ภาพด้านขา้ ง( PROFILES ) คือภาพท่มี องเห็นทางข้างของภาพตดั ของบริเวณสว่ นใดสว่ นหนึง่ ของผวิ ภิภพทอี่ ยรู่ ะหว่างจดุ สอง จุดของแนวเสน้ ตรงเดยี วกัน ภาพดา้ นข้างมปี ระโยชน์มาก กลา่ วคอื 1. ทาใหท้ ราบรายละเอียดเก่ยี วกบั ชนิดของภมู ิประเทศ ความสูงและสภาพของการมองเห็นว่าพืน้ ทใี่ ดเปน็ จุดอับสายตาหรือมองเห็นได้ชัดเจน 2. ใหป้ ระโยชน์ในกจิ การชา่ ง ใช้ช่วยวางแผนในการก่อสร้างเพ่ือวางแผนแนวถนน ทางรถไฟและงานวาง ทอ่ 3.ช่วยในการคานวณดินตัด ดินถม การสร้างภาพดา้ นข้าง สามารถสร้างไดท้ ุกบรเิ วณท่ีตอ้ งการ โดยมีข้ันตอนการปฏบิ ตั ิดงั ตอ่ ไปนี้ 1. ลากเสน้ ตรงผ่านแนวที่ต้องการสร้างภาพด้านข้าง 2. หาจานวนของเสน้ ชั้นความสงู จากจุดสงู สุดและจดุ ตา่ สุดท่ีอย่บู นแนวเสน้ ตรงที่ลากขนึ้ อีก 2 เสน้ คอื เสน้ ที่อยู่เหนอื และใต้จุดสูงสุดและต่าสุด ทง้ั นี้เพ่อื จะใหม้ พี นื้ ที่สาหรบั เขยี นบริเวณทเ่ี ป็นยอดเขาและหบุ เขา 3. หากระดาษเปล่า ๆ มา 1 แผ่น ตเี ส้นบรรทัดใหม้ รี ะยะหา่ งเทา่ กนั เส้นบรรทดั แต่ละเสน้ จะแทนเสน้ ช้นั ความสงู ทีน่ ับได้ในข้อ 2. และระยะห่างระหว่างบรรทัดจะเปน็ เทา่ ไรข้ึนอยกู่ ับมาตราสว่ นทางดิง่ ทเ่ี รา ตอ้ งการ ( เพ่อื ให้เห็นความแตกตา่ งชัดเจน มาตราส่วนมักใหญเ่ กินความจริงประมาณ 5 - 10 เทา่ ) 4. เขียนตวั เลขของเส้นชนั้ ความสงู กากบั ไว้ทบี่ รรทัดแต่ละเส้น โดยเรมิ่ จากบรรทดั ทอ่ี ยู่เหนือเส้น ต่าสดุ 1 เสน้ ใหม้ ีค่าต่าสดุ และส้ินสุดลง ณ บรรทดั ทอี่ ยรู่ องจากเส้นสงู สุด 1 เสน้ ใหม้ คี า่ สูงสดุ 5. นากระดาษแผ่นน้ีทาบลงไปบนแผนท่ีในลักษณะที่แนวของเสน้ บรรทดั ในแผน่ กระดาษขนานกับแนว เสน้ ตรงทลี่ ากไวใ้ นแผนท่ี จากจุดตัดของเส้นตรงกบั เส้นชั้นความสงู ทุกเสน้ ให้ลากเสน้ ตั้งฉากมายังเส้น บรรทัดท่ีปรากฏอยู่บนแผน่ กระดาษและใหห้ ยุดลง ณ เสน้ บรรทัดที่มีเลขกากับความสูงทต่ี รงกนั กับเส้นชั้น ความสงู 50
6. เสร็จแล้วใหต้ อ่ จุดตัดระหว่างเสน้ ต้ังไดฉ้ ากกับเส้นบรรทัดในแผ่นกระดาษดว้ ยเส้นโค้งทีส่ มา่ เสมอ การ ต่อจุดเหล่าน้เี ข้าด้วยกนั จะทาใหก้ าหนดความสงู ของยอดภเู ขา และพ้ืนของลาห้วยไปดว้ ยโดยอตั โนมัติใน ขณะเดียวกัน การแสดงลักษณะทรวดทรงด้วยวธิ อี ่ืน ๆ ก. แถบสี ( LAYER TINTING ) แถบสเี ปน็ วธิ ีการแสดงถึงลักษณะของทรวดทรงและความสงู เป็น ชว่ ง ในพื้นที่แตล่ ะช่วงความสูงหน่ึง ๆ จะแสดงไวแ้ ตล่ ะแถบสี ซึง่ มีสแี ตกต่างกนั ไป การลาดับช้ันของสีแต่ละแถบ สีจะแสดงใหท้ ราบถึงช้นั ความสูงที่แตกต่างกัน แถบสีแต่ละสไี ม่ได้บอกความสูงท่ีถูกต้องแน่นอนแต่แสดงให้ ทราบ แต่เพียงว่าความสูงตา่ ง ๆ เหล่านั้นอยใู่ นชั้นความสงู ของสีน้นั ๆ ปกติแล้วจะใช้สนี า้ เงิน แทนทะเล เม่ือความสูงของ แผนดินเพ่ิมข้ึนตามลาดับ ก็ต้องใช้สีอ่ืน ๆ แสดงช้ันความสูงเป็นช่วง ๆ ไป และต้องพิมพ์เคร่ืองหมายไว้ท่ีขอบ ระวางแผนที่เพ่อื แสดงช่วงความสูงของแตล่ ะแถบสี โดยมากแถบสีมักจะใช้กับแผนท่ีเดินอากาศโดยใช้ร่วมกับเส้น ชน้ั ความสูง ข. เสน้ ลายขวานสบั ( HACHURES ) เป็นเส้นขีดสนั้ ๆ สีนา้ ตาลใชเ้ พ่อื แสดงลกั ษณะของ ทรวดทรง เส้นลายขวานสับไม่ได้แสดงให้ทราบถึงความสูงที่ถูกต้องแน่นอนแต่ใช้เพื่อแสดงถึงลักษณะของลาด สาหรับคุณลักษณะของเส้นลายขวานสับนั้น จะต้องมีลักษณะสอบเข้าหากัน หรือแผ่กระจายออกทางเชิงเนิน เส้นลายขวานสับท่ีแผ่กระจายออกจากศูนย์กลางแห่งหน่ึงแสดงว่าเป็นยอดเขา ในบริเวณท่ีเป็นพ้ืนท่ีลาดชัน 51
เส้นลายขวานสบั จะสัน้ หนา และเรยี งชิดกัน สาหรับพื้นทีท่ ่ลี าดชันนอ้ ย เส้นลายขวานสับจะยาว บาง และเรียงห่าง กันหรอื อีกนัยหน่งึ เสน้ ลายขวานสบั ท่เี ห็นหนาทึบแสดงว่าเป็นท่ีสูงชันแต่ถ้าบางโปร่งแสดงว่าเป็นท่ีชันน้อย ๆ และ ค่อนข้างราบ ค. ทรวดทรงแรเงา ( SHADED RELIEF ) จะแสดงลักษณะทรวดทรงเอาไว้ โดยการใช้เงาซ่งึ จะมี ลักษณะความเข้มของสีเป็นสหี นกั และสีจางด้วยการทาใหด้ ้านหนง่ึ ของเนิน สันเนินหรือภูเขามืดลงไป ความเข้ม ของการแรเงาจะเปน็ เครือ่ งแสดงความสูงตา่ ของลาด ถา้ เข้มมากกส็ งู ชนั ถ้าเขม้ น้อยกไ็ มส่ ูงชนั 52
บทที่ 6 ทศิ ทาง วิธแี สดงทศิ ทาง ในชวี ิตประจาวันย่อมมกี ารพดู ถึงเร่ืองทศิ ทางโดยทั่วไป เชน่ ขวา ซ้าย ตรงไป ข้างหนา้ ขา้ งหลงั สง่ิ ทก่ี ลา่ วมานีส้ ามารถบอกทิศทาง แต่ถ้าจะให้มีหลักเกณฑ์ที่ถูกต้องแน่นอนจะต้องมีหน่วยในการวัดและใช้ได้ทั่วทุก แห่งในโลกจะแสดงด้วย 1. หน่วยวัดมุมเป็นองศา ( Degree ) และแบ่งส่วนย่อยออกเป็น ลิปดา และฟิลิปดา กล่าวคือ1 องศา = 60 ลิปดา และ 1 ลิปดา = 60 ฟลิ ปิ ดา 2. หนว่ ยวัดมมุ เปน็ มิลเลยี ม ( mils ) โดยวงกลมวงหน่ึงจะแบ่งออกเป็น 6,400 มลิ เลียม เสน้ หลกั หรอื ทิศทางหลกั ( Base Lines ) การท่ีจะวัดส่ิงใดส่งิ หน่งึ นัน้ จะตอ้ งมจี ดุ เรม่ิ ต้นทีม่ ีค่าเป็นศูนย์ การท่ีจะแสดงทศิ ทางให้เปน็ หนว่ ยของการ วดั มมุ จะตอ้ งกระทาจากจดุ เรม่ิ ตน้ ซึง่ มคี ่าของการวดั เป็นศูนย์ จุดเร่มิ ต้นซ่งึ มีคา่ เป็นศนู ยน์ ีเ้ รยี กวา่ เสน้ หลัก หรือเส้นอา้ งองิ หรือ ทิศทางหลัก เส้นหลักหรือทศิ ทางหลัก มี 3 ชนิด คือ ทิศเหนือจรงิ ( True North ) ทศิ เหนือแมเ่ หลก็ (Magnetic North) และทิศเหนอื กริด (Grid North) ทิศทางหลักทใ่ี ชก้ ันโดยทั่วไปน้ันก็คือทศิ เหนอื แม่เหล็กและทิศเหนือกรดิ ทศิ เหนอื แมเ่ หลก็ จะใชเ้ ม่ือปฏิบัติงานดว้ ยเข็มทศิ และทิศเหนือกรดิ จะใช้เมอ่ื ปฏิบัติงานด้วยแผนที่ ทิศเหนือจริง ( True North ) คือแนว ๆ หน่ึงท่นี บั จากตาบลใดตาบลหนึง่ บนพื้นผิวพภิ พไปยังขวั้ โลกเหนือ เสน้ ลองจจิ ดู ทกุ ๆ เสน้ คือ แนวทิศเหนือจริง ใชัสัญลักษณ์เปน็ รูปดาว ทศิ เหนอื แมเ่ หลก็ ( Magnetic North ) 53
คอื แนวท่ีเข็มทศิ ชไ้ี ปยงั ขว้ั เหนือแม่เหล็กโลก ใชส้ ญั ลกั ษณ์เป็นรปู หวั ลูกศรครึง่ ซีก ทิศเหนอื กริด ( Grid North ) คือ แนวเสน้ กรดิ เหนอื -ใต้ บนแผนทใ่ี ช้สญั ลกั ษณเ์ ปน็ ตวั อักษร GN มมุ ภาคของทิศและมุมภาคของทิศกลบั ( Azimuth and Backazimuth ) มมุ ภาคของทศิ ( Azimuth ) มุมราบที่วัดตามเขม็ นาฬิกาจากแนวทศิ ทางหลกั ( มีคา่ ไมเ่ กิน 360 องศา ) การวดั มมุ ภาคของทิศ ระหว่างจุด 2 จุด บนแผนท่ี จะต้องลากเส้นตรงเช่ือมต่อระหว่างจุด 2 จุดนั้น แล้วใช้บรรทัดโปรแแทรกเตอร์วัด มมุ ระหวา่ งเส้นทิศเหนอื กริดกบั เสน้ ท่ลี ากขนึ้ น้นั มุมท่ีวดั ไดน้ ีก้ ็คือ มมุ ภาคทศิ เหนอื กริดของเส้นท่ีลากขึ้นและถือว่า จุดที่เป็นศูนย์กาเนิดของมุมภาคของทิศนั้นเป็นศูนย์กลางของวงกลมมุมภาคของทิศ สาหรับชื่อมุมภาคของทิศ จะตอ้ งเรยี กตามเสน้ หลักท่ีมุมภาคของทิศวัดมาจากเส้นนน้ั ดงั น้ันมุมภาคของทิศเหนือจริงจะต้องวัดจากทิศเหนือ จรงิ เป็นต้น รปู แสดง มุมภาคทศิ เหนือจริง เหนอื กรดิ และเหนือแมเ่ หลก็ มุมภาคของทิศกลับ ( Back Azimuth ) คอื มุมภาคของทศิ นั้น ๆ แต่วัดยอ้ นกลับไปในทศิ ทางตรงขา้ ง (Back Azimuth = Azimuth +/- 180 ) เปรยี บเสมอื นการหนั หนา้ ไปในทิศทางใด คือมุมภาคของทศิ นั้น ๆ แต่ถ้ากลบั หลงั หัน กค็ ือมุมภาคของทศิ กลับของมมุ ภาคของทศิ นนั้ ๆ สาหรับการหามุมภาคของทิศกลบั จาก 54
