่ งการอา่ นคา่ กรดิ อ่าน 15T หมายถงึ อา่ นครอบคลมุ พนื้ ทกี่ ริดโซน 6 x 8 องศา อ่าน 15T UP หมายถงึ อา่ นครอบคลมุ พื้นท่ีจตั รุ ัส 100,000 เมตร ของกรดิ โซน 15 T อ่าน 15T UP 57 หมายถึง อา่ นครอบคลมุ พ้นื ท่จี ัตรุ สั ยาวดา้ นละ 10,000 เมตร ของจัตรุ ัส 100,000 เมตร UP และของกริดโซน 15 T อา่ น 15T UP 5072 หมายถึง อ่านครอบคลมุ พื้นทจ่ี ัตุรสั ยาวดา้ นละ 1,000 เมตร ของจัตุรัส และกริดโซนตามท่กี ลา่ ว อา่ น 15T UP 501724 หมายถึง อา่ นครอบคลุมพื้นที่จตั ุรสั ยาวดา้ นละ 100 เมตร เป็นตน้ แผนทีช่ ดุ ใหม่ L7018 ความเป็นมา กรมแผนทีท่ หารได้จัดทา โครงการทาแผนท่มี ูลฐานเชงิ เส้นและเชงิ ตวั เลขของประเทศไทย ข้ึนโดยร่วมมอื กบั หน่วยงานแผนที่สหรฐั หรือ NIMA(National Imagery and Mapping Agency)โดยวธิ ีจัดจ้างแบบ FMS โดยมี สาระสาคญั ของโครงการดังน้ี 1.เป็นการจดั ทาแผนทภ่ี มู ิประเทศ มาตราส่วน 1 : 50,000 ครอบคลุมท่วั ประเทศจานวน 830ระวางทง้ั ในรปู แบบ แผนทเ่ี ชงิ เสน้ (Line Map) และแผนทเ่ี ชิงตวั เลข (Digital Map) โดยแบ่งการดาเนินการจัดทาดงั น้ี 1.1 กรมแผนทท่ี หาร ดาเนินการเองทงั้ สิน้ 45 ระวาง 1.2 หนว่ ยงานแผนทส่ี หรัฐ(NIMA) ดาเนนิ การใหเ้ องทงั้ ส้ิน 75 ระวาง 1.3 จดั จ้างหน่วยงานแผนท่ีสหรฐั (NIMA) โดยวธิ ี FMS จานวน 710 ระวางโดย -กรมแผนท่ีทหารสนับสนนุ ขอ้ มูลจาแนกรายละเอียดในสนามใหท้ ้ังสิ้น -NIMA ให้การสนบั สนนุ ขอ้ มลู แผนที่อน่ื ครอบคลมุ พื้นท่ี 101 ระวาง 1.4 กรมแผนทท่ี หาร รับผิดชอบงานพมิ พ์แผนทท่ี งั้ 830 ระวาง 2.เปลี่ยนชอ่ื ชุดระวางแผนที่จากเดมิ L 7017 เปน็ L 7018 3.เปลี่ยนพื้นหลกั ฐานอา้ งองิ ทางราบจากเดิม INDIAN 1975 เปน็ WGS 84 4.ห้วงระยะเวลาโครงการปงี บประมาณ 2541-2545 (1 ส.ค. 41 – 30 ก.ย.45) ผลสาเรจ็ ท่จี ะไดร้ ับเม่ือเสรจ็ ส้ินโครงการ 1.แผนท่เี ชิงเสน้ และเชงิ ตวั เลขมาตราส่วน 1: 50,000 ครอบคลุมทัว่ ประเทศไทยจานวนทั้งสิ้น 830 ระวาง 2.ข้อมูลความสูงภูมปิ ระเทศเชิงตัวเลข(Digital Terrain Model หรอื DTED Level 2) มาตราส่วน 1:50 000 31
3.นอกเหนือจากผลผลติ ดงั กลา่ วขัน้ ต้นแลว้ กรมแผนที่ทหารจะได้รบั การถา่ ยทอดเทคโนโลยเี่ ก่ยี วกบั การทา หรอื แกไ้ ขแผนท่ีโดยใชด้ าวเทียมที่สามารถนามาประยุกตใ์ ชใ้ นการดารงความทนั สม้ยของแผนท่ีชดุ น้ีใน อนาคตอีกด้วย ข้อคานึงการใช้งานของแผนท่ีชดุ L 7018 รายละเอยี ดของแผนที่ชุด L7018จะมขี อ้ มลู ทมี่ รี ายละเอยี ดท่ีทนั สมยั กวา่ แผนท่ชี ุด L7017 เพราะข้อมลู ทีใ่ ช้ จะเปน็ ข้อมูลในปี 2540 เป็นต้นไป การอ่านและใช้แผนท่ีชดุ L7018จะเหมือนกบั การอา่ นและใช้แผนที่ชุด L7017 ทกุ ประการ ยกเวน้ ค่าพกิ ัดทางราบ ทอ่ี ่านไดจ้ ากแผนที่ชดุ L7018จะแตกตา่ งกบั ค่าพิกัดที่อ่านได้จากแผนที่ชดุ L7017 เพราะแผนที่ L7018ใชพ้ ื้น หลักฐาน(DATUM) จาก WGS84 แต่แผนท่ี L7017 ใชพ้ ้ืนหลกั ฐาน(DATUM) จาก indian1975 ค่าระดับความสูงที่อ่านได้จากแผนท่ีชุด L7018จะเปน็ คา่ จากระดับนา้ ทะเลปานกลาง เช่นเดียวกับแผนท่ีชุด L7017 (แมว้ ่า ในความจริงแลว้ ค่าระดบั ความสูงจากแผนท่ชี ดุ L7018เปน็ ค่าทางระดบั จากลกู โลก ทไ่ี ดจ้ ากค่า รงั วดั ทางแรงดงึ ดดู (Geoid) แตถ่ ือว่าใกล้เคียงกับคา่ ระดับนา้ ทะเลปานกลาง) ค่าพกิ ัดทีไ่ ดจ้ ากแผนท่ชี ุด L7018ทาใหส้ ามารถใช้ร่วมกับเคร่ืองมือรงั วัดดว้ ยดาวเทยี ม GPS ได้อยา่ งสอดคล้อง เพราะค่าพกิ ดั จากเครอื่ งมือรงั วดั ดว้ ยดาวเทียม GPS กเ็ ปน็ ระบบ WGS84 เชน่ กัน แผนทช่ี ดุ L7018คาดว่าจะเร่ิมพมิ พ์ออกมาตั้งแตป่ ี พ.ศ. 2546 ผใู้ ชแ้ ผนที่ในระยะแรกต้องมคี วามระมัดระวงั ในการ ใช้งาน เพราะยงั มหี ลายหนว่ ยงานที่ยงั คงใชแ้ ผนท่ีชดุ L7017 อยู่ การอ้างอิงตาแหน่งทอ่ี ย่หู รือ พิกดั ผู้ใช้ต้อง ตรวจสอบให้ดีก่อนวา่ เปน็ คา่ พิกดั จาก ชุดแผนท่ีใด บทท่ี 4 มาตราส่วน และ ระยะทาง ( Scale and Distance ) เมอ่ื จะวางแผนและปฏบิ ัตภิ ารกิจ ระยะทางยอ่ มเปน็ ปจั จัยท่ีสาคัญประการหนงึ่ มาตราสว่ นของแผน ที่จะช่วยให้สามารถหาระยะในภูมิประเทศได้จากแผนท่ีนั้น ๆ การท่ีจะลดขนาดของแผนท่ีลงจนใช้การได้น้ัน ทุก ๆ ส่ิงบนแผนที่จะต้องลดขนาดลงไปในอัตราส่วนเดียวกันด้วยปริมาณท่ีวัตถุต่าง ๆ ถูกลดขนาดลงไปนั้น จะตอ้ งแสดงใหท้ ราบโดยมาตราสว่ นของแผนท่ี ก. มาตราสว่ นของแผนท่ี คอื ความสมั พนั ธ์ระยะทางราบ (ระดบั ) บนแผนทกี่ ับระยะทางราบ (เดียวกนั ) ในภูมปิ ระเทศ ตามปกตกิ ารเขียนมาตราส่วนของแผนที่จะต้องเขียนไว้เป็นเศษส่วนและเรียกว่ามาตรา สว่ น - มาตราสว่ น = ระยะบนแผนท่ี = MD ระยะในภมู ิประเทศ GD มาตราสว่ นจะตอ้ งเขียนโดยกาหนดใหร้ ะยะบนแผนทเ่ี ป็น 1ไว้เสมอ เชน่ 1 : 1,000 , 1 / 1,000 1 , 1 เซนติเมตร ตอ่ 200 เมตร , 0001 น้ิว ตอ่ 1 ไมล์ เป็นต้น 1,000 - มาตราส่วนย่อมใช้หนว่ ยวดั ใด ๆ ก็ได้ เชน่ 1 ( มม ) , 1 ( ซม ) 1,000 ( มม ) 1,000 ( ซม ) 32
ข. การพิจารณาหาระยะในภูมปิ ระเทศระหว่างจุด 2 จุดนั้น กระทาไดโ้ ดยการวดั ระยะห่างระหวา่ ง จดุ 2 จุด บนแผนท่แี ล้วคณู ด้วยส่วนของมาตราส่วน เชน่ แผนที่มาตราส่วน 1 / 1,000 วัดระยะบนแผนท่ีได้ 5 ซม. ดงั น้ันระยะในภมู ิประเทศ 5 x 1,000 = 5,000 ซม. ค. การหามาตราสว่ นของแผนท่ี กระทาได้ 2 วธิ ี คือ 1. เปรยี บเทยี บระยะบนแผนทก่ี ับระยะเดียวกนั ในภูมปิ ระเทศ - วัดระยะระหวา่ งจดุ 2 จดุ บนแผนท่ี - วัดระยะระหวา่ งจดุ 2 จุด เดยี วกนั ในภมู ปิ ระเทศ แผนทฉ่ี บบั หนง่ึ ไมท่ ราบมาตราสว่ น แต่วัดระยะระหว่างจุด 2 จดุ ของแผนทีไ่ ด้ 10 ซม. และวัดระยะเดียวกัน นี้ในภูมิประเทศได้ 1,000 ม. แผนทีฉ่ บบั น้มี มี าตราส่วนเท่าไร มาตราส่าน = ระยะบนแผนที่ ระยะในภูมปิ ระเทศ = 10 (ซม.) 1,000 (ม.) = 10 1,000 x 100 แผนท่ฉี บบั น้มี มี าตราสว่ น = 1 / 10,000 2. เปรยี บเทียบกบั แผนที่อืน่ ในบริเวณเดยี วกัน ซึง่ มีมาตราสว่ นอย่แู ล้ว - วัดระยะระหว่างจดุ 2 จดุ บนแผนที่ที่ทราบมาตราส่วนแล้ว - คานวณหาระยะในภูมปิ ระเทศ - วดั ระยะระหวา่ งจุด 2 จุด เดยี วกันบนแผนท่ีท่ีไมท่ ราบมาตราส่วนแผนทฉี่ บับหน่งึ ไม่ทราบมาตราส่วน แต่ วดั ระยะระหวา่ งจดุ 2 จุดได้ 10 ซม. และแผนทอี่ ีกฉบบั หนงึ่ มมี าตราส่วน 1 : 2,000 และวัดระยะระหว่าง จุด 2 จุด ได้ 4 ซม. ดงั นั้นแผนที่ฉบับแรกน้มี มี าตราส่วนเท่าไร แผนทฉ่ี บับหลงั มาตราสว่ น 1 : 2,000 วดั ระยะได้ 4 ซม. ระยะในภมู ิประเทศ = 2,000 x 4 = 8,000 ซม. มาตราส่วน = ระยะบนแผนท่ี ระยะในภูมปิ ระเทศ แผนท่ีฉบับแรกมีมาตราสว่ น = 10 ซม. 8,000 ซม. = 1 : 800 33
ง. การหาระยะบนแผนท่ี ระยะบนแผนท่ี = ระยะในภมู ประเทศ ตวั สว่ นของมาตราส่วน แผนทฉี่ บับหนง่ึ มาตราสว่ น 1 : 2,000 วดั ระยะในภมู ปิ ระเทศระหว่างจุด 2 จุดได้ 600 เมตร ระยะห่างจดุ 2 จุดบนแผนท่ีจะเทา่ ใด ระยะบนแผนท่ี = ระยะในภูมปิ ระเทศ ตัวส่วนของมาตราส่วน = 600 x 100 2,000 = 30 ซม. จ.การหาระยะในภมู ิประเทศจากแผนที่ ความถกู ตอ้ งแน่นอนย่อมข้ึนอยกู่ บั ขนาดของมาตราสว่ นมาตรา ส่วนของแผนทย่ี ง่ิ มขี นาดเล็กลงเพยี งใด ความถกู ตอ้ งแน่นอนในการวดั ย่อมมีนอ้ ยลงไป ตามลาดับ เนอื่ งจากลกั ษณะต่าง ๆ บนแผนที่น้นั จะตอ้ งมีขนาดใหญ่เกินความเปน็ จรงิ ขึ้นมา เพอ่ื ให้ สามารถมองเห็นไดอ้ ยา่ งชัดเจน ฉ. ความสมั พันธ์ระหว่างมาตราส่วนและพื้นท่ี - แผนทมี่ าตราส่วนใหญ่กว่าย่อมครอบคลมุ พื้นทน่ี ้อยกว่าแผนท่ีซง่ึ มีมาตราสว่ นเล็กกว่าดว้ ยขนาดของแผน ระวางที่เท่ากนั - แผนท่ซี งึ่ มาตราส่วนตา่ งกัน 2 เท่า แตก่ ารครอบคลุมพื้นทจี่ ะต่างกนั 4 เทา่ และแผนทซ่ี ึ่งมาตราส่วนต่างกัน 4 เท่า จะครอบคลุมพ้นื ทีต่ า่ งกัน 16 เทา่ มาตราส่วนเสน้ บรรทัด (Graphic scale ) ก. มาตราส่วนเส้นบรรทดั เป็นบรรทดั อันหนง่ึ ท่ีพิมพ์ไว้ในแผนท่ีเพื่อใช้วัดระยะต่าง ๆ ท่ีปรากฏอยู่บนแผนท่ีได้ ตรงกบั ระยะจรงิ ในภูมปิ ระเทศไดส้ ะดวกและรวดเรว็ โดยไมต่ อ้ งคดิ คานวณแตอ่ ยา่ งใด - มาตราสว่ นเสน้ บรรทดั ประกอบดว้ ยมาตราสว่ นหลกั ซง่ึ อยู่ทางขวาของเลข 0 มหี น่วยวัดระยะที่เปน็ จานวนเตม็ และมาตราส่วนย่อยอยูท่ างซ้ายของเลข 0 มีหนว่ ยวดั ระยะท่แี บ่งออกเป็นสว่ ยยอ่ ย ๆ 10 ส่วน - แผน่ ที่เป็นสว่ นมากมกั จะมีมาตราสว่ นเส้นบรรทดั อยู่ 3 บรรทดั หรือมากกกว่านนั้ แตล่ ะบรรทัดจะมี หนว่ ยวัดระยะที่แตกตา่ งกนั ไป ข. การหาระยะในภมู ปิ ระเทศท่เี ปน็ เส้นตรงระหวา่ งจดุ 2 จุดบนแผนท่ีกระทาโดยวางกระดาษทีม่ ขี อบเปน็ เสน้ ตรงลงบนแผนที่ โดยใหข้ อบของกระดาษจรดกับจุดท้ังสองที่ตอ้ งการ แล้วทาเครอื่ งหมายขดี