มมุ ภาคของทศิ ถ้ามมุ ภาคของทศิ มีค่าเทา่ กบั 180 องศา หรือ น้อยกวา่ ใหบ้ วกดว้ ย 180 องศา ถ้ามมุ ภาคของ ทิศมคี า่ เท่ากับ 180 องศา หรอื มากกวา่ ใหล้ บด้วย 180 องศา AZIMUTH = CLOCKWISE ANGLE FROM BASE DIRECTION BACK AZIMUTH = AZIMUTH - 180 OR 3200 MILS Azimuth and Back Azimuth 180 รูปแสดง มมุ ภาคของทศิ และมุมภาคของทศิ กกลบั แผนภาพมุมเยือ้ ง ( Declination Diagram ) มักจะมีปรากฏอยูบ่ นแผนทเ่ี ปน็ ส่วนมาก เพอื่ ให้ผใู้ ช้แผนท่ีวางแผนที่ให้ถกู ทิศไดอ้ ย่างถกู ต้อง แผนภาพมมุ เยอื้ งนี้จะแสดงให้ทราบถึงความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันระหว่างทิศเหนือแม่เหล็ก ทิศเหนือกริดและทิศ เหนือจรงิ มมุ เยอื้ ง ( Declination ) คือความแตกตา่ งของมมุ ระหว่างทิศเหนอื จริงกบั ทศิ เหนอื แมเ่ หลก็ และระหว่างทศิ เหนอื จรงิ กับทิศ 55
เหนอื กรดิ ดงั นัน้ มุมเย้อื งจึงมี 2 มมุ คอื มมุ เยื้องแม่เหล็กและมมุ เย้ืองกริด Declination diagrams รูปแสดงแผนภาพมุมเยื้อง มมุ เยอ้ื งแม่เหลก็ ( Magnetic Declination ) คือ ความแตกต่างของมมุ ระหว่างทิศเหนือจรงิ กับทศิ เหนอื แม่เหล็ก ( โดยวดั จากทิศเหนือจรงิ ) มมุ เย้อื งกริด ( Grid Declination ) คือ ความแตกต่างของมุมระหวา่ งทศิ เหนอื จรงิ กับทศิ เหนอื กริด มุมกริดแมเ่ หล็ก ( G - M Angle ) คือความแตกต่างของมุมระหวา่ งทิศเหนอื กรดิ กบั ทิศเหนือแมเ่ หล็กโดยวัดจากทศิ เหนอื กรดิ เปน็ หลัก การแปลงคา่ มมุ การกาหนดค่าของมมุ ที่วดั ได้จากเขม็ ทิศลงบนแผนทต่ี ้องแปลงมุมภาคทิศเหนอื แม่เหลก็ เปน็ มมุ ภาคทศิ เหนอื กรดิ เสียก่อน ในขณะเดียวกัน การนาค่าของมุมทีว่ ดั ไดบ้ นแผนที่ นาไปใช้วัดมมุ ในภูมปิ ระเทศดว้ ยเขม็ ทศิ กต็ ้องแปลงมมุ ภาคทศิ เหนอื กรดิ เป็นมุมภาคทศิ เหนอื แม่เหลก็ เสยี กอ่ นเชน่ กนั 56
เส้นทีก่ าหนดข้นึ รูปแสดงแผนภาพมมุ เย้ือง การแปลงค่ามุมให้กระทาดงั นี้ ลากเส้นทก่ี าหนดขน้ึ จากฐานของแผนภาพมุมเย้อื งซ่งึ อย่สู ่วนลา่ งตอนกลาง ของขอบระวางแผนท่ี แล้วพิจารณาดูจะเห็นความสมั พนั ธ์ของมมุ ชนิดต่าง ๆ และทราบได้ทันทวี่ ่า มุมภาค ของทิศที่ทราบค่าแล้วกบั มุมภาคของทศิ ท่ีต้องการทราบค่านน้ั มุมไหนจะมีคา่ ใหญ่กว่ากนั และจะต้องบวก หรอื ลบด้วยมุมอะไร มุมแบรง่ิ ( Bearings ) คอื มุมราบที่วดั ตามหรอื ทวนเข็มนาฬิกาจากแนวทิศเหนอื หรอื ใต้ มมุ แบร่ิงมขี นาดไมเ่ กนิ 90 องศา ( มมุ แบ ริ่งนนั้ วัดไดจ้ ากทิศเหนือจรงิ แนวทิศเหนอื แมเ่ หล็ก และแนวทิศเหนือกรดิ ไดเ้ ช่นกนั ) 57
จากรูป แผนภาพมุมเย้อื ง มมุ แบรง่ิ เหนอื จริงได้ N 89 E จะเท่ากบั มมุ แบร่ิงแมเ่ หล็ก S 88 E มมุ แบร่งิ กรดิ N 85 E และมมุ แบริง่ แม่เหล็ก S 3 W จะเทา่ กับ มุมแบริ่งเหนือจรงิ S 0 W หรือ S 0 E มมุ แบร่งิ กรดิ S 4 E 58
บทที่ 7 เข็มทศิ และการใช้เขม็ ทศิ เข็มทิศเป็นเคร่อื งมอื ในการหาทิศทาง และมมุ ภาคทิศเหนือของส่งิ ต่าง ๆ ในภูมปิ ระเทศ เขม็ ทศิ ท่ีใช้ กนั ปจั จุบนั นี้มีอยหู่ ลายชนดิ ดว้ ยกนั แตท่ ่จี ะศึกษานีเ้ ปน็ เขม็ ทศิ ชนดิ เลนเซติก (Lensatic ) เข็มทิศเลนเซตคิ มีขนาดและลกั ษณะยาวประมาณ 2 น้ิว หนาเกือบ 1 นว้ิ ทข่ี อบด้านขา้ งเป็น บรรทัด สาหรับวัดระยะ มาตราส่วน 1 : 25,000 หรือ 1 : 50,000 แล้วแต่การผลิต ส่วนประกอบของเข็มทิศ ประกอบดว้ ยส่วนใหญ่ ๆ 3 ส่วน คือ ฝาตลบั เขม็ ทศิ เรือนเขม็ ทศิ และกา้ นเล็ง 1. ฝาตลับเขม็ ทศิ ประกอบดว้ ย - บากเล็งหนา้ เป็นรอยบากอย่ตู อนบนฝาตลับ ใชป้ ระกอบกบั เสน้ เลง็ ในการวางเขม็ ทิศใหต้ รงกบั แผนท่ี รปู แสดงเข็มทศิ เลนเซตคิ - เสน้ เล็ง เปน็ เส้นลวดสีดา ( ศนู ย์หนา้ ) ใช้สาหรับทาการเลง็ ใน เวลากลางวันโดยให้เสน้ เลง็ นี้ทบั กลางที่ หมาย - จุดเล็งพรายนา้ มีอยู่ 2 จดุ อยู่ท่ีปลายขา้ งบนและขา้ งล่างของเสน้ เล็งใช้แทนเส้นเลง็ ในเวลากลางคนื 2. เรือนเข็มทศิ ประกอบดว้ ย - ครอบหน้าปทั ม์เขม็ ทศิ ซึ่งประกอบดว้ ยร่องวงแหวน และกระจกครอบหน้าปทั มเ์ ขม็ ทศิ รอ่ งวงแหวนจะ มที ง้ั หมด 120 ร่อง ๆ ละ 3 องศา ร่องวงแหวนจะหมุนได้ มปี ระโยชน์ในการต้ังทศิ ทางในเวลา กลางคืน สาหรับกระจกครอบหนา้ ปทั ม์ เมอื่ หมุนวงแหวนกระจกครอบหนา้ ปัทมจ์ ะหมนุ ตามไปด้วย ที่ กระจกจะมีขดี พรายนา้ มีประโยชน์ในทางตงั้ ทิศในเวลากลางคืน เชน่ กนั - กระจกหน้าปัทม์เขม็ ทิศ กระจกหน้าปทั ม์หมนุ ไปมาไมไ่ ด้ ท่ีฝากระจกมขี ดี ดชั นี (ขดี ยาวสีดา) และจุด 59
พรายน้าต่าง ๆ - หน้าปัทมเ์ ขม็ ทิศ เป็นแผน่ วงกลมใส ประกอบด้วยมาตราส่วนวดั มมุ ท้ังองศา และ มลิ เลยี ม มีลกู ศรพราย น้าชท้ี ิศเหนือเสมอ และตวั อักษรพรายนา้ ซง่ึ บอกทศิ ตะวนั ออก ( E ) ทิศใต้ ( S ) และทศิ ตะวนั ตก ( W ) - กระเด่ืองบังคับหนา้ ปทั มเ์ ขม็ ทิศ กระเด่ืองน้ีจะบังคับไม่ให้แผน่ มาตราหรอื ลกู ศรเขม็ ทิศหมนุ ไปมา - พรายนา้ เรอื นเขม็ ทิศ ให้แสงสว่างในเวลาอ่านเขม็ ทศิ ในเวลากลางคืน 3. กา้ นเลง็ ประกอบดว้ ย - ช่องเล็ง ( ศูนย์หลัง ) - แวน่ ขยาย นอกจากสว่ นประกอบใหญ่ ๆ ทั้ง 3 สว่ น ท่ีกล่าวมาแล้วน้ี เข็มทศิ ยงั ประกอบด้วย หว่ งถือ และบากเลง็ หลงั การใช้เข็มทิศ ก. การจับถอื จับเข็มทิศใหม้ ั่นคงดว้ ยมอื ทั้งสอง ใช้น้ิวหัวแม่มอื สอดเขา้ ไปในห่วงถือ และใช้นว้ิ อีกสนี่ ว้ิ รองข้างล่างเขม็ ทิศเอามอื อกี ขา้ งหน่ึงรองรับมือที่จับเข็มทิศ ยกระดับให้ชิดกับสายตาหันไปในทิศทางของท่ี หมาย ระวังรกั ษาให้เข็มทิศไดร้ ะดับ เพอื่ ให้แผ่นมาตรามุมทศิ ลอยตวั หมนุ ไปมาได้ ข. การเลง็ ทาการเล็งผา่ นช่องเลง็ ( ศูนย์หลงั ) ไปยังทฝ่ี าตลบั เขม็ ทิศ และให้ทบั ก่ึงกลางของที่ หมาย เม่ือหนา้ ปัทมเ์ ข็มทศิ หยดุ น่ิงแล้ว จึงมองผา่ นแว่นขยาย เพื่ออ่านมุมภาคทิศเหนอื แม่เหล็ก ค. การอ่าน อ่านตวั เลขที่มาตรามมุ ภาคทิศเหนอื ( องศา , มิลเลยี ม ) ชตี้ รงกับเส้นดัชนมี มุ ภาคทศิ เหนือคงทกี่ ารใชเ้ ขม็ ทศิ ควรใหห้ า่ งจากสิ่งท่ีเป็นเหล็กหรอื วงจรไฟฟ้า เพอ่ื ใหเ้ ข็มทิศมกี ารทางานได้อยา่ ง ถูกตอ้ ง เช่นหา่ งจากสายไฟฟา้ แรงสงู ประมาณ 55 เมตรรถยนต์ประมาณ 18 เมตร สายโทรเลขและ โทรศพั ท์ และลวดหนามประมาณ 10 เมตร ฯลฯ การเล็งเขม็ ทิศในเวลากลางวนั ในการเดินทางในเวลากลางวนั ถ้าหากรูล้ กั ษณะภมู ปิ ระเทศท่ีจะตอ้ งเดนิ ทางผ่านไปยงั ท่ีหมายดี แล้วก็ไม่จาเป็นต้องใช้เข็มทิศ แต่ถ้าหากยังไม่รู้ลักษณะภูมิประเทศท่ีจะเดินทางไป จาเป็นต้องใช้เข็มทิศเป็น เครอ่ื งชว่ ยในการเดินทางเพื่อป้องกนั การหลงทาง และใหก้ ระทา ดงั นี้ - จากจดุ เร่มิ ตน้ ทาการเลง็ เข็มทิศเหนอื แม่เหลก็ โดยวัดมมุ ภาคทศิ เหนือกรดิ จากแผนท่ี และแปลงคา่ เปน็ มมุ ภาคทศิ เหนือแม่เหลก็ จากแผนภาพมุมเยื้องท่ีขอบระวางแผนที่ แลว้ เล็งไปยงั ที่หมายปลายทางด้วยขนาดของ มมุ ทีว่ ดั ไดต้ ามท่กี ลา่ วมาแล้ว สังเกตดูเส้นเลง็ ทบั ท่ีหมายอะไรท่ีเห็นเดน่ ชัด ใหส้ งั เกตและจดจาไว้ แลว้ เดิน ไปยงั ท่ีหมายแหง่ น้นั พรอ้ มกบั นับกา้ วไปดว้ ย โดยถอื หลกั ว่า 3 ก้าวเทา่ กับ 2 เมตร - ถา้ หากว่าในการเลง็ เขม็ ทิศนัน้ เล็งไปไม่ถึงที่หมายปลายทาง เม่อื เดินไปถงึ ท่ีหมายนน้ั ๆ ก็ให้ทาการเล็ง ตอ่ ไปอกี ยังที่หมายดว้ ยขนาดของมุมเท่าเดมิ ทาเชน่ นี้ต่อไปจนถึงทีห่ มายปลายทาง - ถ้าหากวา่ ในการเดนิ ทางนัน้ มีส่ิงกดี ขวางซ่งึ เปน็ อปุ สรรคในการมอง เช่น ป่าทบึ ให้เดินหกั เป็นมุมฉาก 60
ทางซา้ ยหรอื ขวาแลว้ แต่ลักษณะภมู ปิ ระเทศท่ีจะอานวยความสะดวกแกผ่ เู้ ดนิ ทาง สมมุตวิ า่ ออกเดินทางดว้ ย มุมภาคเหนอื 100 องศา ถา้ เดินเลยี้ วฉากไปทางขวา ก็จะเดนิ ดว้ ยมมุ 190 องศา พร้อมกบั นับก้าวไปด้วยจน พน้ เครอื่ งกีดขวางอนั นั้น จากนน้ั หันกลบั ไปเดินตามมุมภาคทศิ เหนือเดมิ คือ 100 องศา อกี ครั้งหนึ่งจนพ้น เครอื่ งกีดขวางพรอ้ มกบั นบั กา้ วไปดว้ ย เมือ่ พน้ แล้วเดินหกั เขา้ หาทิศทางเดิมเป็นมมุ ฉาก มุมท่ีเกิดใหมน่ ้จี ะ เปน็ มุม 10 องศา แลว้ เดินไปตามจานวนกา้ วเท่ากับท่เี ดนิ ในตอนทเ่ี ดนิ ดว้ ยมุม 190 องศา เมื่อได้ระยะแลว้ ก็ หันไป เดินดว้ ยมุมภาคทิศเหนือที่เริ่มต้นออกเดิน คอื มมุ 100 องศา แลว้ เดนิ ต่อไปจนถึงท่ีหมายที่กาหนดไว้ รูปแสดงการเดินเขม็ ทิศเม่ือมสี งิ่ กดี ขวางมองไม่เห็นภมู ปิ ระเทศข้างหนา้ การเดนิ เข็มทิศในเวลากลางคนื - การเดินเข็มทิศในเวลากลางคนื ก็ใช้หลกั การเหมือนกบั การเดินในเวลากลางวนั แต่สภาพการมองเหน็ ใน เวลากลางคนื ไมเ่ ท่ากบั ในเวลากลางวันจึงตอ้ งอาศัยจดุ พรายนา้ ตา่ ง ๆ บนเข็มทิศเข้าช่วยดงั น้นั กอ่ นการเดนิ เขม็ ทศิ ในเวลากลางคืนจงึ ต้องตัง้ เข็มทศิ เสียกอ่ น - การต้งั เขม็ ทิศเม่ือมแี สงสวา่ ง สมมตุ ิเดินดว้ ยมุมภาคทศิ เหนอื 60 องศา ก็หนั เขม็ ทิศให้ขีดดชั นชี ้เี ลข 60 องศา แล้วหมุนครอบหนา้ ปทั มเ์ ขม็ ทิศ ใหข้ ดี พรายนา้ ยาวทบั กบั หัวลกู ศรเข็มทศิ พรายน้า แล้วพับเกบ็ ไว้ - การตงั้ เข็มทิศเมอื่ ไมม่ ีแสงสวา่ ง หมุนครอบหน้าปท้ ม์เขม็ ทิศใหข้ ีดพรายนา้ ยาวตรงกบั จุดเล็งพรายนา้ ทีฝ่ า ตลบั เข็มทิศ 2 จุดท่ีปลายเสน้ เล็ง เมื่อจะเดนิ ด้วยมมุ 60 องศา กห็ มนุ ครอบหนา้ ปท้ ม์เขม็ ทศิ ทวนเข็ม นาฬกิ าไป 20 คลกิ ( 1 คลกิ = 3 องศา ) - การเลง็ ทาการเล็งผา่ นชอ่ งเลง็ ใหห้ ัวลูกศรเขม็ ทิศพรายนา้ ตรงกบั ขีดพรายน้า ซงึ่ ไดต้ ้ังมมุ ไวแ้ ล้ว และให้ ทหี่ มาย ( ภมู ปิ ระเทศตดั กบั ขอบฟ้า คนข้างหนา้ ฯลฯ ) กับจดุ เล็งพรายนา้ 2 จดุ ทป่ี ลายเส้นเลง็ บนฝาตลับเข็ม ทศิ อยูต่ รงกัน 61
การวางแผนท่ีใหถ้ กู ทศิ ก่อนทจ่ี ะใช้แผนท่ีจะตอ้ งวางแผนท่ีให้ถูกทศิ ก่อนเสมอ แผนทจ่ี ะถกู ทศิ ไดก้ ็ตอ่ เมื่อไดว้ างแผนท่ีนัน้ ไวบ้ น พนื้ ทไ่ี ดร้ ะดบั และใหท้ ศิ เหนอื ของแผนที่ชี้ไปทางทศิ เหนือ และแนวตา่ ง ๆ ทั้งปวงบนแผนท่ีขนานกับแนว ทีต่ รงกนั ในภูมิประเทศ ก. การวางแผนที่ใหถ้ กู ทศิ โดยการใช้เข็มทศิ 1. เปิดเข็มทศิ ออกแล้ววางเข็มทิศบนแผนท่ี โดยให้เส้นเล็งของเข็มทิศ บากเล็งหน้าและบากเล็งหลัง ทาบทับกับ เส้นกริดในแนว เหนือ - ใต้ บนแผนทเี่ ส้นใดเสน้ หน่ึงกไ็ ด้ 2. หมุนท้ังแผนที่และเข็มทิศ ไปจนกว่าลูกศรทิศเหนือบนเข็มทิศจะอ่านได้เท่ากับ 360 องศา ลบด้วยมุมกริด แม่เหล็กของแผนภาพมุมเย้ือง กรณีที่ทิศเหนือแม่เหล็กอยู่ทางขวาของทิศเหนือกริด แต่ถ้าทิศเหนือ แมเ่ หล็กอยทู่ างซ้ายจะอ่านได้เทา่ กับคา่ ของมมุ กริดแม่เหล็ก ข. การวางแผนที่ให้ถกู ทศิ โดยไม่ใชเ้ ข็มทิศ กรณีที่ไม่มีเขม็ ทศิ จาเป็นตอ้ งตรวจหาลักษณะภมู ิประเทศทีม่ แี นวเส้นตรงเห็นชัดเจน ทง้ั บนแผนทแ่ี ละใน ภูมิประเทศ เช่น ถนน ทางรถไฟ แนวรวั้ สายไฟ ฯลฯ เป็นตน้ การวางแผนที่ใหถ้ กู ทิศนั้น จะตอ้ งกระทา โดยให้แนวเสน้ ตรงดงั กลา่ วทง้ั บนแผนที่และในภมู ปิ ระเทศท่ีอยู่ในแนวเดยี วกัน และเพ่ือป้องกนั ไม่ให้ ทศิ ทางกลบั กัน จะต้องมกี ารตรวจสอบ โดยตรวจดูท่ีหมายที่เหน็ เด่นชัด ทั้งบนแผนท่ี และในภมู ิประเทศว่า อย่ใู นทศิ ทางเดยี วกนั หรือไม่ หรอื อีกนัยหนงึ่ ให้ตรวจดูแนวอนื่ อกี หนง่ึ แนววา่ อยใู่ นทิศทางเดยี วกนั หรือไม่ ค. กรณที ี่หาลกั ษณะภมู ิประเทศทเี่ ป็นแนวเส้นตรงไม่ได้ ให้หาลกั ษณะภูมปิ ระเทศทเ่ี ปน็ จุดเด่น 2 แห่ง ทง้ั ในภูมิประเทศและบนแผนท่ีให้เคล่ือนทไี่ ปยังจดุ เดน่ แห่งหนึ่งในภูมิประเทศซงึ่ ทราบทตี่ งั้ แลว้ วาง สันบรรทดั ลงบนแนวระหวา่ งจุด 2 จดุ บนแผนท่ี แล้วหมนุ ทง้ั บรรทดั และแผนที่ ไปจนกว่าจะสามารถ เล็งไปจนตรงกับจุดอกี จดุ หนึ่งในภมู ิประเทศ เชน่ นี้กแ็ สดงว่าได้วางแผนทีถ่ กู ทิศแลว้ บรรทัดวัดมมุ บรรทดั วัดมมุ มีอยหู่ ลายแบบด้วยกันคอื แบบวงกลม ครึง่ วงกลม สเ่ี หลี่ยมจตั รุ ัส และส่เี หลี่ยมผนื ผ้า บรรทดั วดั มมุ ทกุ แบบย่อมแบ่งวงกลมออกไปเปน็ หนว่ ยในการวดั มมุ ตา่ ง ๆ และไม่ว่าบรรทัดวัดมมุ นัน้ จะมรี ูปรา่ ง ลักษณะแบบใดก็ตาม กย็ อ่ มจะประกอบไปด้วยขีดส่วนแบง่ ของหน่วยวัดมมุ อยูต่ ามรอบ ๆ ขอบนอกและมี เคร่ืองหมายดชั นอี นั หนงึ่ เครือ่ งหมายดัชนคี ือจดุ ศนู ยก์ ลางของวงกลมซึ่งแผร่ ศั มอี อกไปไดท้ กุ ทศิ ทางของ บรรทดั วัดมมุ 62
รปู แสดงบรรทดั วัดมมุ ชนดิ ต่าง ๆ การหามมุ ภาคทศิ เหนือกรดิ ของแนว ๆ หนึ่งจากจดุ ๆ หน่งึ ไปยงั อีกจุดหนงึ่ บนแผนที่ 1. ใหล้ ากแนว ๆ น้ันขน้ึ 2. วางดัชนีของบรรทัดวดั มมุ ให้ทับตรงจุดนั้น 3. พยายามรักษาให้ดัชนีทบั อยู่ตรงจุดน้นั แล้วหมนุ บรรทัดวดั มุมไปจนกวา่ แนว 0 องศา 180 องศา ของ บรรทัดจะขนานกบั เสน้ กริด 4. อา่ นค่าของมมุ จากมาตราส่วน 5. ถา้ วดั มมุ จากเส้นกรดิ หรอื เสน้ ทข่ี นานกับเสน้ กริด มุมท่ีวดั ได้กค็ ือ มมุ ภาคทศิ เหนอื กริด การกาหนดแนวมุมภาคของทศิ จากมุมท่ที ราบค่าลงบนแผนท่ี 63
รูปแสดงการกาหนดมุมภาคของทศิ ลงบนแผนท่ี 1. ถา้ จาเปน็ ให้แปลงคา่ เปน็ มมุ ภาคทิศเหนือกรดิ เสียก่อน 2. วางดัชนีของบรรทดั วัดมมุ ให้ทบั ตรงจุดน้ัน 3. วางแนว 0 องศา - 180 องศา ของบรรทดั วัดมมุ ใหข้ นานกบั เสน้ กรดิ ตามแนวเหนือใต้ 4. ทาเครื่องหมายไว้บนแผนทตี่ รงมมุ ทต่ี อ้ งการ 5. ลากเส้นจากจุดทีท่ ราบแล้วไปจนถึงเครือ่ งหมายที่ทาไว้บนแผนทนี่ ัน้ เสน้ ๆน้ี กค็ อื แนวทิศทางมมุ ภาค ของทศิ บนแผนท่ี 6. เพอ่ื ชว่ ยใหก้ ารวางแนว 0 องศา - 180 องศา ของบรรทดั วัดมมุ ขนานกับเส้นกรดิ เหนือ-ใต้ใหเ้ ล่ือนบรรทดั วัดมุมไปจนกว่าเส้นดัชนีและขดี 90 องศา ของบรรทัดวดั มุมจะอยูบ่ นเสน้ กริดออก-ตก และขอบเสน้ ตรง ของบรรทัดวดั มุมจะคงอยทู่ จ่ี ุดน้ัน ลากเสน้ ตรงไปตามขอบของบรรทัดใหผ้ า่ นจดุ นน้ั เสน้ ตรงทลี่ ากขน้ึ น้ีก็ คอื ทศิ เหนอื กรดิ การกาหนดจดุ ลงบนแผนท่ี การกาหนดจดุ ต่าง ๆ ลงบนแผนท่ี ไดแ้ ก่การกาหนดจุดทอี่ ยขู่ องตนเองลงบนแผนที่ และการกาหนดจดุ ท่ี อยขู่ องสงิ่ ตา่ ง ๆ ลงบนแผนท่ี กระทาได้โดยวิธกี ารต่าง ๆ คือ การกาหนดจุดท่อี ยู่ของตนเองลงบนแผนที่ กระทาไดโ้ ดยวิธีการต่าง ๆ 4 วิธี คอื 1. การใชเ้ ข็มทิศ 2. การเลง็ สกัดกลับ 3. การเล็งสกัดกลบั ประกอบแนว 4. การเลง็ จากจดุ ศนู ยก์ ลางบนแผ่นใส 1. การใช้เขม็ ทิศ 1.1 เลอื กตาบลทเี่ หน็ เดน่ ชดั ทงั้ ในภูมิประเทศและบนแผนทอี่ ย่างน้อย 2 แห่ง 1.2 นาคา่ มุมทอ่ี า่ นได้ซ่งึ เปน็ มุมภาคทศิ เหนอื แมเ่ หล็กแปลงเปน็ มมุ ภาคทิศเหนือกรดิ เสียก่อน 1.3 นาค่ามุมภาคทศิ เหนือกรดิ ท่ีแปลงไดม้ ากาหนดลงบนแผนท่ี แนวทิศทางทตี่ ัดกนั คือที่อยู่ของ ตนเองบนแผนท่ี 2. การเล็งสกัดกลบั 1. วางแผนท่ใี หถ้ กู ทศิ 2. เลือกตาบลที่เหน็ เด่นชดั ทง้ั ในภูมิประเทศและบนแผนทีอ่ ยา่ งนอ้ ย 2 แห่ง 3. วางแผนทใ่ี หไ้ ด้ระดบั วางดนิ สอให้มมุ ของโคนดนิ สอดา้ นซ่ึงทับจดุ บนแผนที่ วางไม้บรรทดั ให้สนั ไม้ บรรทัด ใหส้ นั ไมบ้ รรทดั ตง้ั ฉากกบั แผนท่ี และแนบตดิ กบั มุมของโคนดินสอด้านซ่งึ ทบั จุดบนแผนที่ เล็งไป ยงั จดุ เดียวกัน ซ่ึงอยใู่ นภูมิประเทศแล้วลากเส้นเขา้ หาตัว 4. กระทาซา้ ตามขอ้ 3. กบั จุดบนแผนที่อกี 1 แห่ง 5. ณ ทีซ่ งึ่ เส้นท้ังสองตดั กนั คอื ทอ่ี ยู่ของตนเองบนแผนท่ี 64
รปู แสดง การกาหนดท่อี ย่ลู งตนเองลงบนแผนทีโ่ ดยวิธีเลง็ สกัดกลับ 3. การเลง็ สกดั กลับประกอบแนว วิธีนก้ี ระทาเชน่ เดยี วกันกบั วิธเี ล็งสกดั กลับ แตก่ ระทาได้เมื่ออยใู่ นภูมปิ ระเทศทมี่ ีลักษณะเปน็ แนวเช่น ถนน แมน่ ้า ลาธาร แตไ่ ม่ทราบวา่ ตวั เองอย่สู ว่ นไหนของถนน แมน่ า้ ลาธาร 1. เลอื กตาบลทเี่ หน็ เด่นชดั ทั้งในภูมปิ ระเทศ และบนแผนท่ี 1 แหง่ 2. วางแผนท่ีให้ถูกทิศแล้วเล็งด้วยไม้บรรทัด เช่นเดียวกับข้อ 3 ของวิธีเล็งสกัดกลับ ลากเส้นเข้าหา ตัว เสน้ ที่ตัดกับแนวถนนหรอื ลาน้า คือทีอ่ ยู่ของตนเองบนแผนที่ (ถ้ามีเข็มทิศให้เล็งเข็มทิศไปยังที่หมายใน ภมู ปิ ระเทศ แล้วนาคา่ มากาหนดแนวเลง็ ลงบนแผนที่) 4. การเลง็ จากจดุ ศูนย์กลางบนแผ่นใส 1. เลือกตาบลท่ีเห็นเด่นชัดทั้งในภูมิประเทศและบนแผนท่ีอย่างน้อย 3 แห่ง และตาบลท่ีหมายเหล่าน้ี ควรอยหู่ า่ งกันเป็นมุมไม่น้อยกว่า 30 องศา และไม่มากกว่า 120 องศา 2. ปกั เข็มหมุดลงบนกง่ึ กลางของแผน่ ใส เลง็ ด้วยไมบ้ รรทัดไปยงั เสน้ เลง็ ท้งั 3 แล้วขีดเสน้ เลง็ ไว้ 3. เอาเข็มหมุดออกยกแผ่นใสไปทาบบนแผนท่ี หมุนกระดาษแก้วไปมาจนเส้นเล็งทั้ง 3 เส้นไปทับท่ี หมาย แตล่ ะแห่งบนแผนท่ี 65
รูปแสดงการกาหนดจดุ ทอ่ี ยขู่ องสิง่ ต่าง ๆ ลงบนแผนทโ่ี ดยการใช้เขม็ ทศิ 4. ใช้ดนิ สอจดุ ลงทร่ี ูเข็มหมุดบนแผน่ ใสจนถงึ แผนทีข่ ้างล่าง จดุ นีค้ ือจดุ ท่อี ยูข่ องตนเองบนแผนท่ี การกาหนดจุดทอี่ ยู่ของส่งิ ตา่ ง ๆ ลงบนแผนท่ี กระทาไดโ้ ดยวธิ ีการตา่ ง ๆ 3 วิธี คือ 1. การใช้เข็มทิศ 2. การเล็งสกดั ตรง 3. วธิ โี ปลาร์ 1. การใชเ้ ข็มทศิ 1. เลือกจดุ เดน่ ทง้ั ในแผนท่ีและภมู ิประเทศอยา่ งน้อย 2 แห่ง 2. จากจดุ แรกเล็งด้วยเขม็ ทิศไปยงั จดุ ท่ีต้องการทราบในภมู ปิ ระเทศ ยา้ ยไปยังจดุ ท่ีสองเลง็ ไปยจั ดุ เดียวกนั กบั ที่ได้ทาการเลง็ ไว้ทจ่ี ดุ แรก 3. นาคา่ ที่ได้ปรบั เปน็ มมุ ภาคทศิ เหนือกรดิ และกาหนดแนวเล็งลงบนแผนทีจ่ ดุ ทีเ่ สน้ ทัง้ สองตัด กนั คอื ที่อยขู่ องสิง่ ท่ีตอ้ งการกาหนดลงบนแผนที่ 66
2. การเล็งสกดั ตรง 1. วางแผนท่ใี ห้ถูกทศิ 2. เลอื กตาบลทเี หน็ เดน่ ชดั ทั้งในภูมิประเทศ และบนแผนทีอ่ ยา่ งนอ้ ย 2 แห่ง 3. ว่างแผนที่ใหไ้ ด้ระดับ ใหจ้ ุดแรกบนแผนท่ีตรงกบั จุดเดียวกนั ในภมู ปิ ระเทศเลง็ ไปยงั ภมู ปิ ระเทศที่ ตอ้ งการกาหนดลงบนแผนทดี่ ว้ ยไม้บรรทัดแลว้ ลากเสน้ 4. ยา้ ยไปยังจดุ ท่ี 2 และกระทาเชน่ เดียวกับขอ้ 3 5. จุดทตี่ ัดกนั ของเสน้ ท้ังสอง คือจุดทีอ่ ย่ขู องส่ิงท่ตี ้องการกาหนดลงบนแผนที่ รปู แสดงการกาหนดทอ่ี ยู่ของสิง่ ต่าง ๆ ลงบนแผนทด่ี ้วยวิธีเล็งสกดั ตรง 3. วิธีโปลาร์ วธิ โี ปลารเ์ ป็นการกาหนดจดุ ลงบนแผนที่ โดยอาศยั ทศิ ทางและระยะตามแนวทศิ ทางนั้น 1. วางแผนทใ่ี หถ้ ูกทิศ และไดร้ ะดับและใหจ้ ุดบนแผนทีต่ รงกบั จุดเดยี วกนั ในภมู ปิ ระเทศ 67
2. เล็งไปยังทห่ี มายในภูมปิ ระเทศ ซ่ึงต้องการกาหนดลงบนแผนที่ แล้วลากเสน้ 3. วดั ระยะจากจดุ ที่วางแผนท่ี แลว้ ทอนลงตามมาตราสว่ น จุดทไ่ี ดค้ ือจุดท่ตี อ้ งการกาหนดลงบนแผนท่ี 4. ถา้ มีเข็มทิศ ให้วัดมุมภาคทิศเหนือกริด แล้วกาหนดแนวเล็งลงบนแผนที่ วัดระยะจะได้จุดท่ีต้องการ กาหนดการหาทศิ ทาง โดยการใชว้ ีธีการตา่ ง ๆ ในภูมปิ ระเทศ ก. การหาทิศทาง ในเวลากลางวนั โดยวิธีการใชป้ ลายเงา 1. ปักไมล้ งไปในดิน ณ บริเวณทม่ี ีพ้นื ราบดพี อสมควรทีจ่ ะทาใหเ้ งาส่องได้อยา่ งชดั เจนแลว้ ทาเครอื่ งหมาย เงาไว้ 2. รอประมาณ 10 นาท่ี เพื่อให้ปลายเงาเคล่อื นที่ไปประมาณ 5-6 ซม. แลว้ จึงทาเคร่ืองหมายปลายเงาแห่ง ใหม่ 3. ลากเสน้ ตรงให้ผ่านเครอื่ งหมายทั้ง 2 แหง่ นี้ เส้นตรงเสน้ นจี้ ะเป็นแนวทิศตะวันออก - ตะวันตก โดยประมาณ และเคร่ืองหมายของปลายเงาครง้ั แรกจะอยู่ทางทิศตะวนั ตก สาหรับเครอื่ งหมายครงั้ ท่ี 2 จะ อย่ทู างทิศตะวนั ออกเสมอทกุ แหง่ ในโลก 4. ลากเส้นทามุมฉากกบั แนวทิศตะวันออก - ตก เส้นน้กี ็คือแนวของทิศเหนือ – ใตโ้ ดยประมาณซงึ่ จะชว่ ย ใหท้ าบถึงทิศทางทจ่ี ะต้องการได้ 5. การเอียงก่ิงไม้ลงเพื่อให้ได้รับเงาชดั เจนข้ึน ทงั้ ขนาดและทศิ ทาง จะไมท่ าให้เสียความถกู ต้องเลย ดงั นน้ั ในภูมิประเทศทเ่ี ปน็ ลาดหรือป่าทึบ จงึ ไมจาเป็นตอ้ งเสียเวลาไปหาพื้นท่รี าบที่มีขนาดกว้าง ๆ แม้จะมีพนื้ ที่ เพียงฝา่ มอื เดยี วกเ็ พียงพอสาหรบั การทาเครื่องหมายท่ีปลายเงา และพน้ื ที่สาหรับปักกิ่งไมน้ ั้นอาจอยบู่ น ล่าง หรอื ดา้ นใดดา้ นหน่งึ ของกงิ่ ไม้น้นั รวมท้ังท่ีหมายต่าง ๆ ท่อี ย่กู ับที่ เช่น ปลายของกิง่ ไม้หรอื เงาไม้กจ็ ะใชไ้ ด้ เหมือน ๆ กับการนาก่ิงไมม้ าปกั ไว้ เพราะต้องการเพียงเคร่อื งหมายทีป่ ลายเงาเท่านั้น 6. สาหรบั การหาเวลานัน้ ให้เลอ่ื นก่ิงไมไ้ ปตรงจดุ ท่เี ส้นทศิ ตะวันออก - ตก ตัดกบั เส้นทิศเหนอื - ใต้ แลว้ ปักลงไปในพนื้ ดินใหต้ ง้ั ตรง เส้นที่ชไี้ ปทางทศิ ตะวนั ตกจะเปน็ เวลา 0600 เสน้ ทช่ี ไี้ ปทางทศิ ตะวันออกจะ เปน็ เวลา 1800 ซงึ่ จะเป็นเช่นนี้เหมือนๆ กนั หมด ไมว่ า่ จะเปน็ พน้ื ที่แหง่ ใด ๆ ในโลก และเสน้ ทศิ เหนอื - ใต้ จะเปน็ เสน้ แสดงเวลาเท่ียงวนั และจะสมารถประมาณเวลาได้โดยการใช้เส้นเทยี่ งวนั กับเส้น 6 นาฬกิ าเป็น แนวทาง 7. ระบบของการใช้ปลายเงาน้ี ไมส่ ามารถนาไปใชแ้ ถบขั้วโลกซึง่ อยูเ่ ลยละติจดู 60 องศาเหนอื และใต้ ข. การหาทศิ ทางในเวลากลางคืน ในเวลากลางคืนน้นั อาจใช้ดาวหาทศิ เหนือและทศิ ใต้ ได้ ในซีกโลกภาคเหนอื ใหส้ งั เกตดาวเหนอื เพราะดาว เหนืออยู่ตรงทศิ เหนือเสมอ สาหรบั ซีกโลกภาคใต้ให้สงั เกตดาวกากบาท 68