เล็ก ๆ ไว้ บนขอบของกระดาษตรงแต่ละจุด หลงั จากน้นั เลอื่ นกระดาษลงมาทาบกับมาตราส่วนเส้นบรรทดั ตามหนว่ ย วดั ที่ต้องการ (กรณที ่ีมหี ลายหน่วยวดั ) อ่านระยะในภูมิประเทศระหวา่ งจุดทงั้ สองจากมาตราส่วนเส้น บรรทัด ค. การวดั ระยะบนแผนท่ีท่ีเปน็ เส้นโคง้ กระทาโดยใชก้ ระดาษที่มีขอบเส้นตรง ทาเคร่อื งหมายขีดเล็ก ๆ ไว้ ใกล้ปลายข้างหน่ึงของกระดาษ วางเครอ่ื งหมายขดี เล็ก ๆ ใหต้ รงกบั จดุ เร่มิ ตน้ ของแนวที่ตอ้ งการวัดแล้วทาบ ขอบกระดาษไปตามสว่ นท่เี ป็นเส้นตรง แล้วทาเครอื่ งหมายขดี เล็ก ๆ ไวท้ ัง้ บนแผนท่ีและบนกระดาษกด 34
ปลายดินสอลงบนเครอ่ื งหมายท่ีทาไว้บนกระดาษ เพือ่ ไม่ให้ขีดเล็ก ๆ บนกระดาษและในแผนทเ่ี คล่อื นจาก กนั หมนุ กระดาษไปจนกวา่ จะอยู่ในแนวของสว่ นทเ่ี ปน็ เส้นตรงต่อไป และทาเครือ่ งหมายขีดเล็ก ๆ ใหมท่ ั้ง บนแผนท่ีและบนกระดาษ กระทาเช่นน้ีเรอื่ ยไปจนกว่าจะวัดระยะเสร็จ แล้วจงึ นากระดาษนัน้ ไปวางทาบลง บนมาตราสว่ นเสน้ บรรทดั เพ่อื อ่านระยะในภูมปิ ระเทศต่อไป การวัดระยะทางตรงบนแผนที่ 35
การวัดระยะทางตามแนวโคง้ บนแผนท่ี ง. การสรา้ งมาตราสว่ นเสน้ บรรทัด บางคร้ังแผนทต่ี า่ ง ๆ อาจไมม่ มี าตราสว่ นเส้นบรรทดั เพอ่ื สะดวกใน การหาระยะในภูมปิ ระเทศ จงึ จาเปน็ ตอ้ งสร้างมาตราส่วนเสน้ บรรทดั ขน้ึ ใช้ กอ่ นทจ่ี ะสรา้ งมาตราสว่ นเส้น บรรทดั จะตอ้ งทราบค่าสองค่าคือ 1. มาตราสว่ นแผนที่ 2. ความยาวของมาตราสว่ นเสน้ บรรทดั จ. การสรา้ งมาตราส่วนเสน้ บรรทัดแสดงเวลา - ระยะทางบางคร้ังการปฏบิ ัตกิ ารนนั้ จานวนเวลาที่ตอ้ งการ ทราบในการทางเดนิ ทางนนั้ ย่อมเปน็ ปจั จัยสาคัญประการหนงึ่ ความตอ้ งการในเร่อื งน้อี าจกระทาได้ ถ้ามี แผนท่ีบริเวณนัน้ ๆ โดยสร้างมาตราส่วนเสน้ บรรทดั แสดงเวลา - ระยะทางข้ึนเพือ่ ใชก้ บั แผนทนี่ น้ั คือ เวลา = ระยะทาง อัตราความเร็วในการเดินทาง 36
บทท่ี 5 ความสงู และทรวดทรง ความสูงและทรวดทรง การอา่ นแผนที่มคี วามจาเปน็ อยา่ งมากท่ีจะต้องสามารถวเิ คราะหล์ ักษณะของภูมปิ ระเทศได้ถกู ต้อง เหมือนกับท่ีได้เห็นจากภูมิประเทศจริง ความไม่สม่าเสมอของภูมิประเทศเรียกว่า ความสูงและทรวดทรงนับว่า เป็นรายละเอยี ดท่มี คี ่าทางทหารเปน็ อย่างมาก ทงั้ น้ีเพราะลักษณะภูมิประเทศดังกล่าวมีอิทธิพลต่อการปฎิบัติการ ทางทหาร เช่น การเคล่ือนที่ ท่ีตรวจการณ์ การกาบัง การซ่อนพราง ฯลฯ ดังนั้นผู้ใช้แผนท่ีจะต้องทราบถึง ลกั ษณะภมู ิประเทศ ดังกล่าวจากการมีความรู้ความสามารถในการอา่ นแผนทีเ่ ป็นอยา่ งดี ก. การพจิ ารณาลกั ษณะภูมปิ ระเทศ ผูศ้ ึกษาจะตอ้ งมคี วามเขา้ ใจในเร่ือง 1. พื้นหลกั ฐาน คอื หลักฐานอนั หนงึ่ ท่ใี ชเ้ ป็นจุดเร่ิมตน้ ในการวัดความสงู แผนทเ่ี ป็นสว่ นมากจะใช้ ระดับนา้ ทะเลปานกลางเปน็ พ้ืนหลักฐาน ระดับนา้ ทะเลสงู สุด ระดับนา้ ทะเลปานกลาง ระดับน้าทะเลตา่ สดุ 2. ความสงู หมายถงึ ระยะในทางดิง่ ของวตั ถหุ น่ึงซงึ่ อยสู่ ูงหรือต่ากว่าพนื้ หลกั ฐาน จากรูป จดุ X เปน็ ความสงู ทอี่ ย่เู หนอื พ้นื หลักฐานในขณะทีจ่ ุด Y อยตู่ า่ กวา่ พืน้ หลกั หลกั ฐาน X Y 3. ทรวดทรง หมายถึงรปู รา่ งในทางสงู ของผวิ พิภพ ข. การแสดงความสงู ของภมู ปิ ระเทศบนแผนทน่ี ้นั กระทาไดห้ ลายวิธี เช่น - เส้นชั้นความสูง ( CONTOUR LINES ) - เสน้ ลายขวานสบั ( HACHURES ) - แถบสี ( LAYER TINTING ) 37
- ทรวดทรงแรเงา ( SHADED RELIEF ) - จดุ กาหนดสูง ( PRECISE FIGURES ) ค. เส้นชั้นความสูง คือเส้นสมมตุ ิบนพื้นผิวพิภพทลี่ ากไปตามจุดต่าง ๆ ที่มีความสงู เท่ากัน เส้นชั้นความ สูงจะแสดงให้ทราบถงึ ระยะในทางด่งิ ท่ีอยู่สูงหรือต่ากวา่ พืน้ หลักฐาน ตามปกติแล้วจะเรมิ่ จากระดบั น้าทะเล ปานกลาง ซึ่งถือว่าเป็นเส้นชน้ั ความสงู ทม่ี คี า่ เป็นศูนย์ และเสน้ ช้ันความสงู แตล่ ะเส้นจะแสดงความสงู เหนือ ระดบั นา้ ทะเลปานกลาง แผนท่สี ่วนมากจะพมิ พ์เสน้ ชัน้ ความสงู ไวด้ ว้ ยสนี า้ ตาล ช่วงต่างเส้นช้นั ความสงู (CONTOUR INTERVAL) หรอื ระยะอุธนั ดร คือระยะในทางดิ่งระหวา่ งเสน้ ช้นั ความสงู สองเส้นที่อยู่ตดิ กนั ตามปกติคา่ ของชว่ งต่างเสน้ ชน้ั ความสงู จะแสดงไวท้ ร่ี ายละเอียดของขอบ ระวางแผนที่ ประเภทของเสน้ ช้ันความสูง 1. เสน้ ชั้นความสงู หลกั ( INDEX CONTOURS ) คือเสน้ ช้นั ความสูงทีเ่ ขียนไว้ด้วยเส้นหนกั และแสดงค่า ความสงู กากับไว้ 2. เส้นช้ันความสูงรอง ( INTERMEDIATE CONTOURS ) คอื เส้นชั้นความสูงท่อี ยูร่ ะหวา่ งเส้นช้ัน ความสูงหลักและเขยี นไวด้ ้วยเสน้ ท่ีเบากว่าเสน้ ชน้ั ความสงู หลักปกติจะไมม่ กี ารแสดงคา่ ของความสงู กากบั ไว้ 38
3. เสน้ ช้นั ความสูงแทรก ( SUPPLEMENTARY CONTOURS ) คือเส้นชัน้ ความสูงทีเ่ ขียนเปน็ เส้นประผ่านบรเิ วณท่ีมคี วามสูงครง่ึ หน่ึงระหวา่ งเสน้ ชัน้ ความสูงสองเสน้ มกั เปน็ บรเิ วณภูมปิ ระเทศท่ีลาดชันน้อยจน เกอื บเปน็ พื้นระดบั แสดงให้ทราบถึงความสงู บรเิ วณใดบริเวณหนึง่ ระหว่างเส้นช้นั ท้ังสอง เสน้ ช้ันความสงู แทรก 4. เส้นชัน้ ความสงู ดีเพรสช่นั ( DEPRESSION CONTOURS ) คอื เส้นชน้ั ความสงู ทีแ่ สดงลักษณะของ พืน้ ทท่ี ่มี ีความสูงนอ้ ยกวา่ ภูมิประเทศทอี่ ย่โู ดยรอบ เช่น แอ่ง บอ่ เหว เส้นชัน้ ความสูงชนิดน้ีจะเขียนขีดส้ัน ๆ เพ่ิม ลงทเ่ี ส้นชนั้ ความสงู ดา้ นใน โดยหนั ปลายขีดไปทางลาดลง เส้นชนั้ ความสูงดีเพรสชน่ั 5. เสน้ ชนั้ ความสูงโดยประมาณ ( APPROXIMATE CONTOURS ) คือเส้นช้นั ความสูงที่เขียนข้ึนเป็น เสน้ ประ เพอ่ื แสดงความสงู โดยประมาณ เนอ่ื งจากไม่สามารถทราบความสงู ทแ่ี ท้จรงิ ของบริเวณน้นั 39