69
บทที่ 9 เครื่องหมายทางทหาร ๑. คาจากัดความ คาว่า “เครือ่ งหมายทางทหาร” คอื เคร่ืองหมายชนิดหนงึ่ ทป่ี ระกอบด้วยการเขยี นเป็นรปู ตัวเลข อกั ษร คาย่อ สี หรือส่งิ ทกี่ ล่าวมาแลว้ ผสมกัน เพ่ือใช้แสดงให้รู้จักหน่วยทหาร หรือกิจการ หรือสถานท่ีตั้ง ทางทหาร ใด ๆ ได้ ๒. การเปล่ียนแปลงเครื่องหมาย เครอื่ งหมายตา่ ง ๆ ทม่ี อี ยู่ไดแ้ สดงถงึ หนว่ ย กจิ การ หรอื สถานทตี่ ้งั ทางทหารมากมายหลายแบบซึง่ อาจจะพบเหน็ เสมอ ๆ แต่อย่างไรก็ดี หนว่ ยหรอื กิจการหรือสถานท่ตี ้ังบางแบบโดยเฉพาะทไี่ มป่ รากฏอยู่ในหนังสอื เล่มน้ี อาจจะ แสดงเป็นเครอ่ื งหมายไดโ้ ดยปกติตามคาแนะนาที่มอี ยู่ และเมอ่ื ไดท้ าเครื่องหมายพิเศษเชน่ กล่าวแลว้ จาเป็นตอ้ งมี หมายเหตุ หรือคาอธิบายความหมายบอกไวใ้ นแผนผงั แผนที่หรอื แผ่นบรวิ ารทใ่ี ชเ้ ครอื่ งหมายนัน้ ไว้ดว้ ย ๓. การใชเ้ ครื่องหมาย ก. การใชป้ ระโยชน์ของเครอ่ื งหมายทางทหาร กเ็ พอ่ื แสดงภาพในรูปร่างอันเหมาะสม และเพ่อื ใหร้ ู้จักหนว่ ยหรือ กิจการ หรือสถานท่ีตง้ั ตา่ ง ๆ ไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง การจะเวน้ ไมเ่ ขยี น เครือ่ งหมายตามทีก่ าหนดไว้แล้วย่อมไม่กระทา เวน้ ไวแ้ ต่ไมม่ เี ครื่องหมายกาหนดไว้ หรอื มาตราส่วนของแผนท่ี จากัดให้ทาไม่ได้ ข. เครื่องหมายแสดงเหล่าทหารทปี่ รากฏในขอ้ ๖ นั้น ใชเ้ คร่อื งหมายส่ีเหลี่ยมผืนผา้ การเปลย่ี นแปลงวธิ ีใช้ เครอ่ื งหมายแสดงเหล่าทหารให้ดูข้อ ๔ ท่ีตรวจการณ์ของเหลา่ ทหารโดยธรรมดาใชเ้ ครื่องหมายสามเหลย่ี ม และ สถานที่ต้ังทางการหน่วยรบของเหลา่ ทหารบางเหล่าใช้เคร่อื งหมาย วงกลม ค. ขนาดของหน่วยหรือสถานที่ตั้งทางทหาร แสดงโดยเขียนเครื่องหมายแสดงขนาดหน่วยไว้ตอนบนของรูป ส่ีเหล่ียม หรือสามเหลี่ยม หรือวงกลม เครื่องหมายแสดงขนาดหน่วยทางยทุ ธวธิ ีใหด้ ขู อ้ ๕ ง.เส้นแบ่งเขต เขตทาการ หรือพื้นท่ีทาการของหน่วย และสถานที่ต้ังทางทหารแสดงโดยเขียนเส้นแสดงเขตและ เครื่องหมายแสดงขนาดของหน่วยท่ีรับผิดชอบเขตน้ัน ๆ ตามความเหมาะสม ข้อที่ ๗ กล่าวถึงเคร่ืองหมายแสดง เสน้ แบง่ เขต จ. คาย่อมักจะใช้ร่วมกับเคร่ืองหมายทางทหารเพื่อแสดงชื่อของหน่วยหรือกิจการหรือสถานท่ีต้ัง คาย่อท่ีใช้น้ีให้ ปฏบิ ัตติ ามระเบียบกองทพั บก ว่าดว้ ยการใช้ประมวลคายอ่ ฉบบั ท่ปี ระกาศใชป้ ัจจบุ นั หากต้องการใช้คาย่อนอกจาก ทป่ี รากฏตามระเบียบกองทัพบกที่กล่าวแล้ว ตอ้ งมหี มายเหตุ หรือคาอธิบายไว้ใหท้ ราบดว้ ยเสมอ ฉ. สี เมื่อใชส้ ีประกอบ สนี า้ เงนิ หมายถึง หน่วยหรอื กจิ การของฝ่ายเรา สแี ดง หมายถงึ หนว่ ยหรอื กิจการของฝ่ายข้าศึก เม่อื ไมใ่ ชส้ ปี ระกอบ หนว่ ยหรอื กจิ การของฝ่ายเราแสดงดว้ ยเสน้ สดี าทบึ เดี่ยว หน่วยหรอื กจิ การของฝา่ ยขา้ ศกึ แสดงด้วยเส้นสีดาทึบคู่ 70
เคร่อื งหมายแสดงพน้ื ทีอ่ าบพิษ ไม่วา่ จะตงั้ อยู่ในทใี่ ด ๆ กต็ าม โดยธรรมดาใช้สีเหลืองเมื่อไม่มีสีเหลืองอาจ เขยี นคาวา่ “อาบพิษ” แทนได้ เครื่องหมายแสดงพนื้ ท่ฝี า่ ยเรายึดอยแู่ มจ้ ะต้งั อยู่ในเขตของข้าศึกกต็ าม คงใช้สนี า้ เงนิ เครือ่ งหมายหลัก ๔. ระบบเครื่องหมายแสดงหนว่ ยทหาร ก. เคร่ืองหมายแสดงหนว่ ยทหาร คือ รูปสีเ่ หล่ียม เชน่ ข. เครือ่ งหมายแสดงหนว่ ยทหารนีอ้ าจเขียนเสน้ ทกี่ ่ึงกลางด้านล่างต่อตรงลงไปหรือโค้งไปตามต้องการก็ ได้ ปลายของเส้นทต่ี ่อนีแ้ สดงทต่ี งั้ ทีแ่ นน่ อนของหน่วยทหารในแผนที่ เช่น ค. กอง บัง คับการ ของ หน่ว ยใด ๆ ก็ ตาม แสดง ด้ว ยเส้น ด้าน ธ ง เขียน ทับด้าน ซ้ายขอ ง เครอ่ื งหมายของหนว่ ย ปลายของเสน้ ดา้ มธง หมายถึง ท่ีตั้งท่ีแน่นอนของกองบังคับการนั้น เส้นนี้อาจตรง หรือโคง้ ก็ได้ เช่น ง.ถ้ากองบงั คับการหลาย ๆ หน่วยต้ังอยู่ในที่เดียวกัน ก็ให้เขียนรูปธงสี่เหล่ียมตามจานวนของกองบังคับการนั้น ๆ ซอ้ นกนั แต่ละรปู ธงสีเ่ หลยี่ มแทนกองบงั คบั การหนึ่งแห่ง เช่น 71
จ.การแสดงประเภทของเหล่าทหาร ใหเ้ ขยี นเคร่ืองหมายแสดงประเภทของเหล่าทหารไวภ้ ายในรปู ส่เี หล่ียม เช่น หนว่ ยทหารราบใด ๆ กไ็ ด้ ฉ . ห า ก ไ ม่ มี เ ค ร่ื อ ง ห ม า ย แ ส ด ง ป ร ะ เ ภ ท ข อ ง เ ห ล่ า ท ห า ร ก า ห น ด ไ ว้ อ า จ ใ ช้ ค า ย่ อ ที่ แ ส ด ง ภารกิจของหน่วยเขียนไว้ภายในรปู สเ่ี หล่ยี มกไ็ ด้ เชน่ หนว่ ยรักษาความปลอดภยั ของกองทพั รปภ. ช.การแสดงขนาดของหน่วย ใหเ้ ขียนเคร่อื งหมายแสดงขนาดของหนว่ ยไวด้ า้ นบนของรูปส่ีเหล่ียม เช่น กองพลทหารราบ XX 72
๕. เครือ่ งหมายแสดงขนาดหนว่ ยในทางยุทธวิธี กาหน ดเคร่ื อง หมายแส ดง ขน าดขอ ง หน่ว ย หรื อ กิ จก าร หรื อ สถาน ท่ีตั้ง ทาง ทหาร และ ใช้เป็ น เครือ่ งหมายแสดงเส้นแบ่งเขต เพื่อกาหนดเขตทาการ หรือพื้นที่ทาการของหน่วย หรือกิจการหรือสถาน ทีต่ ัง้ ตา่ ง ๆ ด้วย คาอธิบาย เครอ่ื งหมาย หมู่ ตอน, พวก (หมู่ ป., หมเู่ รดาร์, หมูอ่ ุตนุ ยิ มวิทยา) หมวด, ชดุ กองรอ้ ย เช่นเดยี วกับกรม เขยี นคาว่า “ผส.” ด้านขวา กองพัน ของรปู กรม กรมผสม กองพลนอ้ ย กรมผสมยานเกราะ กองพล กองทัพน้อย กองทัพ กองทพั ภาค หมกู่ องทพั (ของชาติพนั ธมติ ร) 73
๖. เครื่องหมายแสดงเหล่า และหนว่ ยทหาร กาหนดเคร่ืองหมายแสดงเหลา่ และหนว่ ยทหารของประเทศไทยท่ีมอี ยใู่ นปัจจบุ ันและทค่ี าดว่าจะจดั ตง้ั ขึ้น คาอธบิ าย เคร่อื งหมาย หน่วยทหารการสัตว์ หนว่ ยการบนิ ทหารบก หน่วยกิจการพลเรือน หน่วยกาลงั ทดแทน หน่วยข่าวกรองทางทหาร หน่วยทหารขนสง่ หนว่ ยทหารชา่ ง หนว่ ยดรุ ยิ างค์ หน่วยทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยาน หรือปืนใหญ่ ปอ้ งกันภยั ทางอากาศ หน่วยทหารปนื ใหญ่ หนว่ ยทหารแพทยห์ รอื หน่วยเสนารกั ษ์ หน่วยกาลงั รบนอกแบบ หน่วยสง่ กาลงั 74
คาอธิบาย เครื่องหมาย หนว่ ยซอ่ มแก้และซ่อมบารงุ หน่วยทหารพลาธกิ าร หนว่ ยทหารมา้ ข่ีมา้ หน่วยทหารมา้ ยานเกราะ หน่วยรักษาความปลอดภยั หน่วยทหารราบ หนว่ ยทหารราบบรรทุกยานยนต์ หน่วยทหารราบยานเกราะ หน่วยทหารราบส่งทางอากาศ หน่วยรบพเิ ศษ หน่วยทหารสารวตั ร หนว่ ยทหารส่ือสาร หนว่ ยทหารสรรพาวุธ 75
คาอธิบาย เครื่องหมาย หน่วยสะเทนิ น้าสะเทนิ บก หนว่ ยทหารอากาศ (ใบพดั โปร่ง) หนว่ ยตอ่ สรู้ ถถงั หน่วยทหารภูเขา (ภเู ขาทึบ) หน่วยสงครามอิเล็กทรอนกิ ส์ หนว่ ยส่งกาลังและซ่อมบารงุ หน่วยพลร่ม (ร่ม) ใชเ้ พ่ือแสดงหน่วยพลร่มท่ีไม่ได้บรรจุ ในหนว่ ยสง่ ทางอากาศ หนว่ ยยานยนต์ล้อมหมุ้ เกราะ หน่วยรถถงั สะเทินนา้ สะเทนิ บก หน่วยตรวจการณ์ (เฝา้ ตรวจ)ทางอากาศ (กองทัพบก) ห น่ ว ย ต ร ว จ ก า ร ณ์ ( เ ฝ้ า ต ร ว จ ) ท า ง อ า ก า ศ (กองทพั อากาศ) กองรอ้ ยลาดตระเวนระยะไกล 76
คาอธิบาย เครื่องหมาย กองพันสตั ว์ต่าง (ตำ่ ง) รอ้ ยรถไฟพยาบาล หมวด ซบร.สน. (สน.) หน่วยขนาดกอง ใช้เครื่องหมาย ไว้ด้านบนของ หน่วย แสดงถึงหน่วยที่ใหญ่กว่ากองร้อย แต่ เล็กกว่ากองพัน เช่น กอง ลว.พล.ม., กอง ส. พล ๑ รอ. หนว่ ยบญั ชาการสนับสนุนการชว่ ยรบกองทพั สนาม กองบัญชาการ หรือส่วนของกองบัญชาการหน่วย บญั ชาการสนบั สนุนการชว่ ยรบในเขตหนา้ หน่วยบัญชาการสนบั สนุนการช่วยรบในเขตหลัง กองบัญชาการ หรือส่วนของกองบัญชาการหน่วย XXXX บัญชาการสนบั สนุนการชว่ ยรบในเขตหลัง บชร. ๒ หน่วยบัญชาการช่วยรบของกองทัพภาคที่ ๒ XXX บชร. ๒ (ส่วนแยก) หนว่ ยบัญชาการชว่ ยรบของกองทัพภาคที่ ๒ ส่วนแยก หน่วยท่ีจัดเป็นการช่ัวคราว ใช้เครื่องหมายเขียนไว้บน ขนาดของหน่วย เช่น กองร้อยชุดรบ, กองพัน เฉพาะกจิ เป็นต้น 77
ชดุ ทลร. (ทาลายระเบิด) ทลร. ซบร.สน. รอ้ ย ส.ส่งกาลงั และ ซบร.สน. รอ้ ย พธ. สนบั สนนุ โดยตรง ชต. รอ้ ย สพ. ส่งกาลังสนาม สนำม พัน สร.สนับสนุนโดยตรง กอง สพ. สนบั สนุนทัว่ ไป ชต. ร้อย สพ. กระสุน ชร. สว่ นแยก พธ.สนบั สนนุ โดยตรง กน. รอ้ ยสง่ กาลังและบรกิ ารสนับสนุนโดยตรง บร./สน. ชต. พัน.ซบร.สนับสนนุ โดยตรง ชต. กอง สพ.สง่ กาลังทั่วไปส่วนแยก กอง พธ.สกอ. สต. คาอธิบาย (สย.) กองบนิ เบา สกอ. เครือ่ งหมาย 78
กองพลทหารราบเบา เบำ ฐานปฏบิ ตั ิการรบพิเศษ ฐปรพ. หน่วยตระเวนชายแดน กรมสนบั สนนุ กองพลที่ ๙ ตชด. สน. XX ๙ ๗. เคร่อื งหมายแสดงเส้นแบ่งเขต ก. เสน้ แบง่ เขตทางข้าง เสน้ แบง่ เขตแสดงด้วยเส้นทึบ พร้อมด้วยเครอ่ื งหมายแสดงขนาดหน่วย เขียนไว้ ตรงช่องว่างท่ีเหมาะสมตามหนว่ ย เหลา่ และชาติ ถา้ จาเปน็ ใหเ้ ขียนไว้แต่ละด้านของเครอื่ งหมายแสดง ขนาด ถ้าเสน้ แบ่งเขตทางขา้ งของหน่วยทม่ี ีขนาดไม่เทา่ กัน ให้ใช้สญั ลกั ษณข์ องหน่วยท่ใี หญก่ ว่า ตัวอยา่ ง ๑ XXX พล.ร.๓ เส้นแบ่งเขตระหวา่ งกองทัพน้อย ๑ และกองพล ทหารราบท่ี ๓ ๑ XX ๒ เสน้ แบ่งเขตระหว่างกองพลทหารราบท่ี ๑ และ ๒ ร.๓ XXม.ยก.๑๔ เส้นแบง่ เขตระหวา่ งกองพลทหารราบที่ ๓ และ กรมทหารม้ายานเกราะท่ี ๑๔ 79
ข. เสน้ เขตหลงั ถา้ แสดงเส้นเขตหลังให้ใชเ้ ครื่องหมายแสดงขนาดของหนว่ ยท่ีเลก็ กวา่ หรอื กล่าวอีกอย่างหนึ่ง ให้ ใชส้ ญั ลกั ษณข์ องหน่วยรบั การบังคับบัญชาไม่ใช้หน่วยบังคับบัญชา เหล่าและชาติของหน่วยอาจแสดงไว้ เพอื่ ปอ้ งกนั การสบั สน พล.ร.๔๓ ม.ยก.๑๔ XX ทน.๕ ทน.๕ เส้นเขตหลังแยกกองพลทหารราบท่ี ๔๓ เส้นเขตหลังแยกกรมทหารม้ายานเกราะ ท่ี ๑๔ และกองทพั นอ้ ยท่ี ๕ และกองทัพนอ้ ยท่ี ๕ ค. เส้นแบ่งเขตทเ่ี สนอ เส้นแบ่งเขตในอนาคต หรือที่เสนอ แสดงดว้ ยเส้นประพร้อมกับเวลาหรือสภาพการมีผลใช้ บงั คบั และกองบงั คบั การที่กาหนดเสน้ แบ่งเขตนนั้ ตวั อย่าง ฉก.พนั .ร.๒๓๑ มีผลเมื่อกองพลส่งั ฉก.พัน.ร.๒๓๒ ง. จุดจากดั หรอื จุดประสานเขต ใหใ้ ชเ้ ครอื่ งหมายตามข้างล่างนี้ เขียนลงบนแนวต่าง ๆ 80
จ. เม่อื ไมอ่ าจเขียนเส้นแบ่งเขตระหวา่ งหน่วยต่าง ๆ ได้เหมาะสม แต่มีความจาเป็นตอ้ งแสดงพ้ืนทขี่ องหน่วยน้ัน ๆ โดยธรรมดาให้เขียนเส้นล้อมรอบแสดงเป็นพ้ืนท่ี และเขียนเคร่ืองหมายแสดงขนาดหน่วยตรงช่องว่าง ระหว่างเสน้ น้ี หรอื อาจจะเขียนเครื่องหมายแสดงหน่วยไว้ภายในเส้นลอ้ มรอบน้กี ็ได้ เช่น พืน้ ทีข่ องหมวด หรือ พื้นทีข่ องหมวดทหารราบ ฉ. พื้นท่ีที่ต้ังใจจะเข้าไปยึดครองให้แสดงด้วยเส้นประ และอาจเขียนเคร่ืองหมายแสดงขนาดหน่วยหรือ เครอื่ งหมายแสดงหน่วยประกอบกบั เสน้ น้กี ไ็ ด้ เช่น พื้นท่ีทคี่ ิดจะให้กองรอ้ ยเขา้ ยดึ ครอง พื้นที่ทคี่ ิดจะใหก้ องร้อยทหารชา่ งเข้ายดึ ครอง ช. หากมหี นว่ ยทหารหลายหนว่ ยตัง้ อย่ใู นพน้ื ทีเ่ ดยี วกนั กใ็ หเ้ ขียนเครือ่ งหมายแสดงหนว่ ยทง้ั หลายนัน้ เรียงซ้อนกัน แลว้ เขยี นเส้นตรงไปยงั พน้ื ที่ทห่ี น่วยเหล่านนั้ ตัง้ อยู่ เชน่ ซ. แนวหน้าของการวางกาลังฝา่ ยเราแสดงด้วยเส้นโค้งตดิ ต่อกัน เช่น แนวหน้าการวางกาลงั ของขา้ ศกึ แสดงดว้ ยเส้นโคง้ คู่ตดิ ตอ่ กัน เชน่ 81
ฌ. แนวท่ีหน่วยลาดตระเวนของฝ่ายเรายึดอยู่อย่างบาง ๆ (การวางกาลังข้างหน้าฝ่ายเรา) แสดงด้วยจุดโค้ง ตดิ ตอ่ กนั เช่น แนวที่หน่วยลาดตระเวนของข้าศึกยึดอยู่อย่างบาง ๆ (การวางกาลังข้างหน้าของข้าศึก) แสดงด้วยวงกลมเล็ก ๆ ตดิ ตอ่ กัน เชน่ * จดุ และวงกลมไมแ่ สดงถึงกาลงั หรือทตี่ ั้งอนั แทจ้ ริงของหนว่ ยลาดตระเวน ญ. เม่อื ใชแ้ สดงแนวปะทะหรอื แนวท่หี นว่ ยลาดตระเวนยึดอยู่อย่างบาง ๆ ใช้ สีน้าเงิน แสดงสาหรับฝ่ายเรา และ สีแดง แสดงสาหรบั ฝ่ายข้าศึก ฎ. ทหี่ มายตา่ ง ๆ แสดงด้วยเสน้ ทึบลอ้ มรอบพนื้ ที่และเขียนคาย่อ “ทม.”ไว้ภายใน เมื่อต้องการแสดงรายละเอียด เพมิ่ เติมก็ให้เขยี นหน่วยเจา้ ของทห่ี มายลงไปดว้ ย เชน่ ทม. ทม. พล.ร.๒ ฏ. เมื่อต้องการจะแสดงทศิ ทางเขา้ ตไี ปยงั ทหี่หรมือาย ก็ให้เขยี นลกู ศรเพม่ิ ข้ึนอีกจากแนวออกตไี ปยงั ที่หมาย เช่น นต. ทม. พล.ร.๒ ลูกศรน้มี ิได้แสดงเสน้ ทางที่แนน่ อนสาหรับการเข้าตี แต่จะแสดงเพยี งทศิ ทางเขา้ ตีเทา่ นน้ั ฐ. เม่ือต้อ“เงสกน้ าหรจละักแกาสรดรงุกท”ิศทปารงะเกคอลนบื่อตดน.ว้ทย่ีโกดไ็ยดท้ ด่ัวงัไนป้ีของหน่วย ให้เขียนเคร่ืองหมายลูกศรประกอบกับคาเขียนว่า เสน้ หลักกำรรกุ พล.ร.๒๐ ฑ. ภาพแสดงหนว่ ยทีท่ าหน้าท่ีกาบงั หรือระวงั ป้องกนั ฒ. เครอ่ื งหมายแสดงแนว จดุ ควบคุม และพนื้ ทจ่ี ากัด เครื่องหมาย ขนม. คาอธิบาย ขนม. 82 ขอบหนา้ ท่มี ่นั ตั้งรับ
ฉากการยงิ (ทัว่ ไป) 1201 ปบค.๑๐๕ มม. ยิงฉากตอ่ เปา้ หมายที่ ๑๒๐๑ ฉากการยิงของกองร้อยท่ี ๒ กองพันทหารปืนใหญ่ท่ี ๓ (105 โคง้ ) (๑๐๕ มม) รอ้ ย.2 ป.พนั .3 ฐานออกตี แนวทีม่ ่ันรกั ษาดา่ นรบ (105 โคง้ ) แนวที่มั่นรักษาด่านทั่วไป ออกตี นทดร. ขนั้ การเคลื่อนที่ (ใชร้ หัส, อกั ษร หรอื ตวั เลข) นทดร. นทดป. นทดป. ขั้นเขียว ขั้น ก ข้ันเขยี ว ขัน้ 2 ขน้ั ก ขน้ั 2 จดุ ตรวจ (ใชร้ หสั อกั ษร หรอื ตัวเลข) แดง ข 45 แนวห้ามยงิ (สีแดงประ) (ห้ามยิงต่ากว่าแนวน้)ี นหย. นหย.(หนว่ ย) แนวออกตี (วนั – เวลาทมี่ ีผลบงั คบั ) นต. นต. คาอธบิ าย เคร่อื งหมาย แนวประสานการยงิ สนับสนุน (สีดาทึบ) (แนวภูมิประเทศ นปยส. นปยส. เด่นชดั สาหรับ บ.และ ป.) แนวประสานการยงิ (สีแดงทึบ) (เมอื่ มี ๒ หนว่ ยขึ้นไป) นปย. นปย. แนวประสานขัน้ สุดท้าย นป.ขนั้ สุดทา้ ย นป.ขั้นสุดทา้ ย แนวทางแทรกซึม แนวทางการแทรกซมึ 83