เสน้ ชัน้ ความสูงโดยประมาณ การพิจารณาหาความสงู ของจุดต่าง ๆ จากเสน้ ชั้นความสงู 1. หาคา่ ของช่วงตา่ งเส้นช้นั ความสูง ( ระยะอุธนั ดร ) ของแผนท่จี ากรายละเอยี ดขอบระวาง หรอื จาก เส้นช้ันรองระหว่างเสน้ ช้นั หลัก วา่ เป็นเท่าไร หนว่ ยวดั อะไร 2. หาเสน้ ชั้นความสงู ทมี่ ีหมายเลขกากบั หรือความสงู แห่งใดกต็ าม ที่อยูใ่ กล้กับจดุ ท่ตี ้องการจะหาความสูง ทส่ี ุด 3. พิจารณาหาทศิ ทางของลาดจากเสน้ ชั้นความสูงท่มี หี มายเลขกากบั ไปยงั จดุ ที่ต้องการทราบความสงู นั้น 4. นับจานวนของเส้นชน้ั ความสูงทอ่ี ยใู่ นระหวา่ งเสน้ ชนั้ ความสงู ทีม่ ีหมายเลขกากับกับจดุ ท่ตี อ้ งการทราบ ความสงู และตรวจดูวา่ จดุ นั้นอยู่ในทิศทางสูงหรอื ต่ากว่าเสน้ ชน้ั ความสูงที่มหี มายเลขกากบั จานวนเสน้ ทีน่ บั ได้คณู ด้วยคา่ ช่วงตา่ งเส้นชัน้ ความสงู จะเท่ากบั ระยะที่อยู่สูงหรือต่ากว่า จากค่าของเสน้ ชัน้ ความสูงทม่ี ี หมายเลขกากับ ก. ถ้าจดุ ทต่ี อ้ งการทราบความสูง อยูบ่ นเส้นชัน้ ความสงู ความสงู ของจดุ นัน้ กค็ ือคา่ ของเส้นชน้ั ความสงู นัน้ ถา้ จุดที่ต้องการทราบความสูง อยู่ระหว่างเส้นช้ันความสูง จะหาได้โดยวิธีเทียบส่วนสัมพันธ์ แล้วนาไปบวกกับค่า ของเสน้ ช้ันความสูงเสน้ ลา่ งของจุดนัน้ กฎเกณฑเ์ ก่ยี วกับความสูงของเส้นช้นั ความสงู 1. การประมาณความสงู ของยอดเนนิ หรือยอดเขา ให้บวกความสูงของเสน้ ชน้ั ความสงู เสน้ ท่ีอยู่ สงู สุด ด้วยครึง่ หน่ึงของคา่ ช่วงตา่ งเส้นชน้ั ความสูง การประมาณความสงู ของท่ีต่ากใ็ หล้ บความสูงของเส้นชั้นเส้นท่ี อยตู่ า่ สุดดว้ ยครง่ึ หนึ่งของค่าของช่วงต่างเส้นชั้นความสูงเช่นกัน 40
2. เสน้ ชั้นความสงู 2 เส้น ท่ีลอ้ มรอบกันจะมคี วามสูงต่อเนอ่ื งกนั 3. เสน้ ชั้นความสงู 2 เสน้ ท่ีอยูใ่ กลเ้ คียงกนั แตม่ ไิ ดล้ ้อมรอบบริเวณเดยี วกนั จะมีความสูงเทา่ กัน 4. เส้นชั้นความสูง 2 เสน้ อยใู่ นบรเิ วณใกลเ้ คียงกนั แต่มไิ ด้ลอ้ มรอบบรเิ วณเดียวกัน และอีกเส้นหนง่ึ เปน็ เส้นช้นั ความสงู ชนิดดีเพรสช่นั เสน้ ช้ันความสูงทัง้ 2 เส้นนจ้ี ะมคี วามสงู ตอ่ เน่ืองกัน 5. เสน้ ช้นั ความสงู ทล่ี ้อมรอบเส้นชัน้ ความสูงชนดิ ดเี พรสชน่ั เส้นชั้นความสงู ทัง้ 2 เสน้ นจ้ี ะมีความสูงเทา่ กัน 41
ลกั ษณะตา่ ง ๆ ของเส้นชน้ั ความสงู ซ่งึ แสดงใหท้ ราบถงึ ลักษณะของผิวพิภพ 1. เส้นชัน้ ความสูง จะมลี กั ษณะเปน็ เส้นโคง้ เรียบ และบรรจบตัวของมนั เองเสมอ 2. เสน้ ชน้ั ความสูงท่มี าบรรจบกนั เปน็ เสน้ สดุ ทา้ ย แสดงวา่ บรเิ วณนน้ั เปน็ ยอดเนนิ หรือยอดเขาถ้ามี ลักษณะเกือบเป็นวงรอบ แสดงว่ายอดเขานั้นเป็นยอดแหลม หรือมีลักษณะเป็นลูกบิด ถ้ามีลักษณะเป็นวงยาว แสดงว่ายอดเขาน้ันเปน็ สัน 42