แนวออกตี คือ ทีต่ ้งั ปจั จบุ ัน นต.คือ ทป. นต.คือ ทป. แนวออกตี คอื แนวปะทะ นต./ นป. นต./ นป. แนวออกตีคือแนวหน้าของการวางกาลังฝ่ายเดียวกนั นต.คอื นกฝ. นต.คอื นกฝ. พ้นื ท่รี วมพล พน้ื ที่อาบพษิ ( ข้างในเส้นสีเหลอื ง) อาบพษิ จุดบรรจบ จุดจบ ( ณ แนวขั้นและเส้นเขตทางข้างตัดกัน) จุดผ่าน (บนแนวควบคุมท่ีฝ่ายเรายึด และหน่วยอื่นของ ฝา่ ยเราจะถอนตวั ผา่ น) ๘. เคร่อื งหมายแสดงสถานท่ตี ้ังตา่ ง ๆ ก. ตามปกติ ให้ใชเ้ คร่ืองหมายแสดงหน่วยทหารการช่วยรบ แทนเครอื่ งหมายแสดง สถานท่ตี งั้ การชว่ ยรบ ข. เมื่อไม่ใช้เครอ่ื งหมายแสดงหนว่ ยตามข้อ ก. ให้ใชเ้ ครอ่ื งหมายแสดงสถานทีต่ ง้ั ดงั นี้ เขา้ ต้งั อยหู่ รือยดึ ครองอยู่ ยงั ไม่ได้เขา้ ตง้ั อยู่หรือที่คาดวา่ จะเขา้ ตงั้ อยู่ ค. ถา้ ตอ้ งการแสดงทีต่ งั้ โดยแน่นอน ให้เขียนเสน้ ตรงหรือโคง้ ก็ได้ ดา้ นลา่ งของเครื่อง หมาย ง. เครอ่ื งหมายแสดงเหลา่ ทหาร ฝา่ ยกิจการพิเศษ หรอื แสดงกิจการทางทหารใด ๆ ก็ตาม เขียนลงในเครือ่ งหมายหลกั ตามความเหมาะสม เชน่ สถานทีต่ ้งั ทางการสง่ กาลังสายทหารส่อื สาร 84
จ. เมื่อไมม่ เี คร่ืองหมายแสดงเหล่าทหาร หรือฝ่ายกจิ การพิเศษกาหนดไวใ้ หใ้ ชค้ ายอ่ แสดงหมายของหน่วยนั้นแทน โดยเขียนลงในเคร่อื งหมายหลัก เชน่ สถานทต่ี ัง้ กาลงั ทดแทน กทท. ฉ. เมือ่ ใช้เครื่องหมายแสดงหนว่ ยหลกั ใหใ้ ช้เครื่องหมายแสดงขนาดหน่วยและคาย่อ ประกอบ เช่น สถานท่ีตง้ั ทางการส่งกาลังสายสรรพาวุธ สาหรับกองพลของกองทัพอเมรกิ า (อม.) ๙. เครอ่ื งหมายแสดงเก่ียวกบั การบนิ เครือ่ งหมาย คาอธิบาย สนามพนื้ ลงสาหรับเฮลิคอปเตอร์ สนามบนิ หรือลานบินสาหรบั เคร่ืองใบพัด ๑๐. เครอ่ื งหมายแสดงกจิ การปอ้ งกนั ภัยทางอากาศหรอื การตอ่ สู้อากาศยาน คาอธบิ าย เครอื่ งหมาย เรดาร์ ๑๑. เครื่องหมายแสดงการบังคบั บัญชา และการติดต่อสอ่ื สาร ก. ในขอ้ นี้จะไม่แสดงถงึ เครอื่ งหมายของหน่วยทหารสื่อสาร หรือรูปร่างของการติดต่อสื่อสาร สาหรับรายละเอียด ให้ดูรูปท่ี ๒๘ เครื่องหมายท่ีใช้ในการติดต่อส่ือสาร ซ่ึงปรากฏอยู่ในข้อนี้ร่วมกับเครื่องหมายแสดงการ บังคบั บญั ชา ข. กฏสาหรบั การเขยี นเครอ่ื งหมายของกองบัญชาการต่าง ๆ มดี งั นี้ ๑) กองบัญชาการท่ีสูงกวา่ หมูก่ องทัพ จะไม่มีเครื่องหมายแสดงของหน่วย แต่ให้เขียนช่ือย่อของหน่วยนั้นลงในรูป ธง เชน่ กองบญั ชาการทหารสงู สุด บกส. ๒) สาหรับกองบัญชาการกองทพั น้อยและสูงกว่า ให้เขียนเคร่ืองหมาย แสดงขนาดหน่วยด้านแบบรูปธง และเขียนหมายเลขประจาหนว่ ยดา้ นขวา ไมต่ ้องมีเครือ่ งหมายแสดงเหลา่ ทหารเขียนไว้ เชน่ ๔ 85
กองบญั ชาการกองทัพนอ้ ยท่ี ๔ XXXX กองบญั ชาการกองทัพภาคท่ี ๒ ๒ ๓) กองบัญชาการกองพล และกองบังคับการของหนว่ ยทีต่ า่ กว่า ให้เขียนเคร่ืองหมายแสดงเหล่าทหารไว้ภายในรูป ธง และเขียนเครือ่ งหมายเลขประจาหนว่ ยดา้ นขวาของรูปธง เช่น กองบัญชาการกองพลทหารราบท่ี ๒ XX ๒ ๔) การแบ่งส่วนกองบัญชาการหรือกองบังคับการต่าง ๆ ให้ใช้เครื่องหมาย ดงั ต่อไปน้ี กองบงั คบั การทางยุทธวิธี (กรมทหารราบที่ ๑) ๑ กองบญั ชาการหลกั (กองพลทหารราบที่ ๒) ยุทธ หลัก ๒ กองบัญชาการหลงั (กองพลทหารราบที่ ๓) หลงั ๓ ๕) สถานท่ตี ัง้ ทางการตดิ ต่อสอ่ื สารใหเ้ ขยี นคายอ่ ไวด้ า้ นล่างรูปธง เชน่ หลงั ศนู ยร์ ับสง่ ศรส. ๒ ศนู ย์การส่อื สารกองพลทหารราบท่ี ๒ XX ศสส. 86
ค. เคร่อื งหมายแสดงการบงั คบั บัญชาและการตดิ ต่อสอื่ สาร คาอธิบาย เครือ่ งหมาย กองบัญชาการยุทธบริเวณ ยธบ. กองบัญชาการกองทัพบกประจายุทธบรเิ วณ ยทธบบ. . กองบัญชาการสง่ กาลงั บารุง กองทพั บก ประจายทุ ธบริเวณท่ี ๑๒ บช.กบ.ทบ. ๑๒ คาอธิบาย เคร่ืองหมาย กองบัญชาการกองทัพภาคที่ ๑ XXXX กองบญั ชาการกองทพั นอ้ ยที่ ๔ กองบัญชาการกองพลทหารราบที่ ๑ ๑ XXX ๔ XX ๑ กองบังคับการกรมผสม ผส. กองบญั ชาการทค่ี าดวา่ จะจดั ตง้ั ขน้ึ ทีบ่ งั คับการหลกั หลกั ท่ีบงั คบั การหลงั หลัง ท่ีบงั คบั การทางยทุ ธวธิ ี ยทุ ธ 87
ชุมสายโทรศพั ท์ พาณชิ ย์ ตู้สลับสาย ณ กองบงั คับการ ศูนย์โทรพมิ พ์ ชุมสายโทรศพั ทพ์ าณิชย์ คาอธิบาย เครอื่ งหมาย ศูนย์การสอื่ สาร ศสส. สถานีเรดาร์ ๑๒. เครอ่ื งหมายแสดงป้อมสนาม ก. เคร่ืองหมายแสดงทต่ี ั้งและรปู ร่างของปอ้ มสนาม คาอธิบาย เครอ่ื งหมาย เคร่ืองหมายแสดงว่า “กาลังก่อสร้าง” (เขียนทางขวา กาลังกอ่ สร้าง เครอื่ งหมาย) เครอ่ื งหมายแสดงว่า “ยังไม่เข้าประจา” (เขียนทางขวา ยังไมเ่ ข้าประจา เครอื่ งหมาย) เคร่ืองหมายแสดงว่า “ถูกทาลายแล้ว” (เขียนทับ เคร่ืองหมาย) เคร่อื งหมายแสดงว่า “ลวง” (เขยี นบนเคร่ืองหมาย) ? เคร่ืองหมายแสดงว่า “สงสัย” หรือ “ไม่แน่ใจ” (เขียน ทางขวาหรือภายในเครือ่ งหมาย) คตู ิดต่อแบบใด ๆ ก็ได้ คตู ดิ ต่อมีช่องยงิ 88
คูตดิ ตอ่ มีที่พักกาบังใต้ดนิ กาบัง คตู ิดตอ่ ทกี่ าลงั ก่อสรา้ ง กาลงั ก่อสร้าง จุดต้านทานหรือตาบลแข็งแรง เครือ่ งหมาย คาอธิบาย ยงั ไม่เข้าประจา จุดต้านทานทีย่ ังไม่เข้าประจา ที่ตัง้ ยงิ หรือหลุมบคุ คล ๒ ที่ตงั้ ยิงหรือหลมุ บคุ คล ๒ คน ที่ตงั้ ยิงปืนใหญ่เบากระสุนวถิ ีโค้ง 89 ที่ตั้งยงิ ลวงของ ปบค. ท่ีต้ังยิงหรอื หลุมปืนท่ถี ูกทาลายแล้ว ทพี่ ักกาบงั หรือทต่ี งั้ ขดุ ลงไป ทพ่ี กั กาบังใต้ดนิ ท่ีพกั กาบังบนดนิ ป้อมทวั่ ไป พนื้ ท่หี รอื บรเิ วณที่เปน็ ปอ้ ม หลุมปนื
ข. หากมีความจาเป็นจะต้องแสดงจานวนผู้เข้าอาศัยในหลุมบุคคล หรือท่ีพักกาบังก็ให้เขียนจานวนเลขที่ด้านซ้าย ของเครอื่ งหมาย ค. เคร่ืองหมายแสดงอาวุธที่อยู่ในหลุมปืนต่าง ๆ อาจเขียนเคร่ืองหมายแสดงชนิดของอาวุธน้ัน ๆ ลงภายใน เครื่องหมายได้ ๑๓. เครือ่ งหมายแสดงสถานท่ตี ้ังทางการแพทย์ ก . เนื่อง จาก กิ จก ร ร มทาง ก าร แพ ทย์มีหลายแบบ จึ ง ต้อ ง ใช้เคร่ื อ ง หมายพิ เศษเพื่ อ แสด ง หนา้ ที่ตา่ ง ๆ ไว้ เคร่ืองหมายทป่ี รากฏอยใู่ นข้อ ข ถงึ ง ข้างลา่ งนี้แสดงถงึ หนว่ ยทหารแพทย์ สถานท่ีตั้งทาง การแพทยม์ หี น้าทร่ี กั ษาพยาบาล และสถานทต่ี ง้ั ทางการส่งกาลังทางการแพทย์ ข. เคร่อื งหมายแสดงหนว่ ยทหารแพทย์ใชร้ ปู ส่เี หลย่ี ม มกี ากบาทอย่ภู ายใน เช่น ค. สถานท่ีตั้งทางการส่งกาลังสายการแพทย์ แสดงด้วยเครื่องหมายวงกลม ด้านล่างระบายสีทึบมีกากบาทอยู่ ภายใน ดงั นี้ ง . เ ค รื่ อง ห ม า ย ที่ ใ ช้ แ สด ง ห น่ ว ย ท า ง ก าร แ พ ท ย์ มี ห น้ าที่ รั ก ษ า พ ย า บ า ลใ ช้ เ ค ร่ื อ ง ห ม า ย กากบาท ดงั นี้ จ. เคร่อื งหมายแสดงหน่วยและกิจการทางการแพทย์ เครอื่ งหมาย คาอธบิ าย ศช.กช. กองพยาบาล ศนู ย์การทหารชา่ ง กรมการทหารชา่ ง กองรอ้ ยเสนารักษ์ กรมทหารราบท่ี ๒ ๒ ๑๒๒ ๑ คลงั สายการแพทย์ที่ ๑๒๒ ของกองทพั ที่ ๑ ๒ คลงั สายการแพทย์ท่ี ๒ ของเขตหลัง ๑๓ ร. ทพ่ี ยาบาลของกรมทหารราบท่ี ๑๓ ๔ ร. ทพ่ี ยาบาลของกองพลทหารราบท่ี ๔ 90