3. เส้นชนั้ ความสงู ท่ีแสดงเนนิ 2 เนนิ ชิดกันภายในเสน้ ชนั้ ความสงู เส้นหนงึ่ แสดงวา่ เปน็ คอเขา ( SADDLE ) ตามกฎท่ัวไปแล้ว คอเขาคือจดุ ท่ีอยตู่ ่าจนเหน็ ไดอ้ ย่างชดั เจน ตามยอดสนั เขา 4. เส้นชั้นความสงู ท่มี ีลักษณะเป็นรปู ตัวยู ( U ) ฐานเรยี ว เรยี งต่อกนั ดา้ นปลายของตัวยู ชี้ไปทาง พ้ืนทีซ่ ่ึงมีความสงู มากกวา่ แสดงวา่ บริเวณนั้นเปน็ สันเขา สันเขาอาจจะมีระยะตดิ ต่อกนั ไปเป็นหลาย ๆ กิโลเมตร และ อาจมีลักษณะท่ีคดเค้ียวมาก หรือเป็นแนวตรงไปโดยตลอดก็ได้ สันเขาอาจจะมีความสูงโดยสม่าเสมอไป ตามยอดเขา หรืออาจจะมีความสูงแตกตา่ งกันมาก ๆ กไ็ ด้ 5. เสน้ ชัน้ ความสงู ท่มี ีรปู ร่างลกั ษณะยื่นออกมาเหมอื นน้วิ มือ ( ตวั U ฐานกลม ) เรียงต่อกนั 43
ตามลาดับซึ่งขยายออกไปในทศิ ทางขา้ งจากสันเขา แสดงว่าเป็นจมกู เขาหรือไหลเ่ ขา ( SPUR ) 6. เสน้ ชัน้ ความสงู ท่ตี บี เขา้ ไปสูเ่ ส้นเดยี วกนั แสดงว่าเปน็ หนา้ ผา ตามปกติเส้นชั้นความสูงจะไม่ตดั กัน แต่ถา้ ตดั กันและอกี เส้นหนง่ึ เป็นเสน้ ประแสดงวา่ บรเิ วณน้ันเป็นเขาชะโงก 7.เสน้ ช้นั ความสูงที่มรี ปู ร่างลกั ษณะเป็นชดุ ของรูปตัววี ( V ) เรียงกนั ไปตามลาดบั แสดงว่าเปน็ ซอกเขา ( DRAW ) และฐานของตัววีจะชี้ไปทางต้นน้าเสมอซอกเขาคือทางน้าที่ไม่มีโอกาสจะทาให้เกิดเป็นพ้ืน ของหุบเขาได้ หุบเขาจะมีพ้ืนระดับอย่างพอเพียงที่จะอานวยให้ใช้ประโยชน์ได้ แต่ซอกเขาจะไม่มีลักษณะ ดงั กล่าวน้ี 44
8. เสน้ ช้นั ความสูงท่ีขนานไปกบั ทางนา้ โดยประมาณ ซ่ึงมคี วามสูงต่ากว่าเส้นชัน้ ความสูงเส้นอืน่ ซึ่งอยู่หา่ งทางนา้ ออกไปอย่างเด่นชดั ( เส้นชน้ั ความสงู ทัง้ หลายทข่ี นานกันทางน้านี้มักจะอยู่ห่าง ๆ กัน ) แสดงว่า บรเิ วณน้เี ป็นหุบเขา ( VALLEY ) แสดงว่ามีพนื้ ราบเพียงพอทีจ่ ะใชป้ ระโยชน์ได้ เชน่ ใชเ้ ป็นทีป่ ฏิบตั ิการภารกิจได้ใน ขอบเขตจากัด 9. เส้นชน้ั ความสูงที่เปน็ เสน้ ตรง และขนานไปทง้ั สองขา้ งติดกับถนน ทางรถไฟ และสงิ่ ท่ี มนุษยส์ รา้ งข้ึนอ่ืน ๆ และผา่ นไปทางเนิน สันเนิน แสดงว่าเป็นท่ีตัดดิน ( CUT ) แต่ถ้าข้ามผ่านพ้ืนท่ีต่าแสดงว่า เป็นท่ีพูนดนิ ( FILL ) ทีพ่ ูนดินมักจะแสดง ใหเ้ หน็ ด้วยรอยเลก็ ๆ โดยหนั ขีดไปทางท่ีตา่ กวา่ 45
10. เส้นช้ันความสงู บริเวณใดท่ีอยหู่ ่างกนั เท่า ๆ กันแสดงวา่ เปน็ ลาดชนั นอ้ ยทสี่ ม่าเสมอ 46
11. เส้นช้ันความสงู บริเวณใดท่ีอยู่ค่อนขา้ งชิดกันเทา่ ๆ กันแสดงวา่ เปน็ ลาดชันมากที่สมา่ เสมอ 12. เส้นชั้นความสูงท่อี ยชู่ ิดกันตอนยอดและหา่ งกันในตอนล่าง แสดงวา่ เป็นลาดเว้า 47
13. เสน้ ชน้ั ความสูงที่อยหู่ ่างกนั ตอนยอด และชิดกันตอนล่างแสดงวา่ เป็นลาดนูน ลาด ( SLOPE ) ลาด คอื พนื้ เอยี งของพภิ พทท่ี ามุมกับพน้ื ระดบั อาการลาดของภูมปิ ระเทศนับว่าเป็นรายละเอียดที่มี ความสาคัญ ท้ังน้ี เน่ืองจากอาการลาดมีผลกระทบ ต่อการเลือกเส้นทางท่ีจะใช้เคล่ือนที่ การเลือกหาท่ีต้ังของ หนว่ ย ฯลฯ สาหรับประเภทของลาด คือลาดสม่าเสมอ ลาดนนู และลาดเวา้ ตามที่ไดก้ ล่าวิมาแล้วในเร่ืองลักษณะ ต่าง ๆ ของเส้นชั้นความสูง หวังว่าผู้ศึกษาเมื่อเห็นเส้นชั้นบนแผนที่แล้วคงนึกภาพออกว่าภูมิประเทศจริงมี ลักษณะอย่างไรแตว่ ิธีการที่จะให้ความแนน่ อนได้มากยิ่งขึน้ จะต้องหาลักษณะของลาด ให้ได้ถูกต้องอย่างแท้จริง เรยี กวา่ หาคา่ ของลาด ( GRADIENT ) ค่าของลาด คือ ความเอียงของพื้นพิภพ ท่ีทาให้เกิดขนาดของมุมขึ้นกับพ้ืนระดับ หรือค่าของลาดก็ คือ อตั ราส่วนระหว่างระยะในทางดิ่งกบั ระยะในทางระดับ ถ้าเปน็ ลาดขนึ้ ใช้เครอ่ื งหมายบวก (+) ถา้ เป็นลาดลงใช้เคร่อื งหมายลบ (-) ซึง่ แสดงเปน็ เศษส่วนง่าย ๆ 48
คา่ ของลาด = ระยะทางดิ่ง = VD ระยะทางระดับ HD ระยะในทางดิง่ คอื ผลต่างระหวา่ งความสูงทีส่ งู ที่สดุ ของลาดกบั ความสูงท่ีตา่ ท่สี ดุ ของลาดพจิ ารณา หาได้จากเส้นช้ันความสูงต่าง ๆ ส่วนระยะทางระดับ คือระยะที่เป็นเส้นตรงในทางระดับระหว่างความสูงท่ีสูง ท่ีสุดกับความสูงท่ีต่าท่ีสุดของลาด และวัดได้จากมาตราส่วนของแผนที่ ( ระยะทางจากจุด ๆ หน่ึงไปยังอีกจุด หนึ่งบนแผนทถ่ี ึงแมจ้ ะมคี วามสงู ต่างกันถือเปน็ ระยะทางระดบั เสมอ ) ข้อควรระมดั ระวงั ในการหาคา่ ของลาด 1. การคานวณหาค่าของลาดระหว่างจดุ 2 จดุ ในภมู ปิ ระเทศ สามารถกระทาไดเ้ ฉพาะเมื่อมีลักษณะของ ภมู ิประเทศมอี าการลาดขึน้ หรอื ลาดลงโดยสมา่ เสมอ หรอื ค่อย ๆ เปลี่ยนไปทีล่ ะน้อยจะไมส่ ามารถกระทา ผา่ นหุบเขา 2. หน่วยของระยะในทางด่งิ และระยะในทางระดบั จะต้องเปน็ หนว่ ยเดยี วกนั การแสดงค่าของลาด การแสดงคา่ ของลาด มีวิธีแสดง 3 วธิ ี คอื 1. แสดงเป็นเปอรเ์ ซ็นต์ 2. แสดงเป็นมลิ เลยี ม ( MILS ) 3. แสดงเป็นองศา 1. การหาคา่ ของลาดเปน็ เปอรเ์ ซน็ ต์ การแสดงค่าของลาดวธิ นี น้ี ยิ มใชก้ ันมากท่สี ดุ คา่ ของลาดเปน็ เปอรเ์ ซ็นต์ = ระยะทางด่งิ x 100 ระยะทางระดับ - ลาด 1 % คอื พืน้ ท่ีภูมปิ ระเทศสงู ขึน้ หรอื ตา่ ลง หน่วยตอ่ ระยะในทางระดับ 100 หน่วย - ลาด 100 % คือ ลาดทีม่ มี มุ 45 องศา ซึง่ ระยะทางดิ่งและระยะทางระดับเทา่ กนั 2. การหาค่าของลาดเปน็ มลิ เลียม - การคิดค่าของลาดเป็นมิลเลียมน้ี หมายความว่า ความโค้งของวงกลมสูงขึ้นหรือต่าลง 1 หน่วยต่อระยะทาง ระดบั 1,000 หน่วย - การคิดค่าของลาดเปน็ มลิ เลยี มนี้จะไมก่ ระทาต่อเมื่อมีมุมเกนิ 350 มลิ เลียม คา่ ของลาดเปน็ มิลเลียม = ระยะทางดิง่ x 1,000 ระยะทางระดับ 3. การหาคา่ ของลาดเป็นองศา ค่าของลาดเปน็ องศา คือคา่ ของมุมเป็นองศาระหวา่ งพนื้ ระดบั กับพ้ืนเอยี งของพภิ พ ลาด 1 องศา หมายความว่า ลาดที่มีความโค้งของวงกลมสูงขึ้นหรือต่าลง 1 หน่วย ต่อระยะทางระดับ 57.3 หน่วยและค่า ของลาดเป็นองศาน้ี จะมีความผดิ พลาดต่อเม่อื มคี วามโค้งมาก และไมก่ ระทาเม่อื มคี า่ ของลาดเกิน 20 องศา และ ใหใ้ ชค้ ่าของลาดเป็นเปอรเ์ ซน็ ตแ์ ทน ค่าของลาดเป็นองศา = ระยะทางดิง่ x 57.3 ระยะทางราบ 49
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122