คาอธิบาย เคร่ืองหมาย หมวดเสนารักษ์ กองพันทหารปนื ใหญ่ที่ ๓ ป.พนั .๓ โรงพยาบาลสนามที่ ๘๑๗ มอบให้ส่วนของเขตหลัง ศนู ย์พักฟื้นท่ี ๘๘๐ (กองทพั สนาม) สนาม ๘๑๗ ศูนย์โรงพยาบาลท่ี ๘ พักฟื้ น XXXX ๘๘๐ ศูนย์ ๘ ๑๔. เครอ่ื งหมายแสดงเคร่ืองกดี ขวาง ก. เคร่อื งหมายแสดงเคร่อื งกดี ขวางแบบต่าง ๆ และท่ีตั้งเคร่ืองหมายเหล่าน้ี อาจผสมกันหลาย ๆ แบบในที่ตั้งแห่ง เดียวกนั ได้ ข. สเี ขยี ว ใชเ้ พ่ือแสดงระเบดิ การทาลาย เครื่องกีดขวางถนน และเคร่ืองกีดขวางอ่ืน ๆ ของทหารช่างทั้งของฝ่าย เรา และของข้าศกึ เม่ือไมม่ สี ีเขยี วให้ใชส้ ดี าแทนได้ สีเหลืองใช้เพื่อแสดงพื้นท่ีเป้าหมายของเคมี ชีวะ และ รงั สี (คชร.) (เว้นควนั ) ดงระเบิดไอพิษพนื้ ทีอ่ าบพษิ คชร.อ่ืน ๆ ทงั้ ของฝ่ายเราและของขา้ ศกึ ค. เครอื่ งกดี ขวางดว้ ยสารเคมี คาอธบิ าย เคร่อื งหมาย ทุ่นระเบดิ สารเคมี (สีเหลือง) HD แนวท่นุ ระเบดิ สารเคมี (สเี หลอื ง) พื้นท่อี าบพษิ ดว้ ยสารเคมี (ข้างในเส้นสีเหลอื ง) เคมี 91
ง. เครื่องกดี ขวางชนิดลวดและชนิดพเิ ศษอน่ื ๆ เครือ่ งหมาย คาอธบิ าย กาแพงดกั รถถงั เคร่ืองกีดขวางลวดหนามทั่วไป (อาจจะบอกความลึก เป็นฟุต) เครอ่ื งปิดกน้ั ถนนทคี่ าดคิดไว้ เคร่ืองปดิ กน้ั ถนนที่ทาไวแ้ ลว้ แตย่ ังผ่านไป เครอ่ื งปิดกั้นถนนทท่ี าเสรจ็ สมบูรณ์แลว้ เครือ่ งกีดขวางรถถงั ไม่จากัดแบบ คดู กั รถถังชนดิ เปดิ คูดกั รถถังชนิดปดิ จัตุรมขุ พันมังกร และเคร่ืองกีดขวางอ่ืนท่ีคล้ายกัน ติด อยกู่ บั ทีแ่ ละสาเรจ็ รปู จตั รุ มุข พันมังกร และเคร่ืองกีดขวางอ่ืนท่ีคล้ายกัน ยก ไปมาได้ (เคลอ่ื นที่ได้) จตั รุ มุข พันมังกร และเคร่ืองกีดขวางอื่นที่คล้ายกัน ยก ไปมาได้และสาเร็จรูป (เคล่ือนท่ีและประกอบ กันได้) ป่าลวดต่า, ลวดหนามกระโจมตา่ ป่าลวดสูง, ลวดหนามกระโจมสูง รวั้ ลวดเส้นเดยี ว ร้ัวลวดสองเส้น 92
คาอธบิ าย เครื่องหมาย ลวดหบี เพลงชน้ั เดยี ว เครือ่ งหมาย ลวดหีบเพลงหลายช้นั ลวดสะดุด จ. เครอื่ งกดี ขวางชนดิ ระเบิดและทุ่นระเบิด คาอธบิ าย กับระเบดิ ทุ่นระเบดิ ไม่ทราบชนดิ ท่นุ ระเบดิ สังหาร ท่นุ ระเบดิ ดักรถถัง ทนุ่ ระเบดิ ดักรถถงั แบบกบั ระเบิด ทุน่ ระเบดิ ดกั รถถงั สองทนุ่ หรือมากกว่า ท่นุ ระเบิดดักรถถงั แบบกับระเบดิ สองทุ่นหรอื มากกวา่ ทุ่นระเบิดสังหารโยงตดิ กบั ลวดสะดดุ ช่องวา่ งหรอื ช่องทางผา่ นแถบทุ่นระเบดิ สงั หาร ชอ่ งวา่ งหรือชอ่ งทางผา่ นแถบทุน่ ระเบดิ ดักรถถัง แถบทุ่นระเบิดดกั รถถัง 93
แถบทุน่ ระเบิดสังหารบุคคล 400 สนามทุน่ ระเบดิ มที นุ่ ระเบิด ๔๐๐ ลูก วางทนุ่ ระเบดิ ดัก M XX X M XX รถถงั ผสมกับทุ่นระเบิดสงั หาร X สนามทนุ่ ระเบดิ ลวงมรี ้วั กน้ั M สนามทุ่นระเบิดมีขอบเขตไม่แน่นอน และไม่ทราบชนิด MX X X X ทุน่ ระเบดิ XX สนามทุ่นระเบิดดักรถถังมีขอบเขตแน่นอน แต่ไม่มีร้ัว M กั้น MM M M MM M ๑๕. เครอ่ื งหมายแสดงเสน้ ทางคมนาคม ก. เสน้ ทางคมนาคมไม่ใชเ้ ฉพาะทางถนนเท่านนั้ ยังหมายถึงทางน้า ทางรถไฟ และทางอากาศด้วย ข. เคร่อื งหมายแสดงเสน้ ทางคมนาคมทใ่ี ช้อยูใ่ นแผนท่ี แผน่ บริวาร และรายงานต่าง ๆ ถนน คาอธบิ าย เครอ่ื งหมาย การจราจรทางเดยี ว การจราจรสองทาง การจราจรกระแสสลับ สลบั คาอธิบาย เครอื่ งหมาย กองบังคับการจราจร 94
ขบวนลาเลียงขณะเดินทาง ๒๕ ๒๕๐๕๒๕ ก.ค. ขบวนรถถัง ๒๕ คัน ตรวจพบเม่อื ๒๕๐๕๒๕ ก.ค. ปลายทาง ขบวนลาเลยี งขณะหยุด หวั ลูกศรชที้ า้ ยขบวน ตาบลควบคุมจราจร จต. ตาบลปลายทาง จย. จดุ เริ่มตน้ จดุ แยกขบวน ซบร. ตาบลเตมิ นา้ มนั ตาบลเตมิ นา้ มนั และซ่อมบารงุ เลก็ น้อย ฟ ถนนท่ีผ่านไปไมไ่ ด้ ถนนที่มอี โุ มงค์ (เส้นประแสดงความยาวของอุโมงค์) ทีก่ ลับรถ แนวพรางแสงไฟ วงเวยี น เสน้ ทางควบคุมพเิ ศษ เส้นทางสงวน 95
สะพาน ๑๖. เคร่ืองหมายแสดงสถานทตี่ ้งั พเิ ศษต่าง ๆ ก. เคร่ืองหมายท่ีปรากฏอยู่ในข้อนี้ ครอบคลุมถึงสถานที่ต้ังทางกาลังพลและการบริการอ่ืนๆ รวมทั้งสถานที่ตั้ ง พเิ ศษอืน่ ๆ ด้วย ข. เครอื่ งหมายสาหรบั สถานท่ีต้ังโดยเฉพาะท่ีไม่มีกาหนดไว้ อาจจะกาหนดข้ึนโดยใช้เครื่องหมายและคาย่อที่มีอยู่ ผสมกนั ค. เครื่องหมายแสดงกิจการกาลงั พล และการบรกิ ารอ่ืน ๆ รวมทั้งสถานทีต่ ้งั พเิ ศษอืน่ ๆ ด้วย คาอธบิ าย เครือ่ งหมาย กองร้อยกาลงั ทดแทน กทท. ตาบลรวบรวมเชลยศึก รวม ชศ. ตาบลรวบรวมทหารพลัดหน่วย รวม พ. ตาบลควบคมุ ทหารพลดั หนว่ ย พ. ตาบลรวบรวมศพ รวม ศพ ตาบลรวบรวมพลเรอื น รวม พร. ท่ีฝังศพ หรือสสุ าน ทพ่ี กั ผอ่ นหย่อนใจ พัก ทอ่ี าบน้าและซักฟอก อาบ หอคอย อาคาร หรือ ๑๗. เคร่อื งหมายแสดงที่ตั้งทางการส่งกาลงั บารงุ 96
ก. ตามท่ีกลา่ วมาแลว้ เครอ่ื งหมายหลักของที่ตงั้ ทางการสง่ กาลังบารุง คือ วงกลมและสถานที่ตั้งยังมิได้เข้ายึดครอง หรือทค่ี าดหมายวา่ จะเขา้ ยดึ ครอง วงกลมเส้นประ (มีแรเงาทึบอยู่ท่ีส่วนล่างของวงกลมเมื่อเป็น สป.หลัก ในเหล่า สายวิทยาการ ข. ประเภทของสง่ิ อุปกรณท์ ีม่ อี ยูใ่ นสถานท่ีต้งั ใด กเ็ ขียนเคร่อื งหมายแสดงประเภทของสิ่งอุปกรณ์หรือเครื่องหมาย แ ส ด ง เ ห ล่ า ยุ ท ธ บ ริ ก า ร ไ ว้ ภ า ย ใ น ว ง ก ล ม ส า ห รั บ สิ่ ง อุ ป ก ร ณ์ ท่ี อ ยู่ ใ น ค ว า ม รบั ผดิ ชอบของฝ่ายกิจการพิเศษโดยเฉพาะ ก็เขยี นเครื่องหมายของสง่ิ อปุ กรณ์นน้ั ลงภายในวงกลม ค. หน้าท่ีต่าง ๆ ของ สถานท่ีตั้ง ทาง การ ส่ง ก าลั ง สป. ๑ – ๔ ให้เขียนคาย่อ ด้าน ขว าขอ ง วงกลม เชน่ ตาบลส่งกาลัง (ตส.) คลัง (คลั ง) ง. การสง่ กาลังบารงุ เคร่ืองหมาย คาอธบิ าย สง่ิ อปุ กรณป์ ระเภทที่ ๑ (เสบยี งคน) ใช้เครื่องหมายของเหล่ายุทธบริการที่ รบั ผิดชอบแทน สิ่งอปุ กรณ์ประเภทที่ ๑ (เสบยี งสตั ว์) สงิ่ อปุ กรณป์ ระเภทท่ี ๒ - ๔ ส่งิ อปุ กรณ์ประเภทท่ี ๓ (นา้ มนั เชือ้ เพลิง) สง่ิ อุปกรณป์ ระเภทท่ี ๓ (นา้ มนั เช้อื เพลงิ อากาศยาน ทบ.) สิง่ อุปกรณ์ประเภทท่ี ๕ เช่นเดยี วกับสงิ่ อปุ กรณ์ประเภทที่ ๒ สง่ิ อุปกรณป์ ระเภทท่ี ๕ ทว่ั ไป สิ่งอุปกรณป์ ระเภทที่ ๕ เฉพาะเคร่ืองบนิ ทหารบก สิ่งอุปกรณ์ประเภทที่ ๕ เฉพาะทหารปืนใหญ่ สิง่ อุปกรณ์ประเภทท่ี ๕ เฉพาะทหารอากาศ 97
สง่ิ อุปกรณป์ ระเภทที่ ๕ เฉพาะอาวุธเบา (กอง) ตาบลจา่ ยนา้ (คลั ง) สถานทีต่ งั้ ทางการส่งกาลงั สายการสตั ว์ (ตจ.) สถานทตี่ ัง้ ทางการสง่ กาลงั สายทหารชา่ ง (ตส.) สถานที่ตั้งทางการส่งกาลังสายทหารชา่ งเฉพาะแผนท่ี (ตส.) สถานทีต่ ง้ั ทางการสง่ กาลังสายพลาธกิ าร รวม กซ. ทกี่ อง รวม คลงั ตาบลจา่ ย สกน. ตาบลส่งกาลงั ตาบลสง่ กาลังกระสุน สลก. ตาบลรวบรวมสิ่งอุปกรณเ์ ก็บซ่อม ตาบลรวบรวมส่งิ อปุ กรณซ์ อ่ มบารงุ สัมภาระของหน่วย สานักงานกระสนุ เสน้ หลักการส่งกาลงั 98
๑๘. เครอื่ งหมายแสดงยานพาหนะชนดิ ตา่ ง ๆ เคร่ืองหมาย ก. ยานพาหนะ เครอ่ื งหมาย คาอธบิ าย เครื่องหมาย รถถังเบา รถถงั กลาง ๑๐ รถถงั หนกั รถหุ้มเกราะ หรอื รถลาดตระเวน ข. แบบของตัวถังยานพาหนะ คาอธิบาย รถจกั ร รถตูห้ รือรถโดยสาร ลาเลยี งพล สะเทินนา้ สะเทินบก (สัมภาระ) หุม้ เกราะ ค. แบบของเคร่ืองรองรับตวั ถงั คาอธบิ าย เทยี มลาก ล้อ ล้อรถไฟ สายพาน รถไฟพยาบาล ๑๐ หลัง 99
